• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:72a5714104726f7b97491d65d8fd21b0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #00ccff\"></span></strong>\n</p>\n<p><strong><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #99cc00\"></span></span></strong></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><a href=\"/node/75764\"></a><a href=\"/node/75769\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/07.jpg\" alt=\"ฉบับที่7\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/89672\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/08.jpg\" alt=\"ฉบับที่8\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/90047\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/09.jpg\" alt=\"ฉบับที่9\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75773\"></a><a href=\"/node/90048\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/10.jpg\" alt=\"ฉบับที่10\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75775/\"></a> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><a href=\"/node/75776/\"></a><a href=\"/node/90050\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/11.jpg\" alt=\"ฉบับที่11\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/90051\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/12.jpg\" alt=\"ฉบับที่12\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/75777\"></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"14\" width=\"364\" src=\"/files/u44341/f86.gif\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #00ccff\"> <img height=\"83\" width=\"309\" src=\"/files/u44341/11-2.jpg\" alt=\"ฉบับที่11\" border=\"0\" /></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #00ccff\">ฉบับที่ 11 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>     <span style=\"color: #cc99ff\">รัฐธรรมนูญฉบับที่ 11 นั้น เกิดจากการที่คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ภายใต้การนำของ พล.ร.อ. สงัด ชลออยู่ ได้เข้ายึดอำนาจ หลังจากเกิดเหตุการณ์ล้อมปราบนักศึกษากับประชาชน ซึ่งชุมนุมประท้วงการเดินทางกลับสู่ประเทศไทยของจอมพลถนอม กิตติขจร ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ด้วยความทารุณโหดร้ายอย่างถึงที่สุด คนไทยต้องฆ่ากันเอง คณะปฏิรูปฯ จึงได้ประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับที่ 10 แล้วได้ทำการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้น และประกาศใช้บังคับในเวลาต่อมา เหตุการณ์ดังกล่าว ทำให้เราสิ้นสุดยุคประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่ได้มาด้วยการต่อสู้ของประชาชนในระยะเวลาอันสั้น</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>     <span style=\"color: #ffcc00\">โดยที่คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน อ้างว่า เป็นแผนการของผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ ที่ต้องการจะทำลายสถาบันพระมหากษัตริย์ อีกทั้งยังทำการต่อสู้ขัดขวางการจับกุมของเจ้าหน้าที่ด้วยอาวุธร้ายแรง ประกอบกับการที่รัฐมนตรีบางคน และนักการเมืองบางกลุ่ม ได้ให้การสนับสนุนการเคลื่อนไหวของนิสิตนักศึกษาดังกล่าว ซึ่งทำให้ “รัฐบาลไม่สามารถรักษาสถานการณ์บ้านเมืองด้วยวิถีทางรัฐธรรมนูญได้”</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>     <span style=\"color: #ff99cc\">หลังการปฏิวัติล้มรัฐบาล อันเนื่องมาจากเหตุการณ์นองเลือด เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2519 แล้ว คณะปฏิวัติ ก็ได้แต่งตั้ง นาย ธานินทร์ กรัยวิเชียร  ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี พร้อมๆ กันกับที่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2519 โดยมีบทบัญญัติเพียง 29 มาตราเท่านั้น ซึ่งในที่สุด ก็ถูก &quot;ฉีกทิ้ง&quot; โดยการทำรัฐประหารของคณะปฏิรูปฯ เดิม ในนามใหม่ว่า &quot;คณะปฏิวัติ&quot; ในวันที่ 20 ตุลาคม 2520 ซึ่งมีหัวหน้าคนเดิม คือ พล.ร.อ. สงัด ชลออยู่ รวมอายุการบังคับใช้แค่ 1 ปีเท่านั้น</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\">             <img height=\"379\" width=\"313\" src=\"/files/u44341/tanut.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 193px; height: 182px\" /><span style=\"color: #ff9900\">                                 </span></span></strong> <img height=\"250\" width=\"200\" src=\"/files/u44341/Tanin-Kraivixien.jpg\" alt=\"นาย ธานินทร์ กรัยวิเชียร \" border=\"0\" style=\"width: 188px; height: 185px\" />\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\">    </span></strong><strong>  <span style=\"color: #cc99ff\">             พล.ร.อ. สงัด</span><span style=\"color: #cc99ff\"> ชลออยู่                                                         นาย ธานินทร์ กรัยวิเชียร  </span></strong>\n</p>\n<p><strong><span style=\"color: #cc99ff\">             <span style=\"color: #ff9900\">ที่มา : </span><span style=\"color: #cc99ff\"><a href=\"http://admchaloryoo.com/\"><span style=\"color: #ff9900\"><u>http://admchaloryoo.com</u></span></a>                            <span style=\"color: #ff9900\">ที่มา : </span><a href=\"http://hilight.kapook.com/view/27224\"><span style=\"color: #ff9900\"><u>http://hilight.kapook.com/view/27224</u></span></a></span></span></strong><br />\n<strong> <br />\n<span style=\"color: #ff99cc\">  </span></strong><strong><span style=\"color: #ff99cc\"></span></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"330\" width=\"448\" src=\"/files/u31262/nonglaed.