• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a6a4c0fca381ba040d6f3272373f9706' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong><span style=\"color: #ffcc00\"><span style=\"color: #99cc00\"></span></span></strong></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><a href=\"/node/75764\"></a><a href=\"/node/75769\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/07.jpg\" alt=\"ฉบับที่7\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/89672\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/08.jpg\" alt=\"ฉบับที่8\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/90047\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/09.jpg\" alt=\"ฉบับที่9\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75773\"></a><a href=\"/node/90048\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/10.jpg\" alt=\"ฉบับที่10\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75775/\"></a> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><a href=\"/node/75776/\"></a><a href=\"/node/90050\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/11.jpg\" alt=\"ฉบับที่11\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/90051\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/12.jpg\" alt=\"ฉบับที่12\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/75777\"></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"14\" width=\"364\" src=\"/files/u44341/f86.gif\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ffcc00\"> <img height=\"83\" width=\"309\" src=\"/files/u44341/8-2.jpg\" alt=\"ฉบับที่8\" border=\"0\" /></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ffcc00\">ฉบับที่ 8 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511<br />\n</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>   <span style=\"color: #00ccff\">รัฐธรรมนูญฉบับนี้ มีจำนวน 183 มาตรา ถือเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 2 ของไทย ซึ่งถูกยกร่างโดย สภาร่างรัฐธรรมนูญ ทว่าเป็นสภาร่างรัฐธรรมนูญที่ทำหน้าที่ทางนิติบัญญัติด้วย ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว นับว่าเป็นรัฐธรรมนูญที่ใช้เวลาในการยกร่างจัดทำยาวนานที่สุดถึง 9 ปีเศษ โดยละเอียดถี่ถ้วน จนในที่สุด ก็ได้ประกาศและบังคับใช้เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2511 แต่ทว่าก็กลับมีอายุในการใช้งานเพียง 3 ปี 4 เดือน 27 วัน กล่าวคือ หลังจากใช้บังคับได้ไม่นานนัก เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2514 รัฐธรรมนูญก็ถูก &quot;ฉีกทิ้ง&quot; อีกครั้งหนึ่ง โดยการทำรัฐประหารตนเองของจอมพลถนอม กิตติขจร ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรี และผู้บัญชาการทหารสูงสุดในขณะนั้น และก็ได้นำเอารัฐธรรมนูญฉบับที่ 7 มาแก้ไขปรับปรุงรายละเอียดใหม่เล็กน้อยก่อนประกาศใช้บังคับ</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><img height=\"235\" width=\"150\" src=\"/files/u44341/tanom.jpg\" alt=\"จอมพลถนอม กิตติขจร \" border=\"0\" style=\"width: 149px; height: 174px\" /> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff9900\">จอมพลถนอม กิตติขจร</span> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #00ccff\"><strong>ที่มา :</strong> </span><a href=\"http://archives.psd.ku.ac.th/kuout/p071.html\"><span style=\"color: #00ccff\"><u>http://archives.psd.ku.ac.th/kuout/p071.html</u></span></a><br />\n<strong>    </strong>\n</p>\n<p>\n<strong>      <span style=\"color: #cc99ff\"> หลักการสำคัญ<br />\n </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 1) ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 2) ใช้ระบบรัฐสภามี 2 สภา คือ สภาผู้แทน และวุฒิสภา สภาผู้แทนประกอบด้วยสมาชิกที่ราษฎรเลือกตั้งโดยตรง แบบรวมเขตจังหวัด มีวาระคราวละ 4 ปี วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ จำนวน 3 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดของสภาผู้แทนราษฎร มีวาระคราวละ 6 ปี</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 3) วุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้ มีอำนาจมาก คือ มีสิทธิเสนอร่างกฎหมาย สิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายตัว หรือทั้งคณะได้ รวมทั้งมีสิทธิตั้งกระทู้ถามด้วย</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 4) ไม่มีข้อห้ามมิให้สมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนและรัฐมนตรีรับประโยชน์จากรัฐ</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 5) แยกฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารออกจากกันให้มากยิ่งขึ้น โดยกำหนดให้นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีอื่น ซึ่งเป็นฝ่ายบริหารจะเป็นสมาชิกแห่งรัฐสภาในขณะเดียวกันมิได้</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 6) เมื่อพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีแล้ว คณะรัฐมนตรีเป็นแต่มาแถลงนโยบายให้รัฐสภาทราบ โดยไม่มีการลงมติไม่ไว้วางใจ</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 7) ไม่มีข้อจำกัดการยุบสภาเหมือนกับรัฐธรรมนูญ ฉบับที่ 5 ที่ว่าการยุบสภา จะกระทำได้เพียงครั้งเดียวในเหตุการณ์เดียวกันนั้น</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 8) ไม่มีบทบัญญัติห้ามสมาชิกวุฒิสภาและรัฐมนตรีเป็นข้าราชการประจำ แต่สำหรับสมาชิกสภาผู้แทนมีข้อห้ามมิให้เป็นข้าราชการประจำ แสดงว่ารัฐธรรมนูญปัจจุบันไม่ประสงค์จะแยกการเมืองออกจากราชการประจำ</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 9)พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรีตามที่นายกรัฐมนตรีถวายคำแนะนำได้</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 10) รัฐสภาอาจมอบอำนาจให้พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติทางคณะรัฐมนตรี โดยประกาศพระบรมราชโองการให้ใช้บังคับ เช่น พระราชบัญญัติได้</span></strong>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/84777\"></a></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"82\" width=\"150\" src=\"/files/u31262/icon_home.jpg\" alt=\"หน้าแรก\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715517226, expire = 1715603626, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a6a4c0fca381ba040d6f3272373f9706' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฉบับที่8

