• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:32a264c2d0c436b0b104ee8bc1c14b24' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\nการรักษาสมดุลของกรด- เบสในมนุษย์\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"http://www.bangkokhealth.com/cimages/Aspirin_02.jpg\" height=\"159\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา <a href=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm\">http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\nการควบคุมกรด เบส ในร่างกายทั่วไปนั้นหมายถึง การควบคุมความเข้มข้นของ ไฮโดรเจนอิออนของน้ำในร่างกายหรือเลือดให้มีค่าคงที่ เพื่อให้เหมาะกับการทำงานของเอนไซม์และปฏิกิริยาต่างๆในร่างกาย การที่ของเหลวในร่างกายหรือในเซลล์ จะมีโฮโดรเจนอิออนมากหรือน้อยนั้นเกิดจากการแตกตัวของโฮโดรเจนอิออนจากกรดชนิดต่างๆ ถ้ามีโฮโดรเจนอิออนเข้มข้นมากค่า PH จะต่ำแสดงสภาพเป็นกรด แต่ในทางตรงกันข้ามถ้าของเหลวนั้นมีโฮโดรเจนอิออนเข้มข้นน้อยค่า PH จะสูงแสดงสภาพเป็นเบส ซึ่งสารที่ให้ความเข้มข้นของไฮโดรเจนอิออนต่ำลงได้แก่ สารไฮโดรเจนค่าร์บอเนตอิออน ฟอตเฟตอิออน และไฮดรอกไซด์อิออนหรือนั่นคื่อสารที่ไฮดรอกไซด์อิออนเข้มข้นมากความเข้มข้นของไฮโดเจนอิออนก็จะลดลง<br />\nค่า PH จะมีการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพราะปริมาณของสารที่ให้และรับไฮโดรเจนอิออนไม่คงที่เนื่องจากมีการนำสารเข้าหรือนำออกเป็นผลจากปฏิกิริยาภายในเซลล์ เช่น ในการหายใจ กรดที่เกิดจากกระบวนการเมตาโบลิซึมในร่างกายเกิดจาก<br />\n1.กรดจากคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นผลจากการเผาผลาญต่างๆ การหายใจของเซลล์ ซึ่งร่างกายจะขับออกทางปอด<br />\n2.กรดซัลฟูริก กรดไฮโดรคอลิก และฟอคฟอริค ซึ่งเกิดจากกระบวนการเผาผลาญอาหารพวกโปรตีน กรดพวกนี้จะถูกกำจัดออกทางไตการรักษาสมดุลของน้ำและเกลือแร่ในมนุษย์<br />\nโครงสร้างที่ทำหน้าที่ควบคุมเกี่ยวกับการรักษาสมดุลน้ำในร่างกายซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบประสาทในสมองทำงานประสานกันระหว่างระบบประสาท ฮอร์โมนและปัจจัยต่างๆ ทำให้มีผลต่ออวัยวะเดียวกัน คือ ไต ร่วมกันทำงานเพื่อรักษาสมดุลของน้ำในร่างกาย โดยการควบคุมน้ำนั้นอาศัยฮอร์โมนจากไฮโปรทาลามัสชื่อ ADH และฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต ไปมีผลต่อการทำงานของไต\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\nกลไกการควบคุมกรด เบสในร่างกาย<br />\n1. โดยการเปลี่ยนแปลงอัตราการหายใจเพื่อลดหรือเพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์<br />\n     o โดยศูนย์ควบคุมการหายใจที่สมองส่วนเมดัลลาออบลองกาตา <br />\n     o ซึ่งการหายใจจะช่วยแก้ปัญหาความเป็น กรด เบส ในเลือดได้ 50-70 %<br />\n2. ระบบบัฟเฟอร์<br />\n    คือระบบที่ช่วยให้สารละลายใดๆที่ทำให้มีค่าความเป็น กรด เบส เกือบคงที่บัฟเฟอร์ที่สำคัญในเลือดได้แก่<br />\n    2.1 ระบบบัฟเฟอร์โปรตีน สามส่วนสี่ ของบัฟเฟอร์ทั้งหมด ได้แก่ โปรตีนในพลาสมา ฮีโมโกลบิน<br />\n    2.2 บัฟเฟอร์โฮโดรเจนเปอร์มังกาเนต ประกอบด้วยโซเดียมไฮรโดเจนคาร์บอเนต และกรดคาร์บอนิก<br />\n    2.3 บัฟเฟอร์ฟอสเฟต ประกอบด้วยฟอสเฟตไอออน<br />\n3. การขับ H(ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง)ทางไต<br />\n    โดยมีหลักการว่า มีกรดในร่างกายมากขับออกไปพร้อมกับปัสสาวะ ถ้าเป็นเบสในร่างกายมากก็ขับออกพร้อมากับปัสสาวะ\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"242\" src=\"http://p.mthai.com/picpost/2005-12-24/180405_3133668.gif\" height=\"290\" style=\"width: 174px; height: 180px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา  <a href=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm\">http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n*********************************\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"140\" src=\"http://www.bloggang.com/data/nooyingja/picture/1227429027.gif\" height=\"38\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.bloggang.com/data/nooyingja/picture/1227429027.gif\">http://www.bloggang.com/data/nooyingja/picture/1227429027.gif</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42578\">กรด - เบส คืออะไร </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"/node/42579\">คู่กรด – เบส </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"/node/42580\">ชนิดของกรดและเบส</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"/node/42581\">ปฏิกิริยาของกรด - เบส</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n <a href=\"/node/42619\">ทดสอบความเป็นกรด-เบสกับวัสดุหาง่ายยุค IMF</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42662\">กรด  เบส  เกลือ</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"/node/42885\">กรด,เบส, ค่า pH </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42899\">สารละลายกรด เบส</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42903\">กรด-เบส ที่พบในชีวิตประจำวัน</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"/node/43481\">ความเป็นกรด-เบสของดิน </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"/node/44056\">อินดิเคเตอร์ </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44057\">การแตกตัวของกรด-เบสและน้ำ</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44059\">กรดและเบสทำปฏิกิริยากัน</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44060\">กรด </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44061\">เบส </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44201\">การไทเทรต กรดเบส </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"/node/44226\">การรักษาสมดุลของกรด- เบสในมนุษย์</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44227\">ลักษณะเฉพาะของเบส</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44742\">นิยามกรด-เบส <br />\n</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1714650016, expire = 1714736416, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:32a264c2d0c436b0b104ee8bc1c14b24' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การรักษาสมดุลกรด-เบสในร่างกายมนุษย์

