• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:85fcbd757aee237a82f2d663c8cda810' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #cc99ff\"></span></span></span></strong></p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"><a href=\"/node/75778/\"></a><a href=\"/node/90163\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/13.jpg\" alt=\"ฉบับที่13\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/90164\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/14.jpg\" alt=\"ฉบับที่14\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75780\"></a></span></strong> <a href=\"/node/90165\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/15.jpg\" alt=\"ฉบับที่15\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75782/\"></a><a href=\"/node/90166\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/16.jpg\" alt=\"ฉบับที่16\" border=\"0\" /></a><span style=\"color: #cc99ff\"><a href=\"/node/76121\"></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"><a href=\"/node/76349\"></a><a href=\"/node/90167\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/17.jpg\" alt=\"ฉบับที่17\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/90168\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/18.jpg\" alt=\"ฉบับที่18\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/76352\"></a></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"14\" width=\"364\" src=\"/files/u44341/f86.gif\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #ff99cc\"><img height=\"83\" width=\"309\" src=\"/files/u44341/16-2.jpg\" alt=\"ฉบับที่16\" border=\"0\" /> </span></span></strong>\n</p>\n<p><span><span style=\"color: #ff99cc\"><strong><span style=\"color: #ff99cc\">                                                   ฉบับที่16 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540</span> <span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span></strong></span><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"> </span></span></p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">           <span style=\"color: #00ccff\">รากฐานที่มาของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปีพุทธศักราช 2540 ถือกำเนิดมาบนแนวความคิดในการปฏิรูปการเมืองไทย (political reform) เริ่มจากการเรียกร้องของประชาชนให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2534 ในมาตรา 211 เพื่อเปิดทางให้มีกระบวนการยกร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ในรูปแบบที่ปลอดจากอำนาจของผู้ปกครองและสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนเข้ามาแทนที่ </span></span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ccff\">นับตั้งแต่การสรรหาสภาร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน 99 คน อันประกอบด้วย สมาชิก 2 ประเภท ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยทางอ้อม</span></span> </strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ccff\"><strong>        ประเภทแรก คือ เป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งจากจังหวัดต่างๆ โดยขั้นแรกให้ผู้สมัครเลือกกันเองให้เหลือจังหวัดละ 10 คน จากนั้นจึงให้รัฐสภาลงคะแนนเลือกตั้งให้เหลือเป็นตัวแทนของประชาชนเพียงจังหวัดละ 1 คน จำนวน 76 คน จากทั้ง 76 จังหวัด และ อีกประเภทที่สอง คือ ให้สภาสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ที่มีการให้ปริญญาสาขานิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ เสนอบัญชีรายชื่อบุคคลผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ และผู้ที่มีประสบการณ์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องต่อประธานรัฐสภา เพื่อนำเสนอให้รัฐสภาทำการเลือกให้ได้จำนวนตามที่กำหนด ก็คือ ผู้เชี่ยวชาญสาขากฎหมายมหาชนจำนวน 8 คน ผู้เชี่ยวชาญสาขารัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ จำนวน 8 คน ผู้มีประสบการณ์ด้านการเมือง การบริหารราชการแผ่นดิน การร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน 7 คน รวม 23 คน พอสรุปได้ว่า </strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ccff\">        สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญทั้งหมด 99 คนนี้ ล้วนแล้วแต่ได้รับเลือกมาจากรัฐสภา ซึ่งก็คือ ที่ประชุมร่วมกันของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาทั้งสิ้น ฉะนั้น จึงเรียกได้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับใหม่นี้ร่างโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ โดยความเห็นชอบของสมาชิกรัฐสภาในขณะนั้น สภาร่างรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่รับฟังความคิดเห็นประชาชน และยกร่างรัฐธรรมนูญตามความต้องการของประชาชน และเสนอให้รัฐสภารับรองโดยไม่มีการแก้ไข ในที่สุด ซึ่งตลอดระยะเวลาของกระบวนการยกร่างไปจนกระทั่งถึงการรับรองรัฐธรรมนูญฉบับนี้ เพื่อออกประกาศใช้นั้น ถือว่าประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมด้วยมากที่สุดเท่าที่เคยมีมาในประวัติศาสตร์การเมืองไทย</span></span> </strong>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><strong>        รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่งดำเนินการร่างโดย สภาร่างรัฐธรรมนูญ มีเจตนารมณ์หลักในการปฏิรูปการเมืองไทย โดยมุ่งหวังที่จะแก้ไขปัญหาของระบบการเมืองไทยดังที่ได้แสดงเอาไว้แล้วก่อนหน้านี้ สามารถสรุปได้ 3 ประการ ดังนี้</strong></span><span style=\"color: #ff9900\"> </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff9900\"><span><strong><span>         1) ปรับเปลี่ยนการเมืองของนักการเมืองหรือประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนซึ่งเป็นต้นตอของปัญหาต่างๆมากมายให้เป็นการเมืองของพลเมืองหรือประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม เนื่องจากว่าการเมืองก่อนการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่นั้น พลเมืองมีสิทธิและเสรีภาพน้อยมาก และไม่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจทางการเมืองเลย</span></strong></span> </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span><strong><span style=\"color: #ff9900\">         2) ทำให้ระบบการเมืองตลอดจนระบบราชการมีความสุจริต และมีความชอบธรรมในการใช้อำนาจ เพื่อป้องกันการซื้อสิทธิขายเสียงในการเลือกตั้งทุกระดับ เพื่อให้ได้การเลือกตั้งที่บริสุทธิ์ยุติธรรม เนื่องจากการเมืองการปกครองไทยที่ผ่านมานั้นเต็มไปด้วยความไม่สุจริตของระบบการเมืองซึ่งทำให้ฝ่ายการเมืองขาดความชอบธรรมในการใช้อำนาจ เพราะว่านักการเมืองที่มาจากการซื้อสิทธิขายเสียงนั้นเมื่อได้เข้ามาดำรงตำแหน่งแล้วก็มักจะใช้อำนาจในตำแหน่งโดยไม่สุจริตเพื่อถอนทุนคืน ประกอบกับระบบควบคุมตรวจสอบการใช้อำนาจในอดีตมีไม่ครบถ้วน และไม่มีประสิทธิภาพ จึงทำให้เกิดการทุจริตได้ง่าย และไม่สามารถกำจัดคนทุจริตได้ อันเป็นที่มาของปัญหาการรัฐประหารในอดีต </span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span><strong><span style=\"color: #ff9900\">         3) คือ การทำให้รัฐบาลมีเสถียรภาพ นายกรัฐมนตรีมีภาวะความเป็นผู้นำ และทำให้รัฐสภามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อแก้ปัญหาบ้านเมืองได้อย่างแท้จริง ภายใต้บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ได้มีการนำหลักการใหม่หลายๆหลักการมาบัญญัติไว้</span></strong></span><span style=\"color: #ff9900\"><span><strong> </strong></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff9900\"><span><a href=\"/node/84777\"></a></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"82\" width=\"150\" src=\"/files/u31262/icon_home.jpg\" alt=\"หน้าแรก\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715318431, expire = 1715404831, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:85fcbd757aee237a82f2d663c8cda810' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b238b05709337d46dafb696108a03fba' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"color: #cc99ff\"></span></span></span></strong></p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"><a href=\"/node/75778/\"></a><a href=\"/node/90163\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/13.jpg\" alt=\"ฉบับที่13\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/90164\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/14.jpg\" alt=\"ฉบับที่14\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75780\"></a></span></strong> <a href=\"/node/90165\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/15.jpg\" alt=\"ฉบับที่15\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75782/\"></a><a href=\"/node/90166\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/16.jpg\" alt=\"ฉบับที่16\" border=\"0\" /></a><span style=\"color: #cc99ff\"><a href=\"/node/76121\"></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"><a href=\"/node/76349\"></a><a href=\"/node/90167\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/17.jpg\" alt=\"ฉบับที่17\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/90168\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/18.jpg\" alt=\"ฉบับที่18\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/76352\"></a></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"14\" width=\"364\" src=\"/files/u44341/f86.gif\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #ff99cc\"><img height=\"83\" width=\"309\" src=\"/files/u44341/16-2.jpg\" alt=\"ฉบับที่16\" border=\"0\" /> </span></span></strong>\n</p>\n<p><span><span style=\"color: #ff99cc\"><strong><span style=\"color: #ff99cc\">                                                   ฉบับที่16 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540</span> <span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span></strong></span><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"><span lang=\"TH\"> </span></span></p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">           <span style=\"color: #00ccff\">รากฐานที่มาของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปีพุทธศักราช 2540 ถือกำเนิดมาบนแนวความคิดในการปฏิรูปการเมืองไทย (political reform) เริ่มจากการเรียกร้องของประชาชนให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2534 ในมาตรา 211 เพื่อเปิดทางให้มีกระบวนการยกร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ในรูปแบบที่ปลอดจากอำนาจของผู้ปกครองและสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนเข้ามาแทนที่ </span></span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ccff\">นับตั้งแต่การสรรหาสภาร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน 99 คน อันประกอบด้วย สมาชิก 2 ประเภท ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยทางอ้อม</span></span> </strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ccff\"><strong>        ประเภทแรก คือ เป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งจากจังหวัดต่างๆ โดยขั้นแรกให้ผู้สมัครเลือกกันเองให้เหลือจังหวัดละ 10 คน จากนั้นจึงให้รัฐสภาลงคะแนนเลือกตั้งให้เหลือเป็นตัวแทนของประชาชนเพียงจังหวัดละ 1 คน จำนวน 76 คน จากทั้ง 76 จังหวัด และ อีกประเภทที่สอง คือ ให้สภาสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ที่มีการให้ปริญญาสาขานิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ เสนอบัญชีรายชื่อบุคคลผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ และผู้ที่มีประสบการณ์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องต่อประธานรัฐสภา เพื่อนำเสนอให้รัฐสภาทำการเลือกให้ได้จำนวนตามที่กำหนด ก็คือ ผู้เชี่ยวชาญสาขากฎหมายมหาชนจำนวน 8 คน ผู้เชี่ยวชาญสาขารัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ จำนวน 8 คน ผู้มีประสบการณ์ด้านการเมือง การบริหารราชการแผ่นดิน การร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน 7 คน รวม 23 คน พอสรุปได้ว่า </strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #00ccff\">        สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญทั้งหมด 99 คนนี้ ล้วนแล้วแต่ได้รับเลือกมาจากรัฐสภา ซึ่งก็คือ ที่ประชุมร่วมกันของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาทั้งสิ้น ฉะนั้น จึงเรียกได้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับใหม่นี้ร่างโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ โดยความเห็นชอบของสมาชิกรัฐสภาในขณะนั้น สภาร่างรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่รับฟังความคิดเห็นประชาชน และยกร่างรัฐธรรมนูญตามความต้องการของประชาชน และเสนอให้รัฐสภารับรองโดยไม่มีการแก้ไข ในที่สุด ซึ่งตลอดระยะเวลาของกระบวนการยกร่างไปจนกระทั่งถึงการรับรองรัฐธรรมนูญฉบับนี้ เพื่อออกประกาศใช้นั้น ถือว่าประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมด้วยมากที่สุดเท่าที่เคยมีมาในประวัติศาสตร์การเมืองไทย</span></span> </strong>\n</p>\n', created = 1715318431, expire = 1715404831, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b238b05709337d46dafb696108a03fba' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฉบับที่16

