• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8883385e7d534e63ddf4f9c3086cb97c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ทดสอบความเป็นกรด-เบสกับวัสดุหาง่ายยุค IMF</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\nคุณครูหลายท่านและหลายโรงเรียนมักประสบปัญหาในเรื่องวัสดุอุปกรณ์ ที่จะใช้ประกอบการทำกิจกรรม เนื่องจากงบประมาณไม่เพียงพอ โดยเฉพาะ ในยุค IMF แล้วงบประมาณต่างๆ ก็ถูกตัดไปมาก แต่การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ยังคงต้องดำเนินต่อไปโดยต้องยังคงไว้ซึ่งความสนุกสนาน แก้ปัญหาและค้นคว้า ลงมือกระทำและตัดสินใจด้วยตนเอง\n</p>\n<p align=\"center\">\nผู้เขียนเคยเสนอวัสดุอุปกรณ์หลายอย่างที่หาได้ในบ้าน ริมทางที่เดินผ่าน ไว้ในเอกสารฉบับก่อนๆ แล้ว ในฉบับนี้ขอเสนอพืชบางชนิดที่สามารถนำมาใช้ในการ ทดสอบความเป็นกรด-เบสของสารต่างๆในบ้านแทนกระดาษลิตมัสสีแดง สีน้ำเงิน\n</p>\n<p align=\"center\">\nพืชที่นำมาใช้ทดสอบความเป็นกรด-เบสได้ เช่น กระหล่ำปลีสีม่วง โดยเด็ด ใบกระหล่ำปลีแล้วหั่นหรือบด เติมน้ำร้อนลงไปจนท่วม รอจนน้ำเป็นสีม่วง กรอง ตักกระหล่ำปลีออก นำน้ำกระหล่ำปลีที่ได้ใส่ขวดแก้วขนาดเล็กแล้วนำไป ทดสอบความเป็นกรด-เบส สังเกตการเปลี่ยนแปลงของสีของสารที่สกัดได้จากกระหล่ำ ปลีสีม่วง\n</p>\n<p align=\"center\">\nนอกจากกระหล่ำปลีสีม่วงแล้ว ยังอาจใช้ดอกไม้ที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นมาทด สอบได้ เช่น กล้วยไม้มาดาม อัญชันน้ำเงิน เป็นต้น โดยนำมาสกัดเช่นเดียว กันกระหล่ำปลีสีม่วง<br />\nอย่างไรก็ตามดอกไม้บางชนิด เช่น เข็มแดง ถ้าใช้ น้ำร้อนสกัดอาจไม่ได้ผลเนื่องจากมียาง การใช้แอลกอฮอล์สกัดจะได้ผลดีกว่า โดยใช้ดอกเข็มแดงที่หั่นแล้วลงในแอลกอฮอล์ ซึ่งบรรจุในขวดเล็กๆ แล้วกรอง เอากากออก\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u19694/yyyyyyyyyyyyy.jpg\" height=\"225\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา <a href=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm\">http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\nก่อนนำสารที่สกัดได้จากพืชไปทดสอบสารต่างๆ ว่าสารใดเป็นกรด และสารใดเป็นเบส โดยการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสีของสารที่สกัด นั้นควรทดสอบและสังเกตสีที่เกิดขึ้นด้วยการทดสอบกับสารที่ทราบแน่ ชัดว่าเป็นกรดหรือเป็นเบส เช่น น้ำมะมาว ซึ่งเป็นกรด สารละลาย ผงฟู ซึ่งเป็นเบส แล้วจึงนำไปทดสอบกับสารต่างๆ เช่น ถ้าทดสอบ <br />\nกับสารใดแล้วได้สีคล้ายกับเมื่อทดสอบกับมะนาว แสดงว่าสารนั้นมี สมบัติเป็นกรด และถ้าทดสอบแล้วได้สีคล้ายกับเมื่อทดสอบกับสารละลาย ผงฟู แสดงว่าสารนั้นมีสมบัติเป็นเบส\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"561\" src=\"/files/u19694/ytytyttyt.gif\" height=\"107\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nสารที่สกัดได้ถ้าเหลือใช้แล้ว ครูอาจตัดกระดาษกรองเป็นชิ้นยาว (ขนาดกระดาษลิตมัส) ไว้หลายๆ ชิ้นแล้วจุ่มลงในสารที่สกัดได้นั้น นำ ขึ้นมาตากให้แห้ง แล้วเก็บไว้ใช้ทดสอบความเป็นกรด-เบส ต่อไปได้ อย่างไร ก็ตามก่อนใช้ควรตัดออกเป็นชิ้นเล็กๆ เพื่อเป็นการประหยัด\n</p>\n<p align=\"center\">\nเป็นอย่างไรคะ วัสดุที่เสนอนี้คงหาได้ง่ายและมีวิธีการทำที่ไม่ยาก นักเรียนก็ทำเองได้ คุณครูลองสกัดสารจากพืชอื่นๆ อีกในบ้านหรือในท้องถิ่น คุณครูอาจพบพืชอีกมากมายที่นำมาใช้ตรวจสอบความเป็นกรด-เบส ของสารต่างๆได้\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"http://www.bloggang.com/data/nooyingja/picture/1228329538.gif\" height=\"200\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา <a href=\"http://www.bloggang.com/data/nooyingja/picture/1228329538.gif\">http://www.bloggang.com/data/nooyingja/picture/1228329538.gif</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n*****************************************\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42578\">กรด - เบส คืออะไร </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"/node/42579\">คู่กรด – เบส </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"/node/42580\">ชนิดของกรดและเบส</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"/node/42581\">ปฏิกิริยาของกรด - เบส</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n <a href=\"/node/42619\">ทดสอบความเป็นกรด-เบสกับวัสดุหาง่ายยุค IMF</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42662\">กรด  เบส  เกลือ</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"/node/42885\">กรด,เบส, ค่า pH </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42899\">สารละลายกรด เบส</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42903\">กรด-เบส ที่พบในชีวิตประจำวัน</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"/node/43481\">ความเป็นกรด-เบสของดิน </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"/node/44056\">อินดิเคเตอร์ </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44057\">การแตกตัวของกรด-เบสและน้ำ</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44059\">กรดและเบสทำปฏิกิริยากัน</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44060\">กรด </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44061\">เบส </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44201\">การไทเทรต กรดเบส </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"/node/44226\">การรักษาสมดุลของกรด- เบสในมนุษย์</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44227\">ลักษณะเฉพาะของเบส</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44742\">นิยามกรด-เบส <br />\n</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1714848884, expire = 1714935284, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8883385e7d534e63ddf4f9c3086cb97c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ทดสอบความเป็นกรด-เบส