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 253px; height: 187px\" /> \n</div>\n<p></p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #cc99ff\">                                                             เหตุการณ์นองเลือด เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2519</span></span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>                                    </strong><span style=\"color: #ff9900\"><strong><span style=\"color: #ff9900\">ที่มา : </span><a href=\"http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=easywandering&amp;month=02-2008&amp;date=19&amp;group=1&amp;gblog=65\"><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\"><u>http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=easywandering&amp;month=02-</u>                                            <u>2</u></span></span></a><span style=\"color: #ff9900\"><strong><span style=\"color: #ff9900\"><u>008&amp;date=19&amp;group=1&amp;gblog=65</u></span></strong></span></strong></span><strong>     <span style=\"color: #99cc00\"> </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\">    หลักการสำคัญ</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\">     รัฐธรรมนูญฉบับนี้ มีหลักการสำคัญคล้ายคลึงกับรัฐธรรมนูญ ฉบับที่ 7 และฉบับที่ 9 อย่างมาก ดังนี้</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\"> 1) รัฐธรรมนูญฉบับนี้ มีฐานะเป็นเพียงเครื่องมือที่คณะปฏิวัติสร้างขึ้น เพื่อให้การใช้อำนาจถูกต้องชอบธรรมตามกฎเกณฑ์ มิใช่ รัฐธรรมนูญในระบอบประชาธิปไตย แต่อย่างใด</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\"> 2) ไม่มีบทบัญญัติห้ามข้าราชการประจำเข้าดำรงตำแหน่งทางการเมืองในขณะเดียวกัน</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\"> 3) ไม่มีหลักประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชนไว้อย่างชัดเจน เพียงแต่รับรองอำนาจอิสระของศาลในการพิจารณาอรรถคดีไว้เท่านั้น</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\"> 4) ให้อำนาจพิเศษแก่นายกรัฐมนตรีไว้อย่างมากในมาตรา 21</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\"> 5) รัฐธรรมนูญฉบับนี้ ถือเป็นรัฐธรรมนูญโครงการสร้างประชาธิปไตย โดยคณะรัฐมนตรี จะเป็นผู้เสนอขอแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นคราวๆ ไป ตามความเหมาะสมกับสภาวการณ์ในแต่ละระยะรวม 3 ระยะ ระยะละ 4 ปี รวมทั้งหมด 12 ปี ดังนี้</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\">   (ก) ในระยะสี่ปีแรก เป็นระยะฟื้นฟูเสถียรภาพของประเทศทั้งทางเศรษฐกิจและการเมือง ในระยะนี้สมควรให้ราษฎรมีส่วนในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยทางสภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ซึ่งมีสมาชิกที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน ในขณะเดียวกัน ก็จะเร่งเร้าให้ประชาชนเกิดความสนใจ และตระหนักในหน้าที่ของตน</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\">   (ข) ในระยะสี่ปีที่สอง สมควรเป็นระยะที่ให้ราษฎรมีส่วนในการบริหารราชการแผ่นดินมากขึ้น โดยจัดให้มีรัฐสภาอันประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งสมาชิกมาจากการเลือกตั้งและวุฒิสภา ซึ่งสมาชิกมาจากการแต่งตั้ง ทั้งสองสภานี้ จะมีอำนาจหน้าที่ในการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินเท่าเทียมกัน</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\">   (ค) ในระยะสี่ปีที่สาม สมควรขยายอำนาจของสภาผู้แทนราษฎรให้มากขึ้น และลดอำนาจของวุฒิสภาลงเท่าที่จะทำได้ ต่อจากนั้นไป ถ้าราษฎรตระหนักในหน้าที่และความรับผิดชอบของตนที่มีต่อชาติบ้านเมืองในระบอบประชาธิปไตยดีแล้ว ก็อาจยกเลิกวุฒิสภาให้เหลือแต่สภาผู้แทนราษฎร</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong> 6) วัตถุประสงค์ในการแก้ไขรัฐธรรมนูญนี้ กำหนดไว้อย่างแน่ชัดว่าเพื่อปรับปรุงโครงสร้างและอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาเท่านั้น และไม่มีบทบัญญัติอื่นใดในรัฐธรรมนูญนี้ให้อำนาจแก่สภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดินในฐานะรัฐสภาที่จะเปลี่ยนรัฐบาลได้ตามวิถีทางรัฐธรรมนูญ อาทิ โดยการลงมติไม่ไว้วางใจรัฐบาล จึงทำให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์กันว่า คณะรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญนี้ สามารถที่จะอยู่ในตำแหน่งได้ตลอดไปเป็นเวลาถึง 12 ปี โดยไม่มีใครเอาออกได้ตามวิถีทางรัฐธรรมนูญ นอกจากคณะรัฐมนตรีจะลาออกเอง หรือ สมัครใจแก้ไขรัฐธรรมนูญกำหนดอายุการดำรงตำแหน่งของคณะรัฐมนตรีเสียใหม่<br />\n</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong><a href=\"/node/84777\"></a></strong></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"82\" width=\"150\" src=\"/files/u31262/icon_home.jpg\" alt=\"หน้าแรก\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n', created = 1715354814, expire = 1715441214, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:72a5714104726f7b97491d65d8fd21b0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฉบับที่11

