• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b43e461010d64245c3b215ae6985a6ff' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #cc99ff\"></span></span></strong></p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"><a href=\"/node/75778/\"></a><a href=\"/node/90163\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/13.jpg\" alt=\"ฉบับที่13\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/90164\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/14.jpg\" alt=\"ฉบับที่14\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75780\"></a></span></strong> <a href=\"/node/90165\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/15.jpg\" alt=\"ฉบับที่15\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75782/\"></a><a href=\"/node/90166\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/16.jpg\" alt=\"ฉบับที่16\" border=\"0\" /></a><span style=\"color: #cc99ff\"><a href=\"/node/76121\"></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"><a href=\"/node/76349\"></a><a href=\"/node/90167\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/17.jpg\" alt=\"ฉบับที่17\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/90168\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/18.jpg\" alt=\"ฉบับที่18\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/76352\"></a></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"14\" width=\"364\" src=\"/files/u44341/f86.gif\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #00ccff\"><img height=\"83\" width=\"309\" src=\"/files/u44341/14-2.jpg\" alt=\"ฉบับที่14\" border=\"0\" /> </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #00ccff\">ฉบับที่ 14 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>    <span style=\"color: #cc99ff\"> </span><span style=\"color: #99cc00\">ภายหลังจากที่ ร.ส.ช. ได้ทำการยึดอำนาจแล้ว ก็กำหนดให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2521และวุฒิสภา สภาผู้แทนราษฎร คณะรัฐมนตรีสิ้นสุดลง โดยชี้แจงถึงเหตุผลและความจำเป็นของการเข้ายึดและควบคุมอำนาจในการปกครองประเทศ โดยกล่าวหารัฐบาล หรือ ผู้บริหารประเทศว่า (มี 5 ประการ) คือ</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\">  1) พฤติการณ์การฉ้อราษฎร์บังหลวง</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\">  2) ข้าราชการการเมืองใช้อำนาจกดขี่ข่มเหงข้าราชการประจำผู้ซื่อสัตย์สุจริต </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\">  3) รัฐบาลเป็นเผด็จการทางรัฐสภา</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\">  4) การทำลายสถาบันทางทหาร</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\">  5) การบิดเบือนคดีล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>     <span style=\"color: #ff99cc\">จากนั้น ร.ส.ช. จึงได้นำร่างธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2534 ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศใช้ เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2534 โดยมีบทบัญญัติอยู่เพียง 33 มาตรา<br />\nธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรฉบับนี้ มีระยะเวลาการใช้บังคับสั้นมาก คือ เพียง 9 เดือน กับอีก 8 วัน เท่านั้น ก็จึงถูกยกเลิกไป จากผลของการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2534 เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2534</span></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>      <span style=\"color: #cc99ff\">   หลักการสำคัญ </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\">     รัฐธรรมนูญฉบับนี้เป็นรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว และมีหลักการสำคัญคล้ายกับรัฐธรรมนูญ ฉบับที่ 12 อย่างยิ่ง แต่ก็มีข้อแตกต่างบางประการ ดังนี้</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 1) ตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้ รัฐสภา มีสภาเดียว คือ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีสมาชิก 200 ถึง 300 คน ทำหน้าที่จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติ และอนุมัติพระราชกำหนดที่คณะรัฐมนตรีเป็นผู้เสนอ โดยที่ไม่มีสิทธิเสนอกฎหมาย ในกรณีที่สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติกระทำการอันเป็นการเสื่อมเสีย หรือ มีพฤติการณ์อันเป็นการขัดขวางต่อการปฏิบัติหน้าที่ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมาชิกสภานิติบัญญัติจำนวนไม่น้อยกว่า 20 คนมีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานสภานิติบัญญัติฯ เพื่อให้ผู้นั้นพ้นจากสมาชิกภาพได้ (มาตรา 8)</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 2) รัฐธรรมนูญกำหนดให้ สภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ เป็นองค์กรหนึ่งที่ทำหน้าที่ในการกำหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินร่วมกับคณะรัฐมนตรี และให้ประธานสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ หรือ นายกรัฐมนตรี หรือให้ทั้ง 2 ร่วมกัน ใช้อำนาจพิเศษตามมาตรา 27 ได้ ก็ด้วยความเห็นชอบของที่ประขุมร่วมระหว่างสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติกับนายกรัฐมนตรี (มาตรา 27)</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"><a href=\"/node/84777\"></a></span></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"82\" width=\"150\" src=\"/files/u31262/icon_home.jpg\" alt=\"หน้าแรก\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n', created = 1715309603, expire = 1715396003, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b43e461010d64245c3b215ae6985a6ff' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฉบับที่14

