• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:442c590a6f636033d44c003030fa2fb4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong><span style=\"color: #808080\"></span></strong><strong><span style=\"color: #808080\"></span></strong></p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u31525/banner_0.jpg\" height=\"110\" />   \n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span><strong><span style=\"color: #000000\"><span><strong><a href=\"/node/83246\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/common.jpg\" height=\"49\" /></a></strong></span></span><span style=\"color: #000000\"><span><strong><a href=\"/node/83252\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/war.jpg\" height=\"49\" /></a><a href=\"/node/83266\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/custom.jpg\" height=\"49\" /></a></strong></span></span><span style=\"color: #000000\"><span><strong><a href=\"/node/83272\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/place.jpg\" height=\"49\" /></a>    </strong></span></span> <br />\n<span style=\"color: #000000\"><span><strong> <a href=\"/node/83306\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/p.jpg\" height=\"49\" /></a></strong></span></span><a href=\"/node/83310\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/food.jpg\" height=\"49\" /></a><a href=\"/node/83381\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/from.jpg\" height=\"49\" /></a><a href=\"/node/83382\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u31525/fonfie.jpg\" height=\"49\" /></a> <a href=\"/node/88433\"><img border=\"0\" width=\"123\" src=\"/files/u40865/question.jpg\" height=\"49\" /></a> </strong></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u31525/w.jpg\" height=\"100\" />\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #808080\">          แผนการโจมตีกลางอากาศของเยอรมันจึงยืดระยะเวลาจากเดิมออกไปคือ จากเดิมสี่วันกลายเป็นห้าสัปดาห์ เริ่มจากวันที่ 8 สิงหาคมถึง 15 กันยายน และเปลี่ยนจากการโจมตีฝูงบินอังกฤษเพียงอย่างเดียวเป็นการโจมตีสนามบินและสิ่งปลูกสร้างทางทหาร เพื่อสร้างความได้เปรียบเหนือน่านฟ้าอังกฤษก่อนที่กำลังทางเรือจะนำทหารราบภาคพื้นดินข้ามช่องแคบอังกฤษเข้าโจมตีแผ่นดินใหญ่ตามแผนยุทธการ &quot;สิงโตทะเล&quot; ในขณะเดียวกันกองทัพอากาศเยอรมันก็จำเป็นที่จะต้องเตรียมกำลังสำรองไว้ เพื่อใช้ในการสนับสนุนทหารเยอรมันภาคพื้นดินระหว่างการรุกเข้าสู่เกาะอังกฤษด้วย </span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>         ดังที่กล่าวมาแล้วว่าเครื่องบินขับไล่สองเครื่องยนต์แบบ แมสเซอร์ชมิท บีเอฟ 111ไม่สามารถที่จะต่อกรกับเครื่องบินขับไล่แบบเครื่องยนต์เดียวของอังกฤษทั้งแบบสปิตไฟร์และเฮอร์ริเคนที่มีความคล่องตัวสูงกว่าได้ ทำให้ภาระทั้งหมดต้องตกอยู่กับเครื่องบินขับไล่แบบ บีเอฟ 109 ที่ต้องทำหน้าที่ในการคุ้มกันเครื่องบินทิ้งระเบิดที่เปราะบางและเชื่องช้าจากการโจมตีของเครื่องบินอังกฤษ ซึ่งจากรบในห้วงเวลาที่ผ่านมาเครื่องบินทิ้งระเบิดของเยอรมันตกเป็นเป้านิ่งของเครื่องบินขับไล่อังกฤษจนประสบกับความเสียหายเป็นจำนวนมาก </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>         อย่างไรก็ตามจอมพลเคสส์เซลริงแห่งกองบินที่ 2 ก็ยังยืนยันในความต้องการที่จะใช้ฝูงบินทิ้งระเบิดทำการโจมตีสนามบินและยุทโธปกรณ์ในการป้องกันภัยทางอากาศตลอดจนเรดาห์เตือนภัยของอังกฤษ เพื่อลดประสิทธิภาพในการต่อต้านของฝูงบินขับไล่อังกฤษ ส่วนจอมพลฮิวโก สเปอร์เรลแห่งกองบินที่ 3 กลับต้องการโจมตีนครลอนดอน โจมตีอาคารและสถานที่ราชการเพื่อบีบให้อังกฤษยอมจำนน รวมทั้งต้องการหลอกล่อให้ฝูงบินขับไล่ของอังกฤษเข้าสู่พื้นที่ปฏิบัติการที่ฝ่ายเยอรมันได้เปรียบ </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>         จอมพลเกอริง ผู้บัญชาการกองทัพอากาศเยอรมัน