• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b253af8f87bca7d1df0315c403796dba' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #800080\">กรด  เบส  เกลือ</span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\nสารประกอบ ( compound ) สารที่เกิดจากการรวมตัวกันด้วยแรงทางเคมีของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปและมีสัดส่วนแน่นอน เกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนอนุภาคภายในอะตอมเพื่อให้อยู่ในสภาพที่เสถียรหรือสมดุลนั่นเอง เช่น\n</p>\n<p align=\"center\">\nH     = ธาตุไฮโดรเจน 1 อะตอม\n</p>\n<p align=\"center\">\nH2O    = สารประกอบ ประกอบด้วย ธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม และ ออกซิเจน 1 อะตอม\n</p>\n<p align=\"center\">\nCaHCO3 = สารประกอบประกอบด้วย Ca = 1 อะตอม H = 1 อะตอม C = 1 อะตอม และ   O = 3 อะตอม\n</p>\n<p align=\"center\">\nโมเลกุล (Molecule) คืออะไรเกี่ยวข้องกับสารประกอบอย่างไร\n</p>\n<p align=\"center\">\nถ้าแบ่งสารออกเป็นหน่วยย่อยที่สุดโดยแต่ละหน่วยคงสมบัติเดิมไว้เรียกว่า อะตอม สารใดที่ประกอบด้วยอะตอมของธาตุเดียวกันทั้งหมด เรียกว่า ธาตุ ถ้าอะตอมของสารต่างชนิด เรียกว่า สารประกอบ อะตอมมักไม่อยู่ตามลำพังแต่จะรวมกันอย่างมีระเบียบถ้าอะตอมของธาตุต่างชนิดกันมารวมกันก็จะเกิด โมเลกุลของสารประกอบธาตุที่เป็นก๊าซเฉื่อยสามารถอยู่อย่างอิสระได้ ดังนั้น โมเลกุล หมายถึง อะตอมของธาตุตั้งแต่ 1 อะตอมขึ้นไปซึ่งอาจเป็นอะตอมของสารชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดก็ได้มารวมตัวกันอย่างเป็นระเบียบ\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\nกรด (acid) สารที่มีรสเปรี้ยวสามารถทำปฏิกิริยากับโลหะและคาร์บอเนต และจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีน้ำเงินให้เป็นสีแดง  ถ้าแม้ว่ากรดจะมีรสเปรี้ยวเมื่อเราไม่ทราบก็ไม่ควรใช้ลิ้มชิม  กรด แบ่งได้ 2 ประเภทคือ กรดอินทรีย์ กรดอนินทรีย์ กรด มี 2 ชื่อคือ กรดไฮโดร กับกรดออกซี่\n</p>\n<p align=\"center\">\nHydro = HCl HBr HI HF HCN ฯลฯ กรดเหล่านี้ออกเสียง “ไฮโดร” นำหน้าแล้วตามด้วยสารที่ตามมา\n</p>\n<p align=\"center\">\n เช่น HCl = ก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์ หรือ กรดเกลือ\n</p>\n<p align=\"center\">\nOxy = HNO3 H2SO4 HClO3 H2CO3 * ฯลฯ กรดเหล่านี้ออกเสียง “อิก” ลงท้ายเสมอ * H2CO3 ไม่เสถียรจะแตกตัวให้ H2O , CO2\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #cc99ff\">สมบัติทั่วไปของสารละลายกรด </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n1. มีรสเปรี้ยว เปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากน้ำเงินเป็นแดง B ==&gt; R\n</p>\n<p align=\"left\">\n2. นำไฟฟ้าได้ (อิเล็กโตรไลท์ : electrolyte)\n</p>\n<p align=\"left\">\n3. ทำปฏิกิริยากับโลหะบางชนิดได้ก๊าซ H2\n</p>\n<p align=\"left\">\n            2Na + 2HCl ===&gt; 2NaCl +H2\n</p>\n<p align=\"left\">\n4. ทำปฏิกิริยากับเบสได้ เกลือ + น้ำ\n</p>\n<p align=\"left\">\n            NaOH + HCl ===&gt; NaCl + H2O\n</p>\n<p align=\"left\">\n5. มีค่า power of Hydrogen ion (pH) น้อยกว่า 7\n</p>\n<p align=\"left\">\n6. ทำปฏิกิริยากับสารประกอบคาร์บอเนตได้ก๊าซ CO2  และ น้ำ\n</p>\n<p align=\"left\">\n            CaCO3 + HCl ===&gt; CaCl2 + CO2 + H2O\n</p>\n<p align=\"left\">\n7. กัดกร่อนโลหะ พลาสติก และสารอินทรีย์ทุกชนิด\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993300\"><strong><span style=\"color: #cc99ff\">เบส </span></strong> </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n            เบส (base) หรือ ด่าง คือสารละลายที่มีรสขม เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากแดงเป็นน้ำเงิน หรือมีลักษณะลื่นๆ\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #00ccff\">สมบัติทั่วไปของสารละลายเบส</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n1. มีรสฝาด ขม เปลี่ยนกระดาษลิตมัสจาก แดง เป็น น้ำเงิน R ==&gt; B เปลี่ยนสีฟีนอล์ฟทาลีนจากไม่มีสี เป็นสีชมพู\n</p>\n<p align=\"left\">\n2. นำไฟฟ้าได้ (อิเล็กโตรไลท์ : electrolyte)\n</p>\n<p align=\"left\">\n3. ทำปฏิกิริยากับโลหะอะลูมิเนียมได้ก๊าซ H2 เช่น  ก๊าซในลูกโป่งสวรรค์\n</p>\n<p align=\"left\">\n                        6NaOH + 2Al ===&gt; 2Na3AlO3 +3H2\n</p>\n<p align=\"left\">\n4. ทำปฏิกิริยากับกรดได้ เกลือ + น้ำ\n</p>\n<p align=\"left\">\n                        NaOH + HCl ===&gt; NaCl + H2O\n</p>\n<p align=\"left\">\n5. มีค่า power of Hydrogen ion (pH) มากกว่า 7\n</p>\n<p align=\"left\">\n6. ทำปฏิกิริยากับสารประกอบแอมโมเนียม เช่น แอมโมเนียมคลอไรด์ ได้ เกลือ น้ำ และ ก๊าซ แอมโมเนีย\n</p>\n<p align=\"left\">\n                        NaOH + NH4Cl ===&gt; NaCl + H2O + NH3\n</p>\n<p align=\"left\">\n7. กัดกร่อนแก้ว และสารอินทรีย์ทุกชนิด\n</p>\n<p align=\"left\">\n8. ต้มกับไขมันได้ สบู่ นิยมใช้  NaOH ทำสบู่ก้อน ,  KOH ทำสบู่เหลว\n</p>\n<p><span style=\"color: #00ffff\"><span style=\"color: #ff6600\"></span></span></p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\">ประเภทเบส</span><span style=\"color: #99cc00\">                  </span>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"left\">\n      1.  เบสแก่ คือเบสที่แตกตัวให้ OH- ได้ดี เช่น KOH , NaOH , Ca(OH)2เกิดปฏิกิริยาได้ดี เร็ว แรง\n</p>\n<p>\n      2. เบสอ่อน คือเบสที่แตกตัวให้ OH- ได้ไม่ดี เช่น NH4OH , NH3\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #00ff00\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\">เกลือ (salt)</span></strong> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\nสมบัติทั่วไปของเกลือ\n</p>\n<p align=\"left\">\n                        1. ส่วนมากมีลักษณะเป็นผลึกสีขาว เช่น  NaCl แต่มีหลายชนิดที่มีสี เช่น\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                    สีม่วง     ได้แก่     ด่างทับทิม(โปแตสเซียมเปอร์แมงกาเนต)            KMnO4\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                    สีน้ำเงิน   ได้แก่     จุนสี(คอปเปอร์ซัลเฟต)                                CuSO4.5H2O\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                    สีส้ม       ได้แก่     โปแตสเซียมโครเมต                                   KCr2O7\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                    สีเขียว     ได้แก่     ไอออน(II)ซัลเฟต                                      FeSO4.7H2O\n</p>\n<p align=\"left\">\n                        2. มีหลายรส เช่น\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                    รสเค็ม    ได้แก่     เกลือแกง(โซเดียมคลอไรด์)                            NaCl\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                   รสฝาด    ได้แก่     สารส้ม                                                    