Home | Bibliography | Site map | About us
    แบบทดสอบก่อนเรียน
    สถาปัตยกรรมบ้านเรือนไทย
    สถาปัตยกรรมไทยสมัยประวัติศาสตร์
    สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์
    ฐานานุศักดิ์ของสถาปัตยกรรมไทย
    บ้านเรือนไทยกับพลังงาน
    บ้านเรือนไทยประยุกต์
    สถาปัตยกรรมไทยในต่างแดน
    กำเนิดหมู่บ้านเรือนไทย
    บ้านเรือนไทยสมัยรัตนโกสินทร์
    ฐานรากของบ้านเรือนไทย
    มรดกทางวัฒนธรรม
    บ้านเรือนไทย รศ.ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี
    บ้านเรือนไทยในภาคอีสาน
    เรือนท้องถิ่นในชนบท
    บ้านเรือนไทยกับความเย็น
    ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน
    ความเชื่อของชาวอีสาน
    ฤกษ์ยามในการปลูกเรือน
    ลักษณะเรือนไทยอีสาน
    รูปแบบของเรือนไทยอีสาน
    แบบทดสอบหลังเรียน
Download Plug In
Internet Explorer 7
Silverlight 2.0
 
Flash Player 9
 



     
บ้านไทยเรือนไทยส่วนใหญ่จะทำด้วยไม้และวัสดุเบาๆ ซึ่งวัสดุเบาๆเหล่านี้จะ เก็บความร้อนและกันความร้อนได้น้อย ตอนกลางวันเมื่อมีความร้อน ความร้อนก็จะ ถ่ายเข้าสู่ตัวบ้านได้อย่างรวดเร็ว แต่คนไทยเราตอนกลางวันก็ไม่ใช้ชีวิตอยู่ในห้อง จะอยู่ นอกชานใต้ถุนบ้าน หรือในทุ่งนาเรือกสวน ความร้อนที่เข้ามาในห้องจึงไม่มีผลกับชีวิต เพราะไม่ได้ใช้ชีวิตในห้อง แต่พอตอนเย็นค่ำกลางคืน ด้วยความที่บ้านทำด้วยวัสดุเบาก็ จะคลายความร้อนออกอย่างรวดเร็ว ทำให้ภายในห้องไม่ร้อนอบอ้าว สามารถใช้ชีวิตใน ห้องได้อย่างสุขสบาย ซึ่งจะแตกต่างจากบ้านปัจจุบันที่สร้างเป็นตึก อมความร้อนได้มาก พอกลางคืนความร้อนก็ยังระอุอยู่ในห้องและที่ผนังอิฐ เราก็จะอยู่ไม่สบาย จนการติด เครื่องปรับอากาศทำความเย็นกลายเป็นเรื่องจำเป็น แต่สิ่งที่เป็นจุดอ่อนของบ้านไทยที่ เป็นวัสดุเบานั้นก็คือ บ้านไทยจะต้องสร้างอยู่ในสถานที่ที่ “มีสภาพแวดล้อมดี” มิเช่น นั้น ด้วยความเป็นวัสดุเบาและมีช่องให้อากาศเข้า จะเชื้อเชิญให้ทั้งฝุ่น เสียง อากาศเสีย เข้ามาในบ้านได้ตลอดเวลา ....การสร้างบ้านไทยเดิมในปัจจุบันจึงต้องพิจารณาถึงสถาน ที่ตั้งและสภาพแวดล้อมเสมอ

         (บทความโดยคุณยอดเยี่ยม เทพธรานนท์ ผู้เขียหนังสือร้อยพันปัญหาในงานก่อสร้าง เล่ม 5 )

 



 

   


 


 

    Home | Bibliography | Site map | About us

Best view resolution at 1024 x 768 px, Internet Explorer 7 or having "SiverLight" & Flash Player is available. This is Web 2.0