กรด-เบสที่พบในชีวิตประจำวัน

กรด-เบส ที่พบในชีวิตประจำวัน

 


เราจะพบว่าตามธรรมชาติจะมีกรดและเบสอยู่ทั่วไปตามคุณสมบัตินั้น
สารที่เป็นกรดส่วนมากจะมีรสเปรี้ยวและมีฤทธิ์ในการกัดกร่อนสูง
เช่น มะนาวมีกรดซิตริกที่ทำให้มีรสเปรี้ยว ส่วนน้ำส้มสายชูมีกรดแอซีติก
ดังนั้นจึงไม่ควรที่จะทดสอบโดยการสัมผัส
ตามปกติ ค่า PH จะเป็นค่าที่ใช้วัดว่ามีความเป็นกรดหรือเบสมากน้อยเพียงใด
ค่า PH ที่เท่ากับ 7 คือสารมีคุณสมบัติเป็นกลาง ,
น้อยกว่า 7 จนถึง 0 คือสารมีคุณสมบัติเป็น กรด
และ มากกว่า 7 จนถึง 14 คือสารมีคุณสมบัติมีค่าเป็นเบส

โซเดียมไฮดรอกไซค์ 14.0
น้ำยาล้างทำความสะอาด 11.0
นมแมกนีเซียม 10.5
น้ำยาเช็ดกระจก 9.0
สารบอแรก 8.5
ผงฟู 8.0
น้ำเปล่าบริสุทธ์ 7.0
สบู่มะนาว 6.0
ยาแอสไพริน 5.0
มะเขือเทศ 4.5
เบียร์และน้ำโทนิก 4.0
แอปเปิ้ล 3.0
น้ำส้มสายชู 2.2
น้ำมะนาว 2.0
กรดไฮโดรคลอริก 0.0

กรด   >  นำไปใช้ทำน้ำหอมได้   โดยกรดคาร์บอกซิลิกเมื่อทำปฏิกิริยากับแอลกอฮอล์
จะเกิดน้ำหอม  เรียกว่า  ปฏิกิริยา  Esterification
เบส   >   ใช้ทำสบู่ ,   ผงซักฟอก

 

 


*   การเกิดสบู่    >   จากปฏิกิริยา  Saponification   โดยไขมันทำปฏิกิริยากับเบสได้ 
กลีเซอรอลและ สบู่  ( เกลือของกรดไขมัน )
*   โครงสร้างของสบู่      ส่วนที่ละลายน้ำ  (มีขั้ว)
ส่วนที่ละลายในน้ำมัน  (ไม่มีขั้ว)

 

*    การทำงานของสบู่
สบู่ทำงานโดยหันด้านที่มีขั้วละลายในน้ำ และ ด้านที่ไม่มีขั้วจะล้อมรอบหยดน้ำมัน
หรือสิ่งสกปรก   ทำให้สิ่งสกปรกหลุดออกมา และ แพร่กระจายในน้ำในรูปอิมัลชั่น
เรียกการจัดเรียงตัวแบบนี้ว่า  ไมเซลล์ หรือ กลุ่มสบู่
*     สบู่กับน้ำกระด้าง
น้ำกระด้างจะมี  Ca   ,  Mg     ไอออนทั้ง  2  ชนิดเข้าไปแทนที่  Na  ในสบู่
เกิดสารประกอบที่ไม่ละลายน้ำ เป็นฝ้าขาว  เรียกว่า  ไคลสบู่
*      ผงซักฟอก   ข้อดี คือ  ช่วยลดแรงตึงผิวน้ำ และ เกิดฟองกับน้ำง่าย 
  สังเคราะห์ได้จาก
1.   แอลกอฮอล์ ทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก
2.   ผลิตภัณฑ์ของสารปิโตรเลียมกับกรดซัลฟิวริก
โครงสร้างของผงซักฟอกต่างกับสบู่ที่ว่า  ตรงปลายด้านมีขั้วเป็นหมู่  Sulfunyl 
ส่วนสบู่เป็น  Carbonyl                                                                  O
/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\-C – O  Na

o
/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\/\-O – S – O  Na

*       ปัญหาผงซักฟอก
1.    สลายตัวยากมีปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม
2.    สารพวกฟอสเฟตเป็นปุ๋ยชั้นดีให้พืชน้ำเติบโตเร็วมาก 
เมื่อพืชน้ำตายจะเกิดการย่อยสลายใช้ออกซิเจนมาก  ทำให้น้ำขาดออกซิเจนและเน่า
*      การตรวจสอบปริมาณฟอสเฟตในน้ำ 
  >  เติมสารละลายแอมโมเนียมโมลิบเดต  (NH4)2 MoO4
จะได้ตะกอนสีเหลือง

ที่มา http://udata2.postjung.com/udata/0/765/765436/upic-617.gif

 

*********************************************

 

กรด - เบส คืออะไร


คู่กรด – เบส


ชนิดของกรดและเบส


ปฏิกิริยาของกรด - เบส


 ทดสอบความเป็นกรด-เบสกับวัสดุหาง่ายยุค IMF

กรด  เบส  เกลือ

 กรด,เบส, ค่า pH

สารละลายกรด เบส

กรด-เบส ที่พบในชีวิตประจำวัน


ความเป็นกรด-เบสของดิน

 อินดิเคเตอร์

การแตกตัวของกรด-เบสและน้ำ

กรดและเบสทำปฏิกิริยากัน

กรด

เบส

การไทเทรต กรดเบส


การรักษาสมดุลของกรด- เบสในมนุษย์

ลักษณะเฉพาะของเบส

นิยามกรด-เบส

สร้างโดย: 
วชิราภรณ์ พอสม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 438 คน กำลังออนไลน์