K2SO4.Al2(SO4)3.24H2O\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                    รสขม     ได้แก่     โปแตสเซียมคลอไรด์ , แมกนีเซียมซัลเฟต          KCl, Mg SO4.7H2O\n</p>\n<p align=\"left\">\n                         3. นำไฟฟ้าได้ (อิเล็กโตรไลท์ : electrolyte)\n</p>\n<p align=\"left\">\n                         4. เมื่อละลายน้ำ อาจแสดงสมบัติเป็นกรด เบส หรือ กลางก็ได้\n</p>\n<p align=\"left\">\n                         5. ไม่กัดกร่อนแก้วและเซอรามิก\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffcc00\">เอกสารอ้างอิง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\nสมพงศ์ จันทร์ โพธิ์ศรี รศ.ดร วิทยาศาสตร์ 3 ไฮเอดพับลิชชิ่ง กรุงเทพมหานคร 2544\n</p>\n<p align=\"center\">\nธีรยุทธ วิไลวัลย์ ผศ.ดร.  และ วราวุฒิ ตั้งพสุธาดล ดร. สำรวจโลกวิทยาศาสตร์ ปฏิกิริยาทางเคมี  เพียสัน\n</p>\n<p align=\"center\">\nเอ็ดดูเคชั่น  อินโดน่ากรุงเทพมหานคร 2545\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"90\" src=\"http://www.bloggang.com/data/nooyingja/picture/1227640243.gif\" height=\"300\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา <a href=\"http://www.bloggang.com/data/nooyingja/picture/1227640243.gif\">http://www.bloggang.com/data/nooyingja/picture/1227640243.gif</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n********************************************************\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42578\">กรด - เบส คืออะไร </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"/node/42579\">คู่กรด – เบส </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"/node/42580\">ชนิดของกรดและเบส</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"/node/42581\">ปฏิกิริยาของกรด - เบส</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n <a href=\"/node/42619\">ทดสอบความเป็นกรด-เบสกับวัสดุหาง่ายยุค IMF</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42662\">กรด  เบส  เกลือ</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"/node/42885\">กรด,เบส, ค่า pH </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42899\">สารละลายกรด เบส</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42903\">กรด-เบส ที่พบในชีวิตประจำวัน</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"/node/43481\">ความเป็นกรด-เบสของดิน </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"/node/44056\">อินดิเคเตอร์ </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44057\">การแตกตัวของกรด-เบสและน้ำ</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44059\">กรดและเบสทำปฏิกิริยากัน</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44060\">กรด </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44061\">เบส </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44201\">การไทเทรต กรดเบส </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"/node/44226\">การรักษาสมดุลของกรด- เบสในมนุษย์</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44227\">ลักษณะเฉพาะของเบส</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44742\">นิยามกรด-เบส <br />\n</a></p>\n<p> \n</p>\n', created = 1714743296, expire = 1714829696, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b253af8f87bca7d1df0315c403796dba' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กรด เบส เกลือ

