• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ฉบับที่13', 'node/90163', '', '3.145.157.244', 0, 'eda386ffaa2122100fd8024800df9dfd', 165, 1716220022) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:fe1c7650c779ea0e58f97f08a0b1d25d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><strong><img height=\"64\" width=\"324\" src=\"/files/u31262/Law2.jpg\" alt=\"กฎหมายรัฐธรรมนูญ\" border=\"0\" /></strong></span></span></span></span></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><a href=\"/node/73905\"><strong><img height=\"45\" width=\"110\" src=\"/files/u31262/3.jpg\" alt=\"ความหมาย\" border=\"0\" /></strong></a></span><span style=\"color: #00ccff\"><a href=\"/node/75035\"><img height=\"45\" width=\"110\" src=\"/files/u31262/pavat.jpg\" alt=\"ประวัติความเป็นมา\" border=\"0\" /></a></span><a href=\"/node/76817\"><img height=\"45\" width=\"110\" src=\"/files/u31262/important.jpg\" alt=\"ความสำคัญ\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/76820\"><img height=\"45\" width=\"110\" src=\"/files/u31262/KaNang.jpg\" alt=\"แขนงของกฎหมาย\" border=\"0\" /></a><span style=\"color: #00ccff\"><a href=\"/node/76825\"><img height=\"45\" width=\"110\" src=\"/files/u31262/differentMaHa.jpg\" alt=\"ความแตกต่าง กฎหมายมหาชน &amp; เอกชน\" border=\"0\" /></a></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><span style=\"color: #00ccff\"><br />\n<a href=\"/node/76828\"><img height=\"45\" width=\"110\" src=\"/files/u31262/MaHacHon.jpg\" alt=\"กฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายมหาชน\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75734\"><img height=\"45\" width=\"110\" src=\"/files/u31262/1-6_3.jpg\" alt=\"รัฐธรรมนูญฉบับที่ 1-6\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75764\"><img height=\"45\" width=\"110\" src=\"/files/u31262/7-12.jpg\" alt=\"รัฐธรรมนูญฉบับที่ 7-12\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75778\"><img height=\"45\" width=\"110\" src=\"/files/u31262/13-18.jpg\" alt=\"รัฐธรรมนูญฉบับที่ 13-18\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/77471\"><img height=\"45\" width=\"110\" src=\"/files/u31262/i_and_me.jpg\" alt=\"ผู้จัดทำ \" border=\"0\" /></a></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><span style=\"color: #00ccff\"><strong> </strong></span></span></span></span></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><span style=\"color: #00ccff\"></span></span></span></span></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><span style=\"color: #00ccff\"><img height=\"30\" width=\"600\" src=\"/files/u31262/f74.gif\" border=\"0\" /></span></span></span></span></span></span> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"75\" width=\"355\" src=\"/files/u31262/different1.jpg\" alt=\"ความแตกต่าง กฎหมายมหาชน&amp;กฎหมายเอกชน\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<strong>    <span style=\"color: #ffcc99\"> </span><span style=\"color: #ff9900\"> แบ่งออกเป็น 3 ประการ คือ</span>   <br />\n <br />\n  <span style=\"color: #99cc00\">1) คุณลักษณะตัวบุคคลที่เกี่ยวข้อง