ทดสอบความเป็นกรด-เบสกับวัสดุหาง่ายยุค IMF


คุณครูหลายท่านและหลายโรงเรียนมักประสบปัญหาในเรื่องวัสดุอุปกรณ์ ที่จะใช้ประกอบการทำกิจกรรม เนื่องจากงบประมาณไม่เพียงพอ โดยเฉพาะ ในยุค IMF แล้วงบประมาณต่างๆ ก็ถูกตัดไปมาก แต่การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ยังคงต้องดำเนินต่อไปโดยต้องยังคงไว้ซึ่งความสนุกสนาน แก้ปัญหาและค้นคว้า ลงมือกระทำและตัดสินใจด้วยตนเอง

ผู้เขียนเคยเสนอวัสดุอุปกรณ์หลายอย่างที่หาได้ในบ้าน ริมทางที่เดินผ่าน ไว้ในเอกสารฉบับก่อนๆ แล้ว ในฉบับนี้ขอเสนอพืชบางชนิดที่สามารถนำมาใช้ในการ ทดสอบความเป็นกรด-เบสของสารต่างๆในบ้านแทนกระดาษลิตมัสสีแดง สีน้ำเงิน

พืชที่นำมาใช้ทดสอบความเป็นกรด-เบสได้ เช่น กระหล่ำปลีสีม่วง โดยเด็ด ใบกระหล่ำปลีแล้วหั่นหรือบด เติมน้ำร้อนลงไปจนท่วม รอจนน้ำเป็นสีม่วง กรอง ตักกระหล่ำปลีออก นำน้ำกระหล่ำปลีที่ได้ใส่ขวดแก้วขนาดเล็กแล้วนำไป ทดสอบความเป็นกรด-เบส สังเกตการเปลี่ยนแปลงของสีของสารที่สกัดได้จากกระหล่ำ ปลีสีม่วง