กรด  เบส  เกลือ


สารประกอบ ( compound ) สารที่เกิดจากการรวมตัวกันด้วยแรงทางเคมีของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปและมีสัดส่วนแน่นอน เกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนอนุภาคภายในอะตอมเพื่อให้อยู่ในสภาพที่เสถียรหรือสมดุลนั่นเอง เช่น

H     = ธาตุไฮโดรเจน 1 อะตอม

H2O    = สารประกอบ ประกอบด้วย ธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม และ ออกซิเจน 1 อะตอม

CaHCO3 = สารประกอบประกอบด้วย Ca = 1 อะตอม H = 1 อะตอม C = 1 อะตอม และ   O = 3 อะตอม

โมเลกุล (Molecule) คืออะไรเกี่ยวข้องกับสารประกอบอย่างไร

ถ้าแบ่งสารออกเป็นหน่วยย่อยที่สุดโดยแต่ละหน่วยคงสมบัติเดิมไว้เรียกว่า อะตอม สารใดที่ประกอบด้วยอะตอมของธาตุเดียวกันทั้งหมด เรียกว่า ธาตุ ถ้าอะตอมของสารต่างชนิด เรียกว่า สารประกอบ อะตอมมักไม่อยู่ตามลำพังแต่จะรวมกันอย่างมีระเบียบถ้าอะตอมของธาตุต่างชนิดกันมารวมกันก็จะเกิด โมเลกุลของสารประกอบธาตุที่เป็นก๊าซเฉื่อยสามารถอยู่อย่างอิสระได้ ดังนั้น โมเลกุล หมายถึง อะตอมของธาตุตั้งแต่ 1 อะตอมขึ้นไปซึ่งอาจเป็นอะตอมของสารชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดก็ได้มารวมตัวกันอย่างเป็นระเบียบ

 

กรด (acid) สารที่มีรสเปรี้ยวสามารถทำปฏิกิริยากับโลหะและคาร์บอเนต และจะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีน้ำเงินให้เป็นสีแดง  ถ้าแม้ว่ากรดจะมีรสเปรี้ยวเมื่อเราไม่ทราบก็ไม่ควรใช้ลิ้มชิม  กรด แบ่งได้ 2 ประเภทคือ กรดอินทรีย์ กรดอนินทรีย์ กรด มี 2 ชื่อคือ กรดไฮโดร กับกรดออกซี่

Hydro = HCl HBr HI HF HCN ฯลฯ กรดเหล่านี้ออกเสียง “ไฮโดร” นำหน้าแล้วตามด้วยสารที่ตามมา

 เช่น HCl = ก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์ หรือ กรดเกลือ

Oxy = HNO3 H2SO4 HClO3 H2CO3 * ฯลฯ กรดเหล่านี้ออกเสียง “อิก” ลงท้ายเสมอ * H2CO3 ไม่เสถียรจะแตกตัวให้ H2O , CO2

สมบัติทั่วไปของสารละลายกรด

1. มีรสเปรี้ยว เปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากน้ำเงินเป็นแดง B ==> R

2. นำไฟฟ้าได้ (อิเล็กโตรไลท์ : electrolyte)

3. ทำปฏิกิริยากับโลหะบางชนิดได้ก๊าซ H2

            2Na + 2HCl ===> 2NaCl +H2

4. ทำปฏิกิริยากับเบสได้ เกลือ + น้ำ

            NaOH + HCl ===> NaCl + H2O

5. มีค่า power of Hydrogen ion (pH) น้อยกว่า 7

6. ทำปฏิกิริยากับสารประกอบคาร์บอเนตได้ก๊าซ CO2  และ น้ำ

            CaCO3 + HCl ===> CaCl2 + CO2 + H2O

7. กัดกร่อนโลหะ พลาสติก และสารอินทรีย์ทุกชนิด

 

เบส 

            เบส (base) หรือ ด่าง คือสารละลายที่มีรสขม เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากแดงเป็นน้ำเงิน หรือมีลักษณะลื่นๆ

สมบัติทั่วไปของสารละลายเบส

1. มีรสฝาด ขม เปลี่ยนกระดาษลิตมัสจาก แดง เป็น น้ำเงิน R ==> B เปลี่ยนสีฟีนอล์ฟทาลีนจากไม่มีสี เป็นสีชมพู

2. นำไฟฟ้าได้ (อิเล็กโตรไลท์ : electrolyte)

3. ทำปฏิกิริยากับโลหะอะลูมิเนียมได้ก๊าซ H2 เช่น  ก๊าซในลูกโป่งสวรรค์

                        6NaOH + 2Al ===> 2Na3AlO3 +3H2

4. ทำปฏิกิริยากับกรดได้ เกลือ + น้ำ

                        NaOH + HCl ===> NaCl + H2O

5. มีค่า power of Hydrogen ion (pH) มากกว่า 7

6. ทำปฏิกิริยากับสารประกอบแอมโมเนียม เช่น แอมโมเนียมคลอไรด์ ได้ เกลือ น้ำ และ ก๊าซ แอมโมเนีย