ฉบับที่13 ฉบับที่14 ฉบับที่15ฉบับที่16

ฉบับที่17 ฉบับที่18

 

ฉบับที่16 

                                                   ฉบับที่16 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 

           รากฐานที่มาของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปีพุทธศักราช 2540 ถือกำเนิดมาบนแนวความคิดในการปฏิรูปการเมืองไทย (political reform) เริ่มจากการเรียกร้องของประชาชนให้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2534 ในมาตรา 211 เพื่อเปิดทางให้มีกระบวนการยกร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ในรูปแบบที่ปลอดจากอำนาจของผู้ปกครองและสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนเข้ามาแทนที่ นับตั้งแต่การสรรหาสภาร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน 99 คน อันประกอบด้วย สมาชิก 2 ประเภท ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยทางอ้อม

        ประเภทแรก คือ เป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งจากจังหวัดต่างๆ โดยขั้นแรกให้ผู้สมัครเลือกกันเองให้เหลือจังหวัดละ 10 คน จากนั้นจึงให้รัฐสภาลงคะแนนเลือกตั้งให้เหลือเป็นตัวแทนของประชาชนเพียงจังหวัดละ 1 คน จำนวน 76 คน จากทั้ง 76 จังหวัด และ อีกประเภทที่สอง คือ ให้สภาสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ที่มีการให้ปริญญาสาขานิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ เสนอบัญชีรายชื่อบุคคลผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ และผู้ที่มีประสบการณ์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องต่อประธานรัฐสภา เพื่อนำเสนอให้รัฐสภาทำการเลือกให้ได้จำนวนตามที่กำหนด ก็คือ ผู้เชี่ยวชาญสาขากฎหมายมหาชนจำนวน 8 คน ผู้เชี่ยวชาญสาขารัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ จำนวน 8 คน ผู้มีประสบการณ์ด้านการเมือง การบริหารราชการแผ่นดิน การร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน 7 คน รวม 23 คน พอสรุปได้ว่า

        สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญทั้งหมด 99 คนนี้ ล้วนแล้วแต่ได้รับเลือกมาจากรัฐสภา ซึ่งก็คือ ที่ประชุมร่วมกันของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาทั้งสิ้น ฉะนั้น จึงเรียกได้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับใหม่นี้ร่างโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ โดยความเห็นชอบของสมาชิกรัฐสภาในขณะนั้น สภาร่างรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่รับฟังความคิดเห็นประชาชน และยกร่างรัฐธรรมนูญตามความต้องการของประชาชน และเสนอให้รัฐสภารับรองโดยไม่มีการแก้ไข ในที่สุด ซึ่งตลอดระยะเวลาของกระบวนการยกร่างไปจนกระทั่งถึงการรับรองรัฐธรรมนูญฉบับนี้ เพื่อออกประกาศใช้นั้น ถือว่าประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมด้วยมากที่สุดเท่าที่เคยมีมาในประวัติศาสตร์การเมืองไทย

สร้างโดย: 
นายธานินทร์ พร้อมสุข และ นางสาวภาชินี ผลงามเนตรอรุณ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 272 คน กำลังออนไลน์