เป็นความแตกต่างที่มองถึงคุณสมบัติของบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นสำคัญ ในแง่นี้กฎหมายมหาชน คือกฎหมายที่เกี่ยวกับสภาพอำนาจหน้าที่    และการใช้อำนาจของผู้ปกครอง   เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองด้วยกันและเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองกับผู้อยู่ใต้ปกครอง  ส่วนกฎหมายเอกชนนั้นกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนผู้อยู่ใต้ปกครองด้วยกันเองเท่านั้น ซึ่งผู้ปกครองไม่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องด้วยเลย</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong>  <span style=\"color: #ff99cc\">2) เนื้อหาของกฎข้อบังคับ เป็นความแตกต่างของเนื้อหาของกฎหมายแต่ละประเภท  หรืออีกนัยหนึ่ง  คือ ผลประโยชน์ที่กฎข้อบังคับเหล่านี้ต้องการให้ความคุ้มครองป้องกันในแง่นี้กฎหมายมหาชน ได้แก่ กฎข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวกับการดำเนินการของผลประโยชน์ส่วนรวมของประชาชน หรือมักเรียก กันว่าประโยชน์สาธารณะ  (Public Interest)  ส่วนกฎหมายเอกชนนั้นจะเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ส่วนบุคคลของสมาชิกแต่ละคนในสังคม </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>  <span style=\"color: #00ccff\">3) พิจารณาจากวิธีการที่ใช้เกี่ยวกับผลบังคับของกฎหมาย     เป็นความแตกต่างในเรื่อง รูปแบบความสัมพันธ์ทางกฎหมาย    กล่าวคือ   ลักษณะของกฎหมายมหาชนมาจากการใช้วิธีการบังคับ ฝ่ายเดียวบุคคลหนึ่งสามารถที่จะบังคับให้เกิดผลทางกฎหมายแก่บุคคลอีกคนหนึ่งได้โดยไม่ต้องรับการยินยอมจากอีกฝ่ายหนึ่ง    ตรงกันข้ามกับกฎหมายเอกชนที่มาจากการถือหลักเจตจำนงตามความตกลง ยินยอมกัน ของคู่กรณีอย่างอิสระ โดยแสดงออกทางสัญญาต่างๆ เป็นสำคัญคือ บุคคลคนหนึ่งไม่สามารถที่จะบังคับบุคคลอีกคนหนึ่งให้มีผลผูกพันตามกฎหมายได้ถ้าอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยินยอม</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>     <span style=\"color: #cc99ff\">แต่ทว่ากลับมีปัญหาที่ยุ่งยาก ก็คือ    ขอบเขตของกฎหมายทั้งสองยากที่จะกำหนดให้แน่นอนได้ กล่าวคือการจำแนกกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชนออกจากกันตามหลัก ๓ ประการข้างต้นยากที่จะยึดถือเป็นเกณฑ์แน่นอนได้ เพราะฉะนั้นเราจึงต้องเลือกเอาหลักใดหลักหนึ่งที่ดีที่สุด    ก็คือ  จำแนกตามลักษณะตัวบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยดูว่าเกี่ยวกับผู้ปกครองหรือผู้ถูกปกครองแต่หลักข้อนี้ไม่อาจนำมาใช้ในลักษณะเด็ดขาดได้</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>     <span style=\"color: #ff9900\">สรุปแล้ว กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายที่มีลักษณะเป็นการบังคับก่อพันธะขึ้นโดยฝ่ายหนึ่ง แม้ว่าจะขัดต่อเจตนารมณ์ของผู้ที่ต้องตกเป็นผู้มีพันธะ    ส่วน กฎหมายเอกชนนั้น   จะเป็นกฎหมายแห่งความเสมอภาคไม่มีการบังคับให้มีพันธะ โดยปราศจากความยินยอม</span></strong>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/70396\"></a></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"82\" width=\"150\" src=\"/files/u31262/icon_home.jpg\" alt=\"หน้าแรก\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n', created = 1716220032, expire = 1716306432, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:fe1c7650c779ea0e58f97f08a0b1d25d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความแตกต่างกฎหมายมหาชน&เอกชน

