Home | Bibliography | Site map | About us
    แบบทดสอบก่อนเรียน
    สถาปัตยกรรมบ้านเรือนไทย
    สถาปัตยกรรมไทยสมัยประวัติศาสตร์
    สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์
    ฐานานุศักดิ์ของสถาปัตยกรรมไทย
    บ้านเรือนไทยกับพลังงาน
    บ้านเรือนไทยประยุกต์
    สถาปัตยกรรมไทยในต่างแดน
    กำเนิดหมู่บ้านเรือนไทย
    บ้านเรือนไทยสมัยรัตนโกสินทร์
    ฐานรากของบ้านเรือนไทย
    มรดกทางวัฒนธรรม
    บ้านเรือนไทย รศ.ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี
    บ้านเรือนไทยในภาคอีสาน
    เรือนท้องถิ่นในชนบท
    บ้านเรือนไทยกับความเย็น
    ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน
    ความเชื่อของชาวอีสาน
    ฤกษ์ยามในการปลูกเรือน
    ลักษณะเรือนไทยอีสาน
    รูปแบบของเรือนไทยอีสาน
    แบบทดสอบหลังเรียน
Download Plug In
Internet Explorer 7
Silverlight 2.0
 
Flash Player 9
 



 

      1.เรือนท้องถิ่นในชนบท

     เรือนท้องถิ่นในชนบทของภาคตะวันออกนั้น ปรากฏเหลืออยู่ให้เห็นได้จากกลุ่มที่เป็นชุมชนเดิมของท้องถิ่นเรือนที่ปรากฏส่วนใหญ่เป็นรูปแบบของเรือนไทยภาคกลางเช่นเดียวกับที่พบอยู่ในท้องถิ่นต่างๆ เรือนกลุ่มนี้มีข้อแตกต่างไปบ้าง ตามสภาพชุมชนและสิ่งแวดล้อม


เรือนเครื่องผูกที่ทำเป็นรูปแบบของเรือนไทย ที่พนัสนิคม จังหวัดชลบุรี

     ลักษณะทั่วไปของเรือน เป็นรูปแบบเช่นเดียวกับเรือนภาคกลาง ประเภทเรือนเครื่องสับ ลักษณะเด่นก็คือ เป็นเรือนที่ปลูกสร้างด้วยไม้จริง หรือที่เรียกกันว่า เรือนฝากระดาน หากแต่เรือนเหล่านี้อาจด้อยในเรื่องฝีมือที่วิจิตรประณีต ขนาดสัดส่วนของเรือนเป็นแบบที่ปรากฏในเรือนไทยทั่วไป คือเป็นเรือนที่มีขนาดความยาว 3 ห้อง หรือ 3 ช่วงแถว หลังคาทรงสูง มุ่งด้วยกระเบื้องริมเถา หรือจากประกอบปั้นลม หน้าจั่วมีทั้งที่เป็นจั่วภควัม จั่วใบปรือ ฝามีทั้งแบบฝาประกน ฝาสายบัว ฝาสำรวจ และฝาขัดแตะ ใต้ถุนสูง แต่ก็มีบางกลุ่มที่อยู่ถัดจากชายฝั่งทะเลเข้ามาเล็กน้อย กลุ่มนี้นิยมทำเป็นแบบใต้ถุนเตี้ย ยกระดับจากพื้นดินสูงขึ้นมาเพียงเล็กน้อย ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความมั่นคง ในยามที่มีลมแรง หรือมีพายุที่พัดจากทะเลเข้าสู่ฝั่ง ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าการปรับรูปแบบให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของทำเลที่ปลูกเรือนนั่นเอง


เรือนไทยฝาสำหรวด หลังคามุงจากแบบเดิม ที่ตำบลอ่างศิลา

 


 

    Home | Bibliography | Site map | About us

Best view resolution at 1024 x 768 px, Internet Explorer 7 or having "SiverLight" & Flash Player is available. This is Web 2.0