• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a0087d534fc043b6738f2730388861c6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #99cc00\"></span></span></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"64\" width=\"324\" src=\"/files/u31262/Law2.jpg\" alt=\"กฎหมายรัฐธรรมนูญ\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/87426\"><img height=\"50\" width=\"120\" src=\"/files/u44341/Mean_Mean.jpg\" alt=\"ความหมาย\" border=\"0\" /></a><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"> <a href=\"/node/87561\"><img height=\"50\" width=\"120\" src=\"/files/u44341/pavat_0.jpg\" alt=\"ประวัติความเป็นมา\" border=\"0\" /></a><span style=\"color: #00ccff\"><a href=\"/node/75035\"></a></span> <a href=\"/node/87569\"><img height=\"50\" width=\"120\" src=\"/files/u44341/important_0.jpg\" alt=\"ความสำคัญ\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/87572\"><img height=\"50\" width=\"120\" src=\"/files/u44341/KaNang_0.jpg\" alt=\"แขนงของกฎหมาย\" border=\"0\" /></a><span style=\"color: #00ccff\"> <a href=\"/node/87578\"><img height=\"50\" width=\"120\" src=\"/files/u44341/differentMaHa_0.jpg\" alt=\"ความแตกต่างกฎหมายมหาชน&amp;เอกชน\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/76825\"></a>  <img height=\"50\" width=\"120\" src=\"/files/u44341/MaHacHon_0.jpg\" alt=\"กฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายมหาชน\" border=\"0\" /> <a href=\"/node/89439\"><img height=\"50\" width=\"120\" src=\"/files/u44341/1-6_3.jpg\" alt=\"รัฐธรรมนูญฉบับที่1-6\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75734\"></a> <a href=\"/node/89668\"><img height=\"50\" width=\"120\" src=\"/files/u44341/7-12_0.jpg\" alt=\"ฉบับที่7-12\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75764\"></a></span></span> <a href=\"/node/90163\"><img height=\"50\" width=\"120\" src=\"/files/u44341/13-18.jpg\" alt=\"รัฐธรรมนูญฉบับที่13-18\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75778\"></a> <a href=\"/node/86208\"><img height=\"50\" width=\"120\" src=\"/files/u44341/_copy_0.jpg\" alt=\"แบบทดสอบ\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/90285\"><img height=\"50\" width=\"120\" src=\"/files/u44341/anging.jpg\" alt=\"แหล่งอ้างอิง\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/80693\"></a> <a href=\"/node/90286\"><img height=\"50\" width=\"120\" src=\"/files/u44341/i_and_me.jpg\" alt=\"ผู้จัดทำ\" border=\"0\" /></a>\n</div>\n<p align=\"center\">\n  <img height=\"30\" width=\"600\" src=\"/files/u31262/f74.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p><a href=\"/node/75764\"></a></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><a href=\"/node/75769\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/07.jpg\" alt=\"ฉบับที่7\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/89672\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/08.jpg\" alt=\"ฉบับที่8\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/90047\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/09.jpg\" alt=\"ฉบับที่9\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75773\"></a><a href=\"/node/90048\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/10.jpg\" alt=\"ฉบับที่10\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75775/\"></a> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><a href=\"/node/75776/\"></a><a href=\"/node/90050\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/11.jpg\" alt=\"ฉบับที่11\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/90051\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/12.jpg\" alt=\"ฉบับที่12\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/75777\"></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"14\" width=\"364\" src=\"/files/u44341/f86.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #99cc00\"> <img height=\"83\" width=\"309\" src=\"/files/u44341/7-2.jpg\" alt=\"ฉบับที่7\" border=\"0\" /></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #99cc00\">ฉบับที่ 7 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong>     <span style=\"color: #ffcc00\">หลังการปฏิวัติ จอมพลสฤษดิ์ ได้ออกประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 3 ยกเลิกรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติมพุทธศักราช 2495 และประกาศให้สมาชิกภาพแห่งสภาผู้แทนราษฎร และคณะรัฐมนตรีสิ้นสุดลง โดยคณะปฏิวัติทำหน้าที่บริหารประเทศ โดยจอมพลสฤษดิ์ ผู้ที่เป็นทั้งหัวหน้าคณะปฏิวัติ และเป็นผู้บัญชาการสูงสุด ไม่มีการแบ่งแยกอำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ให้ออกจากกัน คณะปฏิวัติออกกฎหมายโดยการออกประกาศของคณะปฏิวัติ และบริหารราชการแผ่นดินโดยหัวหน้าคณะปฏิวัติเป็นผู้สั่งการ เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการอย่างไม่มีขอบเขต </span><br />\n       </strong>\n</p>\n<p>\n<strong>     <span style=\"color: #ff99cc\">ประเทศไทยมีการปกครองโดยปราศจากรัฐธรรมนูญ เป็นเวลา 101 วัน นับตั้งแต่ วันที่ 20 ตุลาคม 2501 จนถึงวันที่ 28 มกราคม 2502 จึงได้ประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญไทยที่สั้นที่สุด คือ มีเพียง 20 มาตรา กล่าวได้ว่า รัฐธรรมนูญฉบับนี้ มีลักษณะเป็นรัฐธรรมนูญของรัฐเผด็จการที่ชัดเจนที่สุด</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>      <span style=\"color: #cc99ff\">รัฐธรรมนูญฉบับนี้ ถึงแม้จะได้ชื่อว่าเป็นรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว เพื่อรอการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร แต่ก็ถูกใช้เป็นเวลายาวนานรวมถึง 9ปี 4 เดือน 20 วัน จนกระทั่งถูกยกเลิกอย่าง &quot;สันติ&quot; เมื่อสภาร่างรัฐธรรมนูญได้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวรแล้วเสร็จและประกาศบังคับใช้เป็นรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2511 <br />\nจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์</span>   </strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img height=\"218\" width=\"153\" src=\"/files/u44341/salid.jpg\" alt=\"จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์\" border=\"0\" style=\"width: 157px; height: 151px\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #99cc00\">จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์</span> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><strong>ที่มา :</strong> </span><a href=\"http://archives.psd.ku.ac.th/kuout/p069.html\"><span style=\"color: #cc99ff\"><u>http://archives.psd.ku.ac.th/kuout/p069.html</u></span></a><br />\n<strong>  </strong>\n</p>\n<p>\n<strong>     <span style=\"color: #00ccff\"> หลักการสำคัญ<br />\n </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #00ccff\">  1) ประกาศว่าอำนาจอธิปไตยมาจากปวงชนชาวไทย แต่ไม่มีองค์กรใดแห่งธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรที่มาจากราษฎรเลย แม้แต่องค์กรเดียว ไม่มีการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร์สำหรับฝ่ายบริหารกำหนดให้กษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีตามคำแนะนำของประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #00ccff\">  2) ยืนยันว่า ประเทศไทยเป็นเอกรัฐ (รัฐเดี่ยว) อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #00ccff\">  3) มีคณะองคมนตรีเป็นคณะที่ปรึกษาของพระมหากษัตริย์</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #00ccff\">  4) ให้มีสภาเดียว คือ สภาร่างรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากการแต่งตั้ง จำนวน 240 คน ทำหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญ และให้มีฐานะเป็นรัฐสภา ทำหน้าที่นิติบัญญัติด้วย</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #00ccff\">  5) พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี แต่นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีจะเป็นสมาชิกสภามิได้ ในขณะเดียวกัน พระมหากษัตริย์ก็ทรงถอดถอนรัฐมนตรีได้ แต่จะทรงถอดถอนนายกรัฐมนตรี มิได้</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #00ccff\">  6) ตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ใน มาตรา 17 ให้อำนาจ (พิเศษ) นายกรัฐมนตรี โดยมติของคณะรัฐมนตรี มีอำนาจสั่งการ หรือ กระทำการใดๆ ได้ และให้ถือว่าคำสั่ง หรือ การกระทำเช่นว่านั้น เป็นคำสั่ง หรือ การกระทำที่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งถือได้ว่า มาตรานี้ ให้อำนาจนายกรัฐมนตรีใช้อำนาจเผด็จการได้อย่างเต็มที่ เช่น มีการสั่งให้ประหารชีวิต หรือ จะยึดทรัพย์สินใครก็ได้ เป็นต้น ดังความบัญญัติว่า &quot;ในระหว่างที่ใช้รัฐธรรมนูญนี้ ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีเห็นสมควร เพื่อประโยชน์ในการระงับหรือปราบปรามการกระทำอันเป็นการบ่อนทำลายความมั่นคงของราชอาณาจักรหรือราชบัลลังก์ หรือการกระทำอันเป็นการบ่อนทำลาย ก่อกวนหรือคุกคามความสงบที่เกิดขึ้นภายในหรือมาจากภายนอกราชอาณาจักร ให้นายกรัฐมนตรีโดยมติของคณะรัฐมนตรี มีอำนาจสั่งการหรือกระทำการใดๆ ได้ และให้ถือว่าคำสั่งหรือการกระทำเช่นว่านั้น เป็นคำสั่งหรือการกระทำที่ชอบด้วยกฎหมาย เมื่อนายกรัฐมนตรีได้สั่งการหรือกระทำการใดไปตามความในวรรคก่อนแล้ว ให้นายกรัฐมนตรีแจ้งให้สภาทราบ&quot;</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #00ccff\">  7) รับรองความเป็นอิสระของผู้พิพากษาในการพิจารณาพิพากษาคดี แต่ไม่มีหลักประกันความเป็นอิสระ</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #00ccff\">  8) ในกรณีที่เกิดช่องว่างของรัฐธรรมนูญ ให้วินิจฉัยกรณีนั้นตามประเพณีการปกครองของประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตย (มาตรา 20)</span></strong>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/84777\"></a></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"82\" width=\"150\" src=\"/files/u31262/icon_home.jpg\" alt=\"หน้าแรก\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n', created = 1715593549, expire = 1715679949, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a0087d534fc043b6738f2730388861c6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฉบับที่7

