Home | Bibliography | Site map | About us
    แบบทดสอบก่อนเรียน
    สถาปัตยกรรมบ้านเรือนไทย
    สถาปัตยกรรมไทยสมัยประวัติศาสตร์
    สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์
    ฐานานุศักดิ์ของสถาปัตยกรรมไทย
    บ้านเรือนไทยกับพลังงาน
    บ้านเรือนไทยประยุกต์
    สถาปัตยกรรมไทยในต่างแดน
    กำเนิดหมู่บ้านเรือนไทย
    บ้านเรือนไทยสมัยรัตนโกสินทร์
    ฐานรากของบ้านเรือนไทย
    มรดกทางวัฒนธรรม
    บ้านเรือนไทย รศ.ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี
    บ้านเรือนไทยในภาคอีสาน
    เรือนท้องถิ่นในชนบท
    บ้านเรือนไทยกับความเย็น
    ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน
    ความเชื่อของชาวอีสาน
    ฤกษ์ยามในการปลูกเรือน
    ลักษณะเรือนไทยอีสาน
    รูปแบบของเรือนไทยอีสาน
    แบบทดสอบหลังเรียน
Download Plug In
Internet Explorer 7
Silverlight 2.0
 
Flash Player 9
 



       
2. ลักษณะหมู่บ้านดอน

        กรณีที่ไร่นาอยู่ห่างจากแม่น้ำลำคลอง ก็อาจมีหมู่บ้านเกิดขึ้นได้เช่นกัน แต่บริเวณที่เป็นที่ตั้งหมู่บ้านมักตั้งอยู่บนพื้นที่ซึ่งสูงกว่าไร่นา ชาวบ้านจะสร้างบ้านเรือนอยู่รวมกันเป็นกลุ่มก้อน และแยกย้ายกันออกไปทำนา

         ในหมู่บ้านมักมีสระน้ำหรือบึงขนาดใหญ่เพื่อไว้กินไว้ใช้ ส่วนน้ำเพื่อการเกษตรกรรมนั้นจะได้มาจากน้ำฝนและน้ำบ่าในเดือน 11 และ 12 หมู่บ้านลักษณะนี้เรียกว่า "บ้านหรือดอน" เช่น บ้านโป่งลาน บ้านทับกระดาน บ้านโพธิ์ ดอนกลาง ดอนเจดีย์ เป็นต้น

        3. ลักษณะหมู่บ้านกระจัดกระจาย

        หมู่บ้านลักษณะนี้เกิดจากการวมตัวของบ้านเรือนหลายๆ หลัง ซึ่งแต่ละหลังจะอยู่อย่างกระจัดกระจายและโดดเดี่ยว กล่าวคืออยู่เป็นหลังๆ ห่างกันมาก โดยทั่วไปแล้วเรือนแต่ละหลังมักตั้งอยู่ในที่นาหรือที่สวนของตนเอง หมู่บ้านลักษณะนี้จะลำบากต่อการพัฒนา ดังจะเห็นได้จากหมู่บ้านในบางส่วนของภาคกลาง ซึ่งสภาพความเป็นอยู่ สังคม ประเพณี และความสัมพันธ์ฉันเครือญาติของหมู่บ้านจะไม้เข้มข้นเท่าหมู่บ้านลักษณะอื่นๆ

 


 



 

 


 

    Home | Bibliography | Site map | About us

Best view resolution at 1024 x 768 px, Internet Explorer 7 or having "SiverLight" & Flash Player is available. This is Web 2.0