• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '3.128.197.164', 0, '56d1b49037ea042ac102d0a23cc83b6e', 147, 1716215890) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:acb854d48034a5550deacd084465cb83' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\"></span></span></strong></p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"><a href=\"/node/75778/\"><img height=\"80\" width=\"353\" src=\"/files/u31262/13.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 130px; height: 53px\" /></a> <a href=\"/node/75780\"><img height=\"80\" width=\"353\" src=\"/files/u31262/14.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 133px; height: 53px\" /></a></span></strong> <a href=\"/node/75782/\"><img height=\"80\" width=\"353\" src=\"/files/u31262/15.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 138px; height: 52px\" /></a><span style=\"color: #cc99ff\"><a href=\"/node/76121\"><img height=\"80\" width=\"353\" src=\"/files/u31262/16.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 149px; height: 52px\" /></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"><a href=\"/node/76349\"><img height=\"80\" width=\"353\" src=\"/files/u31262/17.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 142px; height: 55px\" /></a> <a href=\"/node/76352\"><img height=\"80\" width=\"353\" src=\"/files/u31262/18.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 140px; height: 58px\" /></a></span></strong>  \n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\"></span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\"><img height=\"83\" width=\"309\" src=\"/files/u31262/18-2.jpg\" border=\"0\" /> </span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\">รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (รัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ)</span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff9900\">    </span><span style=\"color: #ff99cc\"> เป็นรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ประกาศใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2550 มีจำนวนมาตรา 309 มาตรา </span></strong><strong><span style=\"color: #ff99cc\">ช่วงที่มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับที่ 17 นั้น ได้มีการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ โดยกำหนดให้มี &quot;สภาร่างรัฐธรรมนูญ&quot; (ส.ส.ร.) กำหนดให้ร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จใน 180 วัน นับแต่วันเปิดประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญครั้งแรก </span></strong><strong><span style=\"color: #ff99cc\">จากนั้นได้ทำการเผยแพร่ให้ประชาชนรับทราบ และจัดให้มีการออกเสียง &quot;ประชามติ</span>&quot; </strong>\n</p>\n<p>\n<strong>   <span style=\"color: #00ccff\">  การลงประชามติมีขึ้นเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2550 โดยผลที่ออกมาคือ ประชาชนลงคะแนน รับร่างรัฐธรรมนูญ 57% ไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ 41% จึงทำให้ร่างรัฐธรรมนูญผ่าน และประกาศใช้เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศต่อไป </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\"> <span style=\"color: #cc99ff\"> <span style=\"color: #cc99ff\">สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญ ปี 2550 นั้น ได้ดำเนินการใน 4 แนวทาง ได้แก่</span></span></span></strong><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #cc99ff\"> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #cc99ff\"><strong><span style=\"color: #99cc00\"> 1. การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนอย่างเต็มที่</span></strong> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #cc99ff\"><strong><span style=\"color: #99cc00\">     เพิ่มสิทธิเสรีภาพของประชาชนให้กว้างขวางมากขึ้นกว่าเดิม ทำให้การใช้สิทธิและเสรีภาพง่ายขึ้น มีประสิทธิภาพ และมีมาตรการคุ้มครองอย่างชัดเจน รวมทั้งทำให้แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐมีความชัดเจนและผูกพันรัฐมากกว่าเดิม และปรับปรุงการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เหมาะสมยิ่งขึ้น</span></strong> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #cc99ff\"><strong><span style=\"color: #99cc00\">     ยกตัวอย่างเช่น การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้โดยง่าย สิทธิเสรีภาพของสื่อมวลชนได้รับความคุ้มครอง ขยายสิทธิชุมชน โดยการดำเนินกิจกรรม/โครงการที่อาจเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติ จะต้องจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนและชุมชนก่อน