นอกจากกระหล่ำปลีสีม่วงแล้ว ยังอาจใช้ดอกไม้ที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นมาทด สอบได้ เช่น กล้วยไม้มาดาม อัญชันน้ำเงิน เป็นต้น โดยนำมาสกัดเช่นเดียว กันกระหล่ำปลีสีม่วง
อย่างไรก็ตามดอกไม้บางชนิด เช่น เข็มแดง ถ้าใช้ น้ำร้อนสกัดอาจไม่ได้ผลเนื่องจากมียาง การใช้แอลกอฮอล์สกัดจะได้ผลดีกว่า โดยใช้ดอกเข็มแดงที่หั่นแล้วลงในแอลกอฮอล์ ซึ่งบรรจุในขวดเล็กๆ แล้วกรอง เอากากออก

ที่มา http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm

ก่อนนำสารที่สกัดได้จากพืชไปทดสอบสารต่างๆ ว่าสารใดเป็นกรด และสารใดเป็นเบส โดยการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสีของสารที่สกัด นั้นควรทดสอบและสังเกตสีที่เกิดขึ้นด้วยการทดสอบกับสารที่ทราบแน่ ชัดว่าเป็นกรดหรือเป็นเบส เช่น น้ำมะมาว ซึ่งเป็นกรด สารละลาย ผงฟู ซึ่งเป็นเบส แล้วจึงนำไปทดสอบกับสารต่างๆ เช่น ถ้าทดสอบ
กับสารใดแล้วได้สีคล้ายกับเมื่อทดสอบกับมะนาว แสดงว่าสารนั้นมี สมบัติเป็นกรด และถ้าทดสอบแล้วได้สีคล้ายกับเมื่อทดสอบกับสารละลาย ผงฟู แสดงว่าสารนั้นมีสมบัติเป็นเบส

 

สารที่สกัดได้ถ้าเหลือใช้แล้ว ครูอาจตัดกระดาษกรองเป็นชิ้นยาว (ขนาดกระดาษลิตมัส) ไว้หลายๆ ชิ้นแล้วจุ่มลงในสารที่สกัดได้นั้น นำ ขึ้นมาตากให้แห้ง แล้วเก็บไว้ใช้ทดสอบความเป็นกรด-เบส ต่อไปได้ อย่างไร ก็ตามก่อนใช้ควรตัดออกเป็นชิ้นเล็กๆ เพื่อเป็นการประหยัด

เป็นอย่างไรคะ วัสดุที่เสนอนี้คงหาได้ง่ายและมีวิธีการทำที่ไม่ยาก นักเรียนก็ทำเองได้ คุณครูลองสกัดสารจากพืชอื่นๆ อีกในบ้านหรือในท้องถิ่น คุณครูอาจพบพืชอีกมากมายที่นำมาใช้ตรวจสอบความเป็นกรด-เบส ของสารต่างๆได้

ที่มา http://www.bloggang.com/data/nooyingja/picture/1228329538.gif

 

*****************************************

 

กรด - เบส คืออะไร


คู่กรด – เบส


ชนิดของกรดและเบส


ปฏิกิริยาของกรด - เบส


 ทดสอบความเป็นกรด-เบสกับวัสดุหาง่ายยุค IMF

กรด  เบส  เกลือ

 กรด,เบส, ค่า pH

สารละลายกรด เบส

กรด-เบส ที่พบในชีวิตประจำวัน


ความเป็นกรด-เบสของดิน

 อินดิเคเตอร์

การแตกตัวของกรด-เบสและน้ำ

กรดและเบสทำปฏิกิริยากัน

กรด

เบส

การไทเทรต กรดเบส


การรักษาสมดุลของกรด- เบสในมนุษย์

ลักษณะเฉพาะของเบส

นิยามกรด-เบส

 


 

 

สร้างโดย: 
วชิราภรณ์ พอสม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 502 คน กำลังออนไลน์