Home | Bibliography | Site map | About us
    แบบทดสอบก่อนเรียน
    สถาปัตยกรรมบ้านเรือนไทย
    สถาปัตยกรรมไทยสมัยประวัติศาสตร์
    สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์
    ฐานานุศักดิ์ของสถาปัตยกรรมไทย
    บ้านเรือนไทยกับพลังงาน
    บ้านเรือนไทยประยุกต์
    สถาปัตยกรรมไทยในต่างแดน
    กำเนิดหมู่บ้านเรือนไทย
    บ้านเรือนไทยสมัยรัตนโกสินทร์
    ฐานรากของบ้านเรือนไทย
    มรดกทางวัฒนธรรม
    บ้านเรือนไทย รศ.ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี
    บ้านเรือนไทยในภาคอีสาน
    เรือนท้องถิ่นในชนบท
    บ้านเรือนไทยกับความเย็น
    ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน
    ความเชื่อของชาวอีสาน
    ฤกษ์ยามในการปลูกเรือน
    ลักษณะเรือนไทยอีสาน
    รูปแบบของเรือนไทยอีสาน
    แบบทดสอบหลังเรียน
Download Plug In
Internet Explorer 7
Silverlight 2.0
 
Flash Player 9
 



 

      พวกเราหลายคนอาจจะสงสัยว่าอาคารไทยใหญ่โตที่สร้างมาหลายร้อยปี ก่อนการใช้ระบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กด้วยวิทยาการตะวันตกนั้น ฐานรากใต้ดิน สำหรับผืนดินที่มีสภาพดินอ่อนของอาคารไทยและเรือนไทยนั้นทำกันอย่างไร และชาว ไทยใช้ภูมิปัญญาใดในการทำระบบฐานรากของเรือนไทยเดิม

ระบบฐานรากทั่วไปแล้วก็คือส่วนฐานที่รองรับน้ำหนักโดยตรงของเสาบ้าน และพยายามแผ่บานออกเพื่อถ่ายน้ำหนักสู่พื้นดินให้มากที่สุด ซึ่งฐานรากของเรือนไทย เดิมของเราจะใช้ไม้ตีขัดกันเป็นรัศมีรอบเสา หากเป็นไม้เหลี่ยมๆก็จะเรียกว่า “กงพัด” หากเป็นซุงท่อนกลมๆก็จะเรียกว่า “งัว” หรือถ้าเป็นไม้แผ่นกลมๆรัดรอบเสาให้เป็นฐาน รากกลมๆก็จะเรียกว่า “แระ หรือ ระแนะ” โดยฐานรากเหล่านี้พยายามให้อยู่ใต้ระดับน้ำ ใต้ดินหรือสูงกว่าระดับน้ำใต้ดิน ไม่วางอยู่ในระดับที่เกิดน้ำขึ้นน้ำลง เพื่อป้องกันการผุ กร่อนจากการสลับชื้นสลับแห้งเวลาเกิดน้ำขึ้นหรือน้ำลง
 

(บทความ โดยคุณยอดเยี่ยม เทพธรานนท์ ผู้เขียหนังสือร้อยพันปัญหาในงานก่อสร้าง เล่ม 5)


 

 

 


 

 


 

    Home | Bibliography | Site map | About us

Best view resolution at 1024 x 768 px, Internet Explorer 7 or having "SiverLight" & Flash Player is available. This is Web 2.0