การให้ชุมชนมีสิทธฟ้องศาลได้ในกรณีที่มีการละเมินสิทธิของชุมชน การลดจำนวนประชาชนในการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมาย และการถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เป็นต้น</span></strong> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #cc99ff\"><strong><span style=\"color: #99cc00\"> 2. การลดการผูกขาดอำนาจรัฐ และการใช้อำนาจอย่างไม่เป็นธรรม</span></strong> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #cc99ff\"><strong><span style=\"color: #99cc00\">     แต่เดิมนั้น รัฐหรือฝ่ายบริหารมีอำนาจมากเกินไป การตรวจสอบฝ่ายบริหารเป็นไปได้ยาก และมีการเข้าไปแทรกแซงการทำงานของระบบข้าราชการประจำ เช่น การแต่งตั้งโยคย้าย เลื่อนตำแหน่ง ฯลฯ ดังนั้นร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่จึงพยายามลดการแทรกแซงข้าราชการลง และให้การอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลและคณะรัฐมนตรีเป็นไปได้ง่ายขึ้น</span></strong> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #cc99ff\"><strong><span style=\"color: #99cc00\">     ดังนั้น จึงเป็นการเสริมสร้างอำนาจทางการเมืองให้แก่ประชาชน จำกัดการผูกขาดและการใช้อำนาจที่ไม่เป็นธรรรม รวมทั้งให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) เป็นอิสระจากการครอบงำของพรรคการเมือง เพื่อทำหน้าที่ในฐานะผู้แทนประชาชนได้อย่างเต็มที่ โดยกำหนดให้ ส.ส. มีอิสระจากมติพรรคการเมืองในการตั้งกระทู้ถาม การอภิปราย และการลงมติในการอภิปรายไม่ไว้วางใจ นอกจากนี้ยังให้สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ปลอดจากอิทธิพลของพรรคการเมืองอย่างแท้จริง  และห้าม  ส.ส.  และ ส.ว. แทรกแซงข้าราชการประจำ</span></strong> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #cc99ff\"><strong><span style=\"color: #99cc00\"> 3. การทำให้การเมืองมีความโปร่งใส มีคุณธรรมและจริยธรรม</span></strong> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #cc99ff\"><strong><span style=\"color: #99cc00\">     โดยการเพิ่มหมวด “คุณธรรม จริยธรรม” ขึ้น ในร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ซึ่งมีการกำหนดไว้ชัดเจนว่า หากมีการฝ่าฝืนบทบัญญัติในหมวดคุณธรรม จริยธรรม จะถือว่าเป็นความผิด ซึ่งหากเป็นข้าราชการก็จะเป็นความผิดทางวินัย หากเป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ในกรณีที่ร้ายแรงก็สามารถถอดถอนออกจากตำแหน่งได้ การกำหนดมาตรการเพื่อไม่ให้เกิดผลประโยชน์ทับซ้อนทางการเมือง โดยกำหนดให้นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ต้องไม่เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นของบริษัท ตามจำนวนที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งครอบคลุมถึงคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะด้วย</span></strong> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #cc99ff\"><strong><span style=\"color: #99cc00\">  นอกจากนี้ยังกำหนดให้การแสดงทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ส.ส. และ ส.ว. ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม จะต้องเปิดเผยให้แก่สาธารณชนทราบ เช่นเดียวกับของนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี</span></strong> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #cc99ff\"><strong><span style=\"color: #99cc00\"> 4. การทำให้ระบบตรวจสอบมีความเข้มแข็ง และทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ</span></strong> </span></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #cc99ff\">     ปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบให้มีความเข้มแข็ง ไม่ถูกแทรกแซง และมีประสิทธิภาพในการตรวจสอบมากยิ่งขึ้น อาทิ ปรับปรุงระบบการสรรหาองค์กรตรวจสอบเพื่อให้มีความอิสระ และเหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ของแต่ละองค์กร การจัดให้มีระบบการตรวจสอบการทำงานขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ รวมทั้งการปรับปรุงอำนาจหน้าที่และระบบการทำงานขององค์กรตรวจสอบให้ดียิ่งขึ้น เช่น ให้ ส.ส. สามารถเปิดอภิปรายนายกรัฐมนตรีได้ง่ายขึ้น โดยใช้เสียงเพียง 1 ใน 5 และรัฐมนตรี 1 ใน 6 หรือเมื่อครบ 2 ปี เป็นต้น<br />\n</span></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff99cc\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff99cc\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff99cc\"><a href=\"/node/70396\"></a></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"82\" width=\"150\" src=\"/files/u31262/icon_home.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n', created = 1716215910, expire = 1716302310, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:acb854d48034a5550deacd084465cb83' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฉบับที่18