                        NaOH + NH4Cl ===> NaCl + H2O + NH3

7. กัดกร่อนแก้ว และสารอินทรีย์ทุกชนิด

8. ต้มกับไขมันได้ สบู่ นิยมใช้  NaOH ทำสบู่ก้อน ,  KOH ทำสบู่เหลว

 

ประเภทเบส                  

      1.  เบสแก่ คือเบสที่แตกตัวให้ OH- ได้ดี เช่น KOH , NaOH , Ca(OH)2เกิดปฏิกิริยาได้ดี เร็ว แรง

      2. เบสอ่อน คือเบสที่แตกตัวให้ OH- ได้ไม่ดี เช่น NH4OH , NH3

 

เกลือ (salt)

สมบัติทั่วไปของเกลือ

                        1. ส่วนมากมีลักษณะเป็นผลึกสีขาว เช่น  NaCl แต่มีหลายชนิดที่มีสี เช่น

                                    สีม่วง     ได้แก่     ด่างทับทิม(โปแตสเซียมเปอร์แมงกาเนต)            KMnO4

                                    สีน้ำเงิน   ได้แก่     จุนสี(คอปเปอร์ซัลเฟต)                                CuSO4.5H2O

                                    สีส้ม       ได้แก่     โปแตสเซียมโครเมต                                   KCr2O7

                                    สีเขียว     ได้แก่     ไอออน(II)ซัลเฟต                                      FeSO4.7H2O

                        2. มีหลายรส เช่น

                                    รสเค็ม    ได้แก่     เกลือแกง(โซเดียมคลอไรด์)                            NaCl

                                   รสฝาด    ได้แก่     สารส้ม                                                    K2SO4.Al2(SO4)3.24H2O

                                    รสขม     ได้แก่     โปแตสเซียมคลอไรด์ , แมกนีเซียมซัลเฟต          KCl, Mg SO4.7H2O

                         3. นำไฟฟ้าได้ (อิเล็กโตรไลท์ : electrolyte)

                         4. เมื่อละลายน้ำ อาจแสดงสมบัติเป็นกรด เบส หรือ กลางก็ได้

                         5. ไม่กัดกร่อนแก้วและเซอรามิก

 

เอกสารอ้างอิง

สมพงศ์ จันทร์ โพธิ์ศรี รศ.ดร วิทยาศาสตร์ 3 ไฮเอดพับลิชชิ่ง กรุงเทพมหานคร 2544

ธีรยุทธ วิไลวัลย์ ผศ.ดร.  และ วราวุฒิ ตั้งพสุธาดล ดร. สำรวจโลกวิทยาศาสตร์ ปฏิกิริยาทางเคมี  เพียสัน

เอ็ดดูเคชั่น  อินโดน่ากรุงเทพมหานคร 2545

ที่มา http://www.bloggang.com/data/nooyingja/picture/1227640243.gif

 

********************************************************

 

กรด - เบส คืออะไร


คู่กรด – เบส


ชนิดของกรดและเบส


ปฏิกิริยาของกรด - เบส


 ทดสอบความเป็นกรด-เบสกับวัสดุหาง่ายยุค IMF

กรด  เบส  เกลือ

 กรด,เบส, ค่า pH

สารละลายกรด เบส

กรด-เบส ที่พบในชีวิตประจำวัน


ความเป็นกรด-เบสของดิน

 อินดิเคเตอร์

การแตกตัวของกรด-เบสและน้ำ

กรดและเบสทำปฏิกิริยากัน

กรด

เบส

การไทเทรต กรดเบส


การรักษาสมดุลของกรด- เบสในมนุษย์

ลักษณะเฉพาะของเบส

นิยามกรด-เบส 

 

สร้างโดย: 
วชิราภรณ์ พอสม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 495 คน กำลังออนไลน์