ฉบับที่7ฉบับที่8ฉบับที่9ฉบับที่10 

ฉบับที่11ฉบับที่12 

  

 ฉบับที่11

ฉบับที่ 11 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519

     รัฐธรรมนูญฉบับที่ 11 นั้น เกิดจากการที่คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ภายใต้การนำของ พล.ร.อ. สงัด ชลออยู่ ได้เข้ายึดอำนาจ หลังจากเกิดเหตุการณ์ล้อมปราบนักศึกษากับประชาชน ซึ่งชุมนุมประท้วงการเดินทางกลับสู่ประเทศไทยของจอมพลถนอม กิตติขจร ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ด้วยความทารุณโหดร้ายอย่างถึงที่สุด คนไทยต้องฆ่ากันเอง คณะปฏิรูปฯ จึงได้ประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับที่ 10 แล้วได้ทำการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้น และประกาศใช้บังคับในเวลาต่อมา เหตุการณ์ดังกล่าว ทำให้เราสิ้นสุดยุคประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่ได้มาด้วยการต่อสู้ของประชาชนในระยะเวลาอันสั้น

     โดยที่คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน อ้างว่า เป็นแผนการของผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ ที่ต้องการจะทำลายสถาบันพระมหากษัตริย์ อีกทั้งยังทำการต่อสู้ขัดขวางการจับกุมของเจ้าหน้าที่ด้วยอาวุธร้ายแรง ประกอบกับการที่รัฐมนตรีบางคน และนักการเมืองบางกลุ่ม ได้ให้การสนับสนุนการเคลื่อนไหวของนิสิตนักศึกษาดังกล่าว ซึ่งทำให้ “รัฐบาลไม่สามารถรักษาสถานการณ์บ้านเมืองด้วยวิถีทางรัฐธรรมนูญได้”

     หลังการปฏิวัติล้มรัฐบาล อันเนื่องมาจากเหตุการณ์นองเลือด เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2519 แล้ว คณะปฏิวัติ ก็ได้แต่งตั้ง นาย ธานินทร์ กรัยวิเชียร  ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี พร้อมๆ กันกับที่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2519 โดยมีบทบัญญัติเพียง 29 มาตราเท่านั้น ซึ่งในที่สุด ก็ถูก "ฉีกทิ้ง" โดยการทำรัฐประหารของคณะปฏิรูปฯ เดิม ในนามใหม่ว่า "คณะปฏิวัติ" ในวันที่ 20 ตุลาคม 2520 ซึ่งมีหัวหน้าคนเดิม คือ พล.ร.อ. สงัด ชลออยู่ รวมอายุการบังคับใช้แค่ 1 ปีเท่านั้น

                                               นาย ธานินทร์ กรัยวิเชียร

                   พล.ร.อ. สงัด ชลออยู่                                                         นาย ธานินทร์ กรัยวิเชียร 

             ที่มา : http://admchaloryoo.com                            ที่มา : http://hilight.kapook.com/view/27224
 
 

 