 

   

 

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (รัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ)

     เป็นรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ประกาศใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2550 มีจำนวนมาตรา 309 มาตรา ช่วงที่มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับที่ 17 นั้น ได้มีการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ โดยกำหนดให้มี "สภาร่างรัฐธรรมนูญ" (ส.ส.ร.) กำหนดให้ร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จใน 180 วัน นับแต่วันเปิดประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญครั้งแรก จากนั้นได้ทำการเผยแพร่ให้ประชาชนรับทราบ และจัดให้มีการออกเสียง "ประชามติ"

     การลงประชามติมีขึ้นเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2550 โดยผลที่ออกมาคือ ประชาชนลงคะแนน รับร่างรัฐธรรมนูญ 57% ไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ 41% จึงทำให้ร่างรัฐธรรมนูญผ่าน และประกาศใช้เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศต่อไป

  สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญ ปี 2550 นั้น ได้ดำเนินการใน 4 แนวทาง ได้แก่

 1. การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนอย่างเต็มที่

     เพิ่มสิทธิเสรีภาพของประชาชนให้กว้างขวางมากขึ้นกว่าเดิม ทำให้การใช้สิทธิและเสรีภาพง่ายขึ้น มีประสิทธิภาพ และมีมาตรการคุ้มครองอย่างชัดเจน รวมทั้งทำให้แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐมีความชัดเจนและผูกพันรัฐมากกว่าเดิม และปรับปรุงการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เหมาะสมยิ่งขึ้น

     ยกตัวอย่างเช่น การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้โดยง่าย สิทธิเสรีภาพของสื่อมวลชนได้รับความคุ้มครอง ขยายสิทธิชุมชน โดยการดำเนินกิจกรรม/โครงการที่อาจเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติ จะต้องจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนและชุมชนก่อน การให้ชุมชนมีสิทธฟ้องศาลได้ในกรณีที่มีการละเมินสิทธิของชุมชน การลดจำนวนประชาชนในการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมาย และการถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เป็นต้น

 2. การลดการผูกขาดอำนาจรัฐ และการใช้อำนาจอย่างไม่เป็นธรรม

     แต่เดิมนั้น รัฐหรือฝ่ายบริหารมีอำนาจมากเกินไป การตรวจสอบฝ่ายบริหารเป็นไปได้ยาก และมีการเข้าไปแทรกแซงการทำงานของระบบข้าราชการประจำ เช่น การแต่งตั้งโยคย้าย เลื่อนตำแหน่ง ฯลฯ ดังนั้นร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่จึงพยายามลดการแทรกแซงข้าราชการลง และให้การอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลและคณะรัฐมนตรีเป็นไปได้ง่ายขึ้น

     ดังนั้น จึงเป็นการเสริมสร้างอำนาจทางการเมืองให้แก่ประชาชน จำกัดการผูกขาดและการใช้อำนาจที่ไม่เป็นธรรรม รวมทั้งให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) เป็นอิสระจากการครอบงำของพรรคการเมือง เพื่อทำหน้าที่ในฐานะผู้แทนประชาชนได้อย่างเต็มที่ โดยกำหนดให้ ส.ส. มีอิสระจากมติพรรคการเมืองในการตั้งกระทู้ถาม การอภิปราย และการลงมติในการอภิปรายไม่ไว้วางใจ นอกจากนี้ยังให้สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ปลอดจากอิทธิพลของพรรคการเมืองอย่างแท้จริง  และห้าม  ส.ส.  และ ส.ว. แทรกแซงข้าราชการประจำ

 3. การทำให้การเมืองมีความโปร่งใส มีคุณธรรมและจริยธรรม

     โดยการเพิ่มหมวด “คุณธรรม จริยธรรม” ขึ้น ในร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ซึ่งมีการกำหนดไว้ชัดเจนว่า หากมีการฝ่าฝืนบทบัญญัติในหมวดคุณธรรม จริยธรรม จะถือว่าเป็นความผิด ซึ่งหากเป็นข้าราชการก็จะเป็นความผิดทางวินัย หากเป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ในกรณีที่ร้ายแรงก็สามารถถอดถอนออกจากตำแหน่งได้ การกำหนดมาตรการเพื่อไม่ให้เกิดผลประโยชน์ทับซ้อนทางการเมือง โดยกำหนดให้นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ต้องไม่เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นของบริษัท ตามจำนวนที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งครอบคลุมถึงคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะด้วย

  นอกจากนี้ยังกำหนดให้การแสดงทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ส.ส. และ ส.ว. ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม จะต้องเปิดเผยให้แก่สาธารณชนทราบ เช่นเดียวกับของนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี

 4. การทำให้ระบบตรวจสอบมีความเข้มแข็ง และทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

     ปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบให้มีความเข้มแข็ง ไม่ถูกแทรกแซง และมีประสิทธิภาพในการตรวจสอบมากยิ่งขึ้น อาทิ ปรับปรุงระบบการสรรหาองค์กรตรวจสอบเพื่อให้มีความอิสระ และเหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ของแต่ละองค์กร การจัดให้มีระบบการตรวจสอบการทำงานขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ รวมทั้งการปรับปรุงอำนาจหน้าที่และระบบการทำงานขององค์กรตรวจสอบให้ดียิ่งขึ้น เช่น ให้ ส.ส. สามารถเปิดอภิปรายนายกรัฐมนตรีได้ง่ายขึ้น โดยใช้เสียงเพียง 1 ใน 5 และรัฐมนตรี 1 ใน 6 หรือเมื่อครบ 2 ปี เป็นต้น

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 338 คน กำลังออนไลน์