กฎหมายรัฐธรรมนูญ
ความหมายประวัติความเป็นมาความสำคัญแขนงของกฎหมายความแตกต่าง กฎหมายมหาชน & เอกชน
กฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายมหาชนรัฐธรรมนูญฉบับที่ 1-6รัฐธรรมนูญฉบับที่ 7-12รัฐธรรมนูญฉบับที่ 13-18ผู้จัดทำ
 
 
ความแตกต่าง กฎหมายมหาชน&กฎหมายเอกชน

      แบ่งออกเป็น 3 ประการ คือ   
 
  1) คุณลักษณะตัวบุคคลที่เกี่ยวข้อง เป็นความแตกต่างที่มองถึงคุณสมบัติของบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นสำคัญ ในแง่นี้กฎหมายมหาชน คือกฎหมายที่เกี่ยวกับสภาพอำนาจหน้าที่    และการใช้อำนาจของผู้ปกครอง   เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองด้วยกันและเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองกับผู้อยู่ใต้ปกครอง  ส่วนกฎหมายเอกชนนั้นกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนผู้อยู่ใต้ปกครองด้วยกันเองเท่านั้น ซึ่งผู้ปกครองไม่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องด้วยเลย

  2) เนื้อหาของกฎข้อบังคับ เป็นความแตกต่างของเนื้อหาของกฎหมายแต่ละประเภท  หรืออีกนัยหนึ่ง  คือ ผลประโยชน์ที่กฎข้อบังคับเหล่านี้ต้องการให้ความคุ้มครองป้องกันในแง่นี้กฎหมายมหาชน ได้แก่ กฎข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวกับการดำเนินการของผลประโยชน์ส่วนรวมของประชาชน หรือมักเรียก กันว่าประโยชน์สาธารณะ  (Public Interest)  ส่วนกฎหมายเอกชนนั้นจะเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ส่วนบุคคลของสมาชิกแต่ละคนในสังคม

  3) พิจารณาจากวิธีการที่ใช้เกี่ยวกับผลบังคับของกฎหมาย     เป็นความแตกต่างในเรื่อง รูปแบบความสัมพันธ์ทางกฎหมาย    กล่าวคือ   ลักษณะของกฎหมายมหาชนมาจากการใช้วิธีการบังคับ ฝ่ายเดียวบุคคลหนึ่งสามารถที่จะบังคับให้เกิดผลทางกฎหมายแก่บุคคลอีกคนหนึ่งได้โดยไม่ต้องรับการยินยอมจากอีกฝ่ายหนึ่ง    ตรงกันข้ามกับกฎหมายเอกชนที่มาจากการถือหลักเจตจำนงตามความตกลง ยินยอมกัน ของคู่กรณีอย่างอิสระ โดยแสดงออกทางสัญญาต่างๆ เป็นสำคัญคือ บุคคลคนหนึ่งไม่สามารถที่จะบังคับบุคคลอีกคนหนึ่งให้มีผลผูกพันตามกฎหมายได้ถ้าอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยินยอม

     แต่ทว่ากลับมีปัญหาที่ยุ่งยาก ก็คือ    ขอบเขตของกฎหมายทั้งสองยากที่จะกำหนดให้แน่นอนได้ กล่าวคือการจำแนกกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชนออกจากกันตามหลัก ๓ ประการข้างต้นยากที่จะยึดถือเป็นเกณฑ์แน่นอนได้ เพราะฉะนั้นเราจึงต้องเลือกเอาหลักใดหลักหนึ่งที่ดีที่สุด    ก็คือ  จำแนกตามลักษณะตัวบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยดูว่าเกี่ยวกับผู้ปกครองหรือผู้ถูกปกครองแต่หลักข้อนี้ไม่อาจนำมาใช้ในลักษณะเด็ดขาดได้

     สรุปแล้ว กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายที่มีลักษณะเป็นการบังคับก่อพันธะขึ้นโดยฝ่ายหนึ่ง แม้ว่าจะขัดต่อเจตนารมณ์ของผู้ที่ต้องตกเป็นผู้มีพันธะ    ส่วน กฎหมายเอกชนนั้น   จะเป็นกฎหมายแห่งความเสมอภาคไม่มีการบังคับให้มีพันธะ โดยปราศจากความยินยอม

หน้าแรก

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 302 คน กำลังออนไลน์