                                                             เหตุการณ์นองเลือด เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2519

                                    ที่มา : http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=easywandering&month=02-                                            2008&date=19&group=1&gblog=65      

    หลักการสำคัญ

     รัฐธรรมนูญฉบับนี้ มีหลักการสำคัญคล้ายคลึงกับรัฐธรรมนูญ ฉบับที่ 7 และฉบับที่ 9 อย่างมาก ดังนี้

 1) รัฐธรรมนูญฉบับนี้ มีฐานะเป็นเพียงเครื่องมือที่คณะปฏิวัติสร้างขึ้น เพื่อให้การใช้อำนาจถูกต้องชอบธรรมตามกฎเกณฑ์ มิใช่ รัฐธรรมนูญในระบอบประชาธิปไตย แต่อย่างใด

 2) ไม่มีบทบัญญัติห้ามข้าราชการประจำเข้าดำรงตำแหน่งทางการเมืองในขณะเดียวกัน

 3) ไม่มีหลักประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชนไว้อย่างชัดเจน เพียงแต่รับรองอำนาจอิสระของศาลในการพิจารณาอรรถคดีไว้เท่านั้น

 4) ให้อำนาจพิเศษแก่นายกรัฐมนตรีไว้อย่างมากในมาตรา 21

 5) รัฐธรรมนูญฉบับนี้ ถือเป็นรัฐธรรมนูญโครงการสร้างประชาธิปไตย โดยคณะรัฐมนตรี จะเป็นผู้เสนอขอแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นคราวๆ ไป ตามความเหมาะสมกับสภาวการณ์ในแต่ละระยะรวม 3 ระยะ ระยะละ 4 ปี รวมทั้งหมด 12 ปี ดังนี้

   (ก) ในระยะสี่ปีแรก เป็นระยะฟื้นฟูเสถียรภาพของประเทศทั้งทางเศรษฐกิจและการเมือง ในระยะนี้สมควรให้ราษฎรมีส่วนในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยทางสภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ซึ่งมีสมาชิกที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน ในขณะเดียวกัน ก็จะเร่งเร้าให้ประชาชนเกิดความสนใจ และตระหนักในหน้าที่ของตน

   (ข) ในระยะสี่ปีที่สอง สมควรเป็นระยะที่ให้ราษฎรมีส่วนในการบริหารราชการแผ่นดินมากขึ้น โดยจัดให้มีรัฐสภาอันประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งสมาชิกมาจากการเลือกตั้งและวุฒิสภา ซึ่งสมาชิกมาจากการแต่งตั้ง ทั้งสองสภานี้ จะมีอำนาจหน้าที่ในการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินเท่าเทียมกัน

   (ค) ในระยะสี่ปีที่สาม สมควรขยายอำนาจของสภาผู้แทนราษฎรให้มากขึ้น และลดอำนาจของวุฒิสภาลงเท่าที่จะทำได้ ต่อจากนั้นไป ถ้าราษฎรตระหนักในหน้าที่และความรับผิดชอบของตนที่มีต่อชาติบ้านเมืองในระบอบประชาธิปไตยดีแล้ว ก็อาจยกเลิกวุฒิสภาให้เหลือแต่สภาผู้แทนราษฎร

 6) วัตถุประสงค์ในการแก้ไขรัฐธรรมนูญนี้ กำหนดไว้อย่างแน่ชัดว่าเพื่อปรับปรุงโครงสร้างและอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาเท่านั้น และไม่มีบทบัญญัติอื่นใดในรัฐธรรมนูญนี้ให้อำนาจแก่สภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดินในฐานะรัฐสภาที่จะเปลี่ยนรัฐบาลได้ตามวิถีทางรัฐธรรมนูญ อาทิ โดยการลงมติไม่ไว้วางใจรัฐบาล จึงทำให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์กันว่า คณะรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญนี้ สามารถที่จะอยู่ในตำแหน่งได้ตลอดไปเป็นเวลาถึง 12 ปี โดยไม่มีใครเอาออกได้ตามวิถีทางรัฐธรรมนูญ นอกจากคณะรัฐมนตรีจะลาออกเอง หรือ สมัครใจแก้ไขรัฐธรรมนูญกำหนดอายุการดำรงตำแหน่งของคณะรัฐมนตรีเสียใหม่

หน้าแรก

สร้างโดย: 
นายธานินทร์ พร้อมสุข และ นางสาวภาชินี ผลงามเนตรอรุณ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 255 คน กำลังออนไลน์