 

การรักษาสมดุลของกรด- เบสในมนุษย์

ที่มา

ที่มา http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm


การควบคุมกรด เบส ในร่างกายทั่วไปนั้นหมายถึง การควบคุมความเข้มข้นของ ไฮโดรเจนอิออนของน้ำในร่างกายหรือเลือดให้มีค่าคงที่ เพื่อให้เหมาะกับการทำงานของเอนไซม์และปฏิกิริยาต่างๆในร่างกาย การที่ของเหลวในร่างกายหรือในเซลล์ จะมีโฮโดรเจนอิออนมากหรือน้อยนั้นเกิดจากการแตกตัวของโฮโดรเจนอิออนจากกรดชนิดต่างๆ ถ้ามีโฮโดรเจนอิออนเข้มข้นมากค่า PH จะต่ำแสดงสภาพเป็นกรด แต่ในทางตรงกันข้ามถ้าของเหลวนั้นมีโฮโดรเจนอิออนเข้มข้นน้อยค่า PH จะสูงแสดงสภาพเป็นเบส ซึ่งสารที่ให้ความเข้มข้นของไฮโดรเจนอิออนต่ำลงได้แก่ สารไฮโดรเจนค่าร์บอเนตอิออน ฟอตเฟตอิออน และไฮดรอกไซด์อิออนหรือนั่นคื่อสารที่ไฮดรอกไซด์อิออนเข้มข้นมากความเข้มข้นของไฮโดเจนอิออนก็จะลดลง
ค่า PH จะมีการเปลี่ยนแปลงเสมอ เพราะปริมาณของสารที่ให้และรับไฮโดรเจนอิออนไม่คงที่เนื่องจากมีการนำสารเข้าหรือนำออกเป็นผลจากปฏิกิริยาภายในเซลล์ เช่น ในการหายใจ กรดที่เกิดจากกระบวนการเมตาโบลิซึมในร่างกายเกิดจาก
1.กรดจากคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นผลจากการเผาผลาญต่างๆ การหายใจของเซลล์ ซึ่งร่างกายจะขับออกทางปอด
2.กรดซัลฟูริก กรดไฮโดรคอลิก และฟอคฟอริค ซึ่งเกิดจากกระบวนการเผาผลาญอาหารพวกโปรตีน กรดพวกนี้จะถูกกำจัดออกทางไตการรักษาสมดุลของน้ำและเกลือแร่ในมนุษย์
โครงสร้างที่ทำหน้าที่ควบคุมเกี่ยวกับการรักษาสมดุลน้ำในร่างกายซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบประสาทในสมองทำงานประสานกันระหว่างระบบประสาท ฮอร์โมนและปัจจัยต่างๆ ทำให้มีผลต่ออวัยวะเดียวกัน คือ ไต ร่วมกันทำงานเพื่อรักษาสมดุลของน้ำในร่างกาย โดยการควบคุมน้ำนั้นอาศัยฮอร์โมนจากไฮโปรทาลามัสชื่อ ADH และฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต ไปมีผลต่อการทำงานของไต


กลไกการควบคุมกรด เบสในร่างกาย
1. โดยการเปลี่ยนแปลงอัตราการหายใจเพื่อลดหรือเพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์
     o โดยศูนย์ควบคุมการหายใจที่สมองส่วนเมดัลลาออบลองกาตา
     o ซึ่งการหายใจจะช่วยแก้ปัญหาความเป็น กรด เบส ในเลือดได้ 50-70 %
2. ระบบบัฟเฟอร์
    คือระบบที่ช่วยให้สารละลายใดๆที่ทำให้มีค่าความเป็น กรด เบส เกือบคงที่บัฟเฟอร์ที่สำคัญในเลือดได้แก่
    2.1 ระบบบัฟเฟอร์โปรตีน สามส่วนสี่ ของบัฟเฟอร์ทั้งหมด ได้แก่ โปรตีนในพลาสมา ฮีโมโกลบิน
    2.2 บัฟเฟอร์โฮโดรเจนเปอร์มังกาเนต ประกอบด้วยโซเดียมไฮรโดเจนคาร์บอเนต และกรดคาร์บอนิก
    2.3 บัฟเฟอร์ฟอสเฟต ประกอบด้วยฟอสเฟตไอออน
3. การขับ H(ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง)ทางไต
    โดยมีหลักการว่า มีกรดในร่างกายมากขับออกไปพร้อมกับปัสสาวะ ถ้าเป็นเบสในร่างกายมากก็ขับออกพร้อมากับปัสสาวะ

ที่มา  http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm

*********************************

http://www.bloggang.com/data/nooyingja/picture/1227429027.gif

 

กรด - เบส คืออะไร


คู่กรด – เบส


ชนิดของกรดและเบส


ปฏิกิริยาของกรด - เบส


 ทดสอบความเป็นกรด-เบสกับวัสดุหาง่ายยุค IMF

กรด  เบส  เกลือ

 กรด,เบส, ค่า pH

สารละลายกรด เบส

กรด-เบส ที่พบในชีวิตประจำวัน


ความเป็นกรด-เบสของดิน

 อินดิเคเตอร์

การแตกตัวของกรด-เบสและน้ำ

กรดและเบสทำปฏิกิริยากัน

กรด

เบส

การไทเทรต กรดเบส


การรักษาสมดุลของกรด- เบสในมนุษย์

ลักษณะเฉพาะของเบส

นิยามกรด-เบส

 

สร้างโดย: 
วชิราภรณ์ พอสม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 492 คน กำลังออนไลน์