Home | Bibliography | Site map | About us
    แบบทดสอบก่อนเรียน
    สถาปัตยกรรมบ้านเรือนไทย
    สถาปัตยกรรมไทยสมัยประวัติศาสตร์
    สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์
    ฐานานุศักดิ์ของสถาปัตยกรรมไทย
    บ้านเรือนไทยกับพลังงาน
    บ้านเรือนไทยประยุกต์
    สถาปัตยกรรมไทยในต่างแดน
    กำเนิดหมู่บ้านเรือนไทย
    บ้านเรือนไทยสมัยรัตนโกสินทร์
    ฐานรากของบ้านเรือนไทย
    มรดกทางวัฒนธรรม
    บ้านเรือนไทย รศ.ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี
    บ้านเรือนไทยในภาคอีสาน
    เรือนท้องถิ่นในชนบท
    บ้านเรือนไทยกับความเย็น
    ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน
    ความเชื่อของชาวอีสาน
    ฤกษ์ยามในการปลูกเรือน
    ลักษณะเรือนไทยอีสาน
    รูปแบบของเรือนไทยอีสาน
    แบบทดสอบหลังเรียน
Download Plug In
Internet Explorer 7
Silverlight 2.0
 
Flash Player 9
 



     
มรดกทางวัฒนธรรม

    ทุกชีวิตเกิดมาย่อมมี "บ้าน" เป็นจุดเริ่มต้น จากรูปทรงแห่งอดีตจนถึงปัจจุบัน "บ้าน" เป็นหลักฐานชิ้นสำคัญยิ่งในการศึกษารูปแบบการดำเนินชีวิตของกลุ่มชนแต่ละพวก แต่ละถิ่นฐาน รวมถึงการศึกษาทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของมนุษย์ "บ้าน" คือการบอกเล่าความเป็นมา คือการบอกล่าวถึงพัฒนาการในการดำรงชีพของมนุษย์ "บ้าน" ที่อยู่อาศัยหนึ่งในปัจจัยสี่ ซึ่งมีความจำเป็นสำหรับมนุษย์ และบ่งบอกถึงความั่นคง

     เรือนแพและศาลาไทยริมน้ำ บ้านปาร์คนายเลิศ

    เป็นสถาปัตยกรรม บ้านเรือนของชาวสยามในอดีต คือ เป็นเรือนไม้ หลังคาจั่วสูง ยกพื้น ไม่ใต้ถุน ปัจจุบันอยู่ในบริเวณบ้านปาร์คนายเลิศ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2470 เจ้าของเดิมคือ พระยาภักดีนรเศรษฐ (เลิศ เศรษฐบุตร)


     บ้านท่าเสา ราชบุรี


    เป็นบ้านทรงไทย เจ้าของเดิมคือ ผู้ใหญ่กิม สร้างเมื่อประมาณ 70 ปี ที่ผ่านมา โดยช่างผู้มีความชำฯาญในการสร้างบ้านทรงไทย ใช้เวลาในการก่อสร้างนานถึง 10 เดือน ตัวบ้านใช้ไม้อย่างดีประกอบแบบเข้าลิ่น โดยไม่ใช้ตะปู ซึ่งเป็นการสร้างบ้านแบบลักษณะไทยแท้

   
    เรือนคำเที่ยง


    เป็นแบบอย่างสถาปัตยกรรมทางภาคเหนือของไทย มีอายุเก่าแก่มากกว่า 150 ปี เป็นสมบัติของตระกูลนิมมานเหมินทร์ และในปี พ.ศ. 2506 ตระกูลนิมมานเหมินทร์ ได้มอบให้กับสยามสมาคมฯ ใช้เป็นพิพิธภัณฑ์ชาติพันธุ์วิทยา



 

    Home | Bibliography | Site map | About us

Best view resolution at 1024 x 768 px, Internet Explorer 7 or having "SiverLight" & Flash Player is available. This is Web 2.0