• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7a5583459ec1993652d0be9658c62b0b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"64\" width=\"324\" src=\"/files/u31262/Law2.jpg\" alt=\"กฎหมายรัฐธรรมนูญ\" border=\"0\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n  <a href=\"/node/87426\"><img height=\"65\" width=\"200\" src=\"/files/u44341/Mean_Mean.jpg\" alt=\"ความหมาย\" border=\"0\" /></a><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><a href=\"/node/73905\"></a></span>  <a href=\"/node/87561\"><img height=\"65\" width=\"200\" src=\"/files/u44341/pavat_0.jpg\" alt=\"ประวัติความเป็นมา\" border=\"0\" /></a><span style=\"color: #00ccff\"><a href=\"/node/75035\"></a></span> <a href=\"/node/87569\"><img height=\"65\" width=\"200\" src=\"/files/u44341/important_0.jpg\" alt=\"ความสำคัญ\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/76817\"></a>    <a href=\"/node/87572\"><img height=\"65\" width=\"200\" src=\"/files/u44341/KaNang_0.jpg\" alt=\"แขนงของกฎหมาย\" border=\"0\" /></a><span style=\"color: #00ccff\"> <a href=\"/node/87578\"><img height=\"65\" width=\"200\" src=\"/files/u44341/differentMaHa_0.jpg\" alt=\"ความแตกต่างกฎหมายมหาชน&amp;เอกชน\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/76825\"></a> <a href=\"/node/87585\"><img height=\"65\" width=\"200\" src=\"/files/u44341/MaHacHon_0.jpg\" alt=\"กฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายมหาชน\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/76828\"></a>   <a href=\"/node/89439\"><img height=\"65\" width=\"200\" src=\"/files/u44341/1-6_3.jpg\" alt=\"รัฐธรรมนูญฉบับที่1-6\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75734\"></a> <a href=\"/node/89668\"><img height=\"65\" width=\"200\" src=\"/files/u44341/7-12_0.jpg\" alt=\"ฉบับที่7-12\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75764\"></a></span></span> <a href=\"/node/90163\"><img height=\"65\" width=\"200\" src=\"/files/u44341/13-18.jpg\" alt=\"รัฐธรรมนูญฉบับที่13-18\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75778\"></a> <a href=\"/node/86208\"><img height=\"65\" width=\"200\" src=\"/files/u44341/_copy_0.jpg\" alt=\"แบบทดสอบ\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/90285\"><img height=\"65\" width=\"200\" src=\"/files/u44341/anging.jpg\" alt=\"แหล่งอ้างอิง\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/80693\"></a> <a href=\"/node/90286\"><img height=\"65\" width=\"200\" src=\"/files/u44341/i_and_me.jpg\" alt=\"ผู้จัดทำ\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/77471\"></a> <img height=\"30\" width=\"600\" src=\"/files/u31262/f74.gif\" border=\"0\" />  \n</p>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"75\" width=\"355\" src=\"/files/u44341/MaHacHon1.jpg\" alt=\"กฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายมหาชน\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #00ccff\"><strong>     กฎหมายรัฐธรรมนูญ(ซึ่งรวมถึงกฎหมายทั้งหลายเกี่ยวกับกฎเกณฑ์การปกครองประเทศ) เป็นกฎหมายสาขามหาชน ซึ่งแยกออกได้เป็นกฎหมายระหว่างประเทศกับกฎหมายภายใน กฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายมหาชนภายในเพราะคือกฎหมายที่ว่าด้วยความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับพลเมืองของรัฐนั่นเอง</strong></span>\n</p>\n<p>\n<strong>     <span style=\"color: #ff9900\">หากกฎหมายปกครองเป็นกฎหมายมหาชนในส่วนที่ใช้กับเจ้าหน้าที่ องค์การสาธารณะ กิจกรรมของเจ้าหน้าที่ และองค์การเหล่านี้ รวมตลอดถึงความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่ และองค์การเหล่านี้กับผู้อยู่ใต้ปกครอง กฎหมายรัฐธรรมนูญก็เป็นกฎหมายมหาชนในส่วนที่เกี่ยวกับการจัดตั้ง และการดำเนินการของสถาบันทางการเมืองของรัฐ เมื่อเป็นเช่นนี้ กฎหมายมหาชน กับ รัฐศาสตร์ จึงเป็นสิ่งที่เกี่ยวพันกันอย่างลึกซึ้งแยกจากกันไม่ได้ เพราะที่มาทางปรัชญาเป็นที่มาเดียวกัน และการศึกษาก็ศึกษาเรื่องเดียวกัน เพียงแต่มองต่างมุมกันเท่านั้น </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>     <span style=\"color: #ff99cc\">ศาสตราจารย์ ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ  มองว่า ถ้ารัฐศาสตร์ศึกษาถึง เกมการเมือง หรือ เกมแห่งอำนาจ วิชากฎหมายมหาชนว่าด้วยกฎหมายรัฐธรรมนูญ ก็จะศึกษาถึง กติกาของเกมการเมือง หรือ กติกาของเกมแห่งอำนาจ นั่นเอง  ฉะนั้น ผู้ศึกษาพึงจะต้องระลึกอยู่เสมอว่า ในการศึกษาวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญนี้ จำเป็นที่จะต้องศึกษาถึง รัฐศาสตร์ ด้วยเช่นกันเสมอ</span></strong>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"155\" width=\"235\" src=\"/files/u44341/Bovasak.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #cc99ff; font-size: medium\"><strong>ศาสตราจารย์ ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ</strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\">ที่มา : </span></strong><a href=\"http://e-learning.mfu.ac.th/mflu/1604101/chapter1/Lesson1.htm\"><strong><span style=\"color: #cc99ff\">http://e-learning.mfu.ac.th/mflu/1604101/chapter1/Lesson1.htm</span></strong></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/84777\"><img height=\"82\" width=\"150\" src=\"/files/u31262/icon_home.jpg\" alt=\"หน้าแรก\" border=\"0\" /></a> \n</p>\n', created = 1720080210, expire = 1720166610, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7a5583459ec1993652d0be9658c62b0b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายมหาชน

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

  ความหมาย  ประวัติความเป็นมา ความสำคัญ    แขนงของกฎหมาย ความแตกต่างกฎหมายมหาชน&เอกชน กฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายมหาชน   รัฐธรรมนูญฉบับที่1-6 ฉบับที่7-12 รัฐธรรมนูญฉบับที่13-18 แบบทดสอบ แหล่งอ้างอิง ผู้จัดทำ   

กฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายมหาชน

     กฎหมายรัฐธรรมนูญ(ซึ่งรวมถึงกฎหมายทั้งหลายเกี่ยวกับกฎเกณฑ์การปกครองประเทศ) เป็นกฎหมายสาขามหาชน ซึ่งแยกออกได้เป็นกฎหมายระหว่างประเทศกับกฎหมายภายใน กฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายมหาชนภายในเพราะคือกฎหมายที่ว่าด้วยความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับพลเมืองของรัฐนั่นเอง

     หากกฎหมายปกครองเป็นกฎหมายมหาชนในส่วนที่ใช้กับเจ้าหน้าที่ องค์การสาธารณะ กิจกรรมของเจ้าหน้าที่ และองค์การเหล่านี้ รวมตลอดถึงความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าที่ และองค์การเหล่านี้กับผู้อยู่ใต้ปกครอง กฎหมายรัฐธรรมนูญก็เป็นกฎหมายมหาชนในส่วนที่เกี่ยวกับการจัดตั้ง และการดำเนินการของสถาบันทางการเมืองของรัฐ เมื่อเป็นเช่นนี้ กฎหมายมหาชน กับ รัฐศาสตร์ จึงเป็นสิ่งที่เกี่ยวพันกันอย่างลึกซึ้งแยกจากกันไม่ได้ เพราะที่มาทางปรัชญาเป็นที่มาเดียวกัน และการศึกษาก็ศึกษาเรื่องเดียวกัน เพียงแต่มองต่างมุมกันเท่านั้น

     ศาสตราจารย์ ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ  มองว่า ถ้ารัฐศาสตร์ศึกษาถึง เกมการเมือง หรือ เกมแห่งอำนาจ วิชากฎหมายมหาชนว่าด้วยกฎหมายรัฐธรรมนูญ ก็จะศึกษาถึง กติกาของเกมการเมือง หรือ กติกาของเกมแห่งอำนาจ นั่นเอง  ฉะนั้น ผู้ศึกษาพึงจะต้องระลึกอยู่เสมอว่า ในการศึกษาวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญนี้ จำเป็นที่จะต้องศึกษาถึง รัฐศาสตร์ ด้วยเช่นกันเสมอ

ศาสตราจารย์ ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ

ที่มา : http://e-learning.mfu.ac.th/mflu/1604101/chapter1/Lesson1.htm

หน้าแรก 

สร้างโดย: 
นายธานินทร์ พร้อมสุข และ นางสาวภาชินี ผลงามเนตรอรุณ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 595 คน กำลังออนไลน์