กฎหมายรัฐธรรมนูญ
ความหมาย ประวัติความเป็นมา ความสำคัญ แขนงของกฎหมาย ความแตกต่างกฎหมายมหาชน&เอกชน  กฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายมหาชน รัฐธรรมนูญฉบับที่1-6 ฉบับที่7-12 รัฐธรรมนูญฉบับที่13-18 แบบทดสอบ แหล่งอ้างอิง ผู้จัดทำ

  

ฉบับที่7ฉบับที่8ฉบับที่9ฉบับที่10 

ฉบับที่11ฉบับที่12 

 

 ฉบับที่7

ฉบับที่ 7 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502 

     หลังการปฏิวัติ จอมพลสฤษดิ์ ได้ออกประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 3 ยกเลิกรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติมพุทธศักราช 2495 และประกาศให้สมาชิกภาพแห่งสภาผู้แทนราษฎร และคณะรัฐมนตรีสิ้นสุดลง โดยคณะปฏิวัติทำหน้าที่บริหารประเทศ โดยจอมพลสฤษดิ์ ผู้ที่เป็นทั้งหัวหน้าคณะปฏิวัติ และเป็นผู้บัญชาการสูงสุด ไม่มีการแบ่งแยกอำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ให้ออกจากกัน คณะปฏิวัติออกกฎหมายโดยการออกประกาศของคณะปฏิวัติ และบริหารราชการแผ่นดินโดยหัวหน้าคณะปฏิวัติเป็นผู้สั่งการ เป็นผู้ใช้อำนาจเผด็จการอย่างไม่มีขอบเขต 
      

     ประเทศไทยมีการปกครองโดยปราศจากรัฐธรรมนูญ เป็นเวลา 101 วัน นับตั้งแต่ วันที่ 20 ตุลาคม 2501 จนถึงวันที่ 28 มกราคม 2502 จึงได้ประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญไทยที่สั้นที่สุด คือ มีเพียง 20 มาตรา กล่าวได้ว่า รัฐธรรมนูญฉบับนี้ มีลักษณะเป็นรัฐธรรมนูญของรัฐเผด็จการที่ชัดเจนที่สุด