ฉบับที่7ฉบับที่8ฉบับที่9ฉบับที่10 

ฉบับที่11ฉบับที่12 

  

 ฉบับที่8

ฉบับที่ 8 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511

   รัฐธรรมนูญฉบับนี้ มีจำนวน 183 มาตรา ถือเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 2 ของไทย ซึ่งถูกยกร่างโดย สภาร่างรัฐธรรมนูญ ทว่าเป็นสภาร่างรัฐธรรมนูญที่ทำหน้าที่ทางนิติบัญญัติด้วย ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว นับว่าเป็นรัฐธรรมนูญที่ใช้เวลาในการยกร่างจัดทำยาวนานที่สุดถึง 9 ปีเศษ โดยละเอียดถี่ถ้วน จนในที่สุด ก็ได้ประกาศและบังคับใช้เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2511 แต่ทว่าก็กลับมีอายุในการใช้งานเพียง 3 ปี 4 เดือน 27 วัน กล่าวคือ หลังจากใช้บังคับได้ไม่นานนัก เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2514 รัฐธรรมนูญก็ถูก "ฉีกทิ้ง" อีกครั้งหนึ่ง โดยการทำรัฐประหารตนเองของจอมพลถนอม กิตติขจร ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรี และผู้บัญชาการทหารสูงสุดในขณะนั้น และก็ได้นำเอารัฐธรรมนูญฉบับที่ 7 มาแก้ไขปรับปรุงรายละเอียดใหม่เล็กน้อยก่อนประกาศใช้บังคับ

จอมพลถนอม กิตติขจร  

จอมพลถนอม กิตติขจร

ที่มา : http://archives.psd.ku.ac.th/kuout/p071.html
    

       หลักการสำคัญ
 

 1) ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

 2) ใช้ระบบรัฐสภามี 2 สภา คือ สภาผู้แทน และวุฒิสภา สภาผู้แทนประกอบด้วยสมาชิกที่ราษฎรเลือกตั้งโดยตรง แบบรวมเขตจังหวัด มีวาระคราวละ 4 ปี วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ จำนวน 3 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดของสภาผู้แทนราษฎร มีวาระคราวละ 6 ปี

 3) วุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้ มีอำนาจมาก คือ มีสิทธิเสนอร่างกฎหมาย สิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายตัว หรือทั้งคณะได้ รวมทั้งมีสิทธิตั้งกระทู้ถามด้วย

 4) ไม่มีข้อห้ามมิให้สมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนและรัฐมนตรีรับประโยชน์จากรัฐ

 5) แยกฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารออกจากกันให้มากยิ่งขึ้น โดยกำหนดให้นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีอื่น ซึ่งเป็นฝ่ายบริหารจะเป็นสมาชิกแห่งรัฐสภาในขณะเดียวกันมิได้

 6) เมื่อพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีแล้ว คณะรัฐมนตรีเป็นแต่มาแถลงนโยบายให้รัฐสภาทราบ โดยไม่มีการลงมติไม่ไว้วางใจ

 7) ไม่มีข้อจำกัดการยุบสภาเหมือนกับรัฐธรรมนูญ ฉบับที่ 5 ที่ว่าการยุบสภา จะกระทำได้เพียงครั้งเดียวในเหตุการณ์เดียวกันนั้น

 8) ไม่มีบทบัญญัติห้ามสมาชิกวุฒิสภาและรัฐมนตรีเป็นข้าราชการประจำ แต่สำหรับสมาชิกสภาผู้แทนมีข้อห้ามมิให้เป็นข้าราชการประจำ แสดงว่ารัฐธรรมนูญปัจจุบันไม่ประสงค์จะแยกการเมืองออกจากราชการประจำ

 9)พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรีตามที่นายกรัฐมนตรีถวายคำแนะนำได้

 10) รัฐสภาอาจมอบอำนาจให้พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติทางคณะรัฐมนตรี โดยประกาศพระบรมราชโองการให้ใช้บังคับ เช่น พระราชบัญญัติได้

หน้าแรก

 

สร้างโดย: 
นายธานินทร์ พร้อมสุข และ นางสาวภาชินี ผลงามเนตรอรุณ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 306 คน กำลังออนไลน์