ฉบับที่13 ฉบับที่14 ฉบับที่15ฉบับที่16

ฉบับที่17 ฉบับที่18

 

ฉบับที่14 

ฉบับที่ 14 ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534

     ภายหลังจากที่ ร.ส.ช. ได้ทำการยึดอำนาจแล้ว ก็กำหนดให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2521และวุฒิสภา สภาผู้แทนราษฎร คณะรัฐมนตรีสิ้นสุดลง โดยชี้แจงถึงเหตุผลและความจำเป็นของการเข้ายึดและควบคุมอำนาจในการปกครองประเทศ โดยกล่าวหารัฐบาล หรือ ผู้บริหารประเทศว่า (มี 5 ประการ) คือ

  1) พฤติการณ์การฉ้อราษฎร์บังหลวง

  2) ข้าราชการการเมืองใช้อำนาจกดขี่ข่มเหงข้าราชการประจำผู้ซื่อสัตย์สุจริต

  3) รัฐบาลเป็นเผด็จการทางรัฐสภา

  4) การทำลายสถาบันทางทหาร

  5) การบิดเบือนคดีล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์

     จากนั้น ร.ส.ช. จึงได้นำร่างธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2534 ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศใช้ เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2534 โดยมีบทบัญญัติอยู่เพียง 33 มาตรา
ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรฉบับนี้ มีระยะเวลาการใช้บังคับสั้นมาก คือ เพียง 9 เดือน กับอีก 8 วัน เท่านั้น ก็จึงถูกยกเลิกไป จากผลของการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2534 เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2534


         หลักการสำคัญ 

     รัฐธรรมนูญฉบับนี้เป็นรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว และมีหลักการสำคัญคล้ายกับรัฐธรรมนูญ ฉบับที่ 12 อย่างยิ่ง แต่ก็มีข้อแตกต่างบางประการ ดังนี้

 1) ตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้ รัฐสภา มีสภาเดียว คือ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีสมาชิก 200 ถึง 300 คน ทำหน้าที่จัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติ และอนุมัติพระราชกำหนดที่คณะรัฐมนตรีเป็นผู้เสนอ โดยที่ไม่มีสิทธิเสนอกฎหมาย ในกรณีที่สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติกระทำการอันเป็นการเสื่อมเสีย หรือ มีพฤติการณ์อันเป็นการขัดขวางต่อการปฏิบัติหน้าที่ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมาชิกสภานิติบัญญัติจำนวนไม่น้อยกว่า 20 คนมีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานสภานิติบัญญัติฯ เพื่อให้ผู้นั้นพ้นจากสมาชิกภาพได้ (มาตรา 8)

 2) รัฐธรรมนูญกำหนดให้ สภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ เป็นองค์กรหนึ่งที่ทำหน้าที่ในการกำหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินร่วมกับคณะรัฐมนตรี และให้ประธานสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ หรือ นายกรัฐมนตรี หรือให้ทั้ง 2 ร่วมกัน ใช้อำนาจพิเศษตามมาตรา 27 ได้ ก็ด้วยความเห็นชอบของที่ประขุมร่วมระหว่างสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติกับนายกรัฐมนตรี (มาตรา 27)

หน้าแรก

สร้างโดย: 
นายธานินทร์ พร้อมสุข และ นางสาวภาชินี ผลงามเนตรอรุณ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 341 คน กำลังออนไลน์