      รัฐธรรมนูญฉบับนี้ ถึงแม้จะได้ชื่อว่าเป็นรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว เพื่อรอการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร แต่ก็ถูกใช้เป็นเวลายาวนานรวมถึง 9ปี 4 เดือน 20 วัน จนกระทั่งถูกยกเลิกอย่าง "สันติ" เมื่อสภาร่างรัฐธรรมนูญได้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวรแล้วเสร็จและประกาศบังคับใช้เป็นรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2511
จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
  

 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์

จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ 

ที่มา : http://archives.psd.ku.ac.th/kuout/p069.html
  

      หลักการสำคัญ
 

  1) ประกาศว่าอำนาจอธิปไตยมาจากปวงชนชาวไทย แต่ไม่มีองค์กรใดแห่งธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรที่มาจากราษฎรเลย แม้แต่องค์กรเดียว ไม่มีการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร์สำหรับฝ่ายบริหารกำหนดให้กษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีตามคำแนะนำของประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ

  2) ยืนยันว่า ประเทศไทยเป็นเอกรัฐ (รัฐเดี่ยว) อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

  3) มีคณะองคมนตรีเป็นคณะที่ปรึกษาของพระมหากษัตริย์

  4) ให้มีสภาเดียว คือ สภาร่างรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากการแต่งตั้ง จำนวน 240 คน ทำหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญ และให้มีฐานะเป็นรัฐสภา ทำหน้าที่นิติบัญญัติด้วย

  5) พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี แต่นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีจะเป็นสมาชิกสภามิได้ ในขณะเดียวกัน พระมหากษัตริย์ก็ทรงถอดถอนรัฐมนตรีได้ แต่จะทรงถอดถอนนายกรัฐมนตรี มิได้

  6) ตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ใน มาตรา 17 ให้อำนาจ (พิเศษ) นายกรัฐมนตรี โดยมติของคณะรัฐมนตรี มีอำนาจสั่งการ หรือ กระทำการใดๆ ได้ และให้ถือว่าคำสั่ง หรือ การกระทำเช่นว่านั้น เป็นคำสั่ง หรือ การกระทำที่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งถือได้ว่า มาตรานี้ ให้อำนาจนายกรัฐมนตรีใช้อำนาจเผด็จการได้อย่างเต็มที่ เช่น มีการสั่งให้ประหารชีวิต หรือ จะยึดทรัพย์สินใครก็ได้ เป็นต้น ดังความบัญญัติว่า "ในระหว่างที่ใช้รัฐธรรมนูญนี้ ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีเห็นสมควร เพื่อประโยชน์ในการระงับหรือปราบปรามการกระทำอันเป็นการบ่อนทำลายความมั่นคงของราชอาณาจักรหรือราชบัลลังก์ หรือการกระทำอันเป็นการบ่อนทำลาย ก่อกวนหรือคุกคามความสงบที่เกิดขึ้นภายในหรือมาจากภายนอกราชอาณาจักร ให้นายกรัฐมนตรีโดยมติของคณะรัฐมนตรี มีอำนาจสั่งการหรือกระทำการใดๆ ได้ และให้ถือว่าคำสั่งหรือการกระทำเช่นว่านั้น เป็นคำสั่งหรือการกระทำที่ชอบด้วยกฎหมาย เมื่อนายกรัฐมนตรีได้สั่งการหรือกระทำการใดไปตามความในวรรคก่อนแล้ว ให้นายกรัฐมนตรีแจ้งให้สภาทราบ"

  7) รับรองความเป็นอิสระของผู้พิพากษาในการพิจารณาพิพากษาคดี แต่ไม่มีหลักประกันความเป็นอิสระ

  8) ในกรณีที่เกิดช่องว่างของรัฐธรรมนูญ ให้วินิจฉัยกรณีนั้นตามประเพณีการปกครองของประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตย (มาตรา 20)

หน้าแรก

สร้างโดย: 
นายธานินทร์ พร้อมสุข และ นางสาวภาชินี ผลงามเนตรอรุณ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 235 คน กำลังออนไลน์