ซึ่งเป็นแม่ทัพใหญ่กลับนิ่งเฉยและไม่ได้ใช้ความเป็นผู้นำในการชี้ขาดความขัดแย้งของผู้บัญชาการกองบินทั้งสอง แต่หันไปเน้นย้ำให้เครื่องบินขับไล่ บีเอฟ 109 เพิ่มการอารักขาฝูงบินทิ้งระเบิดให้แน่นหนาขึ้น ซึ่งคำสั่งดังกล่าวทำให้นักบินขับไล่ของเยอรมันมุ่งภารกิจไปที่การคุ้มกันเครื่องบินทิ้งระเบิดโดยการใช้ความเร็วต่ำกว่าที่ควรจะเป็น ซึ่งการปฏิบัติการบินคุ้มกันของนักบินขับไล่เยอรมันนั้นจะแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มแรกบินขนาบไปกับเครื่องบินทิ้งระเบิดด้วยความสูงระดับเดียวกันคือประมาณ 16,000 ฟุตถึง20,000 ฟุต </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>         ส่วนเครื่องบินขับไล่คุ้มกันอีกกลุ่มจะบินห่างออกไปประมาณหนึ่งร้อยหลาและอยู่สูงกว่าเครื่องบินทิ้งระเบิดเล็กน้อย ทั้งสองกลุ่มต้องลดความเร็วลงให้เท่ากับเครื่องบินทิ้งระเบิด อันเป็นผลทำให้เครื่องบินขับไล่แบบ บีเอฟ 109 ของเยอรมันที่มีความเร็วสูงต้องสูญเสียความได้เปรียบและถูกยิงตกเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ยุทธวิธีที่ใช้เครื่องบินขับไล่เยอรมันออกบินไล่ล่าเครื่องบินขับไล่อังกฤษตามท้องฟ้าเหนือเกาะอังกฤษก็ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องจากนักบินอังกฤษหลีกเลี่ยงการปะทะโดยตรงกับเครื่องบินขับไล่ของเยอรมันเพื่อรักษาเครื่องบินเอาไว้ใช้ในการโจมตีเครื่องบินเครื่องบินทิ้งระเบิดเป็นหลัก </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>         อดอล์ฟ กัลลันด์ (Adolf Galland) เสืออากาศของเยอรมันได้อธิบายถึงความล้มเหลวของฝูงบินเยอรมันเหนือเกาะอังกฤษเอาไว้อย่างน่าฟังตอนหนึ่งว่า </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>         &quot;.… มันเป็นสิ่งที่สร้างความสับสนอย่างมากระหว่างนักบินเครื่องบินทิ้งระเบิดและนักบินเครื่องบินขับไล่ เมื่อนักบินเครื่องบินทิ้งระเบิดต้องการเครื่องบินขับไล่ให้บินเคียงข้าง เพื่อเป็นเสมือนเกราะป้องกันและสามารถทำการรบหรือตอบโต้เครื่องบินขับไล่อังกฤษได้ทันทีที่การโจมตีเปิดฉากขึ้น … แต่นั่นเป็นสิ่งที่ผิดพลาดอย่างมหันต์ ... เพราะธรรมชาติของนักบินเครื่องบินขับไล่นั้น &quot;การป้องกัน&quot; คือ &quot;การโจมตี&quot; นักบินเครื่องบินขับไล่จะไม่รอให้ตนเองถูกโจมตีก่อน เขาจะป้องกันตนเองและน่านฟ้าด้วยการค้นหาเครื่องบินข้าศึกให้ได้และเปิดฉากโจมตีโดยที่ข้าศึกไม่รู้ตัว เพราะนั่นคือการครองความ &quot;ริเริ่ม&quot; (initiative) ในการรบ ซึ่งการรอให้ข้าศึกเข้าโจมตีก่อนหมายถึงนักบินเยอรมันจะสูญเสียความ &quot;ริเริ่ม&quot; ในการรบนั้นๆ ซึ่งในบรรดานักรบจะเป็นที่ทราบกันดีว่าการสูญเสียความ &quot;ริเริ่ม&quot; ในสงครามใดๆ ก็ตาม มักนำไปสู่ความพ่ายแพ้ในที่สุดนั่นเอง ....&quot; </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>         จากความขัดแย้งและสับสนในการวางแผนของเยอรมันส่งผลให้การโจมตีเกาะอังกฤษของฝูงบินเยอรมันเป็นไปอย่างไร้ทิศทาง กองบินทั้งสามกองบินปฏิบัติหน้าที่ตามที่ผู้บังคับบัญชาของตนมอบหมาย นักบินขับไล่แทนที่จะทำหน้าที่ไล่ล่าฝูงบินขับไล่อังกฤษ พวกเขากลับต้องคอยติดสอยห้อยตามเครื่องบินทิ้งระเบิด เพื่อรอให้เครื่องบินขับไล่ของอังกฤษเข้าโจมตี และเมื่อการโจมตีเปิดฉากขึ้น เครื่องบินขับไล่เยอรมันก็มักจะถูกยิงโดยไม่รู้ตัวแทบทุกครั้ง ส่วนเครื่องบินทิ้งระเบิดที่อุ้ยอ้ายและตื่นตระหนก แม้จะมีเครื่องบินขับไล่คุ้มกัน ก็ยังคงตกเป็นเป้าของเครื่องบินขับไล่อังกฤษที่บินสาดกระสุนผ่านไปมาอยู่ตลอดเวลา ทำให้ยอดความสูญเสียทั้งเครื่องบินทิ้งระเบิดและเครื่องบินขับไล่เพิ่มสูงมากขึ้นเรื่อยๆ </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>         นอกจากยุทธวิธีในการรบทางอากาศที่สับสนแล้ว ยุทธศาสตร์ในการรบของเยอรมันก็สับสนไม่แพ้กัน ผู้บังคับบัญชาของพวกเขาตัดสินใจไม่ได้ว่าจะถล่มเมืองใดเมืองหนึ่งให้พินาศลงไปอย่างสิ้นซาก หรือเพียงแค่ต้องการให้เกิดความเสียหายให้ทั่วทั้งแผ่นดินอังกฤษ ผลจึงปรากฏออกมาว่าฝูงบินทิ้งระเบิดเยอรมันทิ้งระเบิดอย่างไร้จุดมุ่งหมายที่แน่นอน วันนี้พวกเขาทำการทิ้งระเบิดที่เมืองโคเวนตรี้ พรุ่งนี้มุ่งไปที่เมืองปอร์ตสมัธ และวันต่อไปจะมุ่งไปที่เมืองเบรมไฮม์ สิ่งที่ได้รับก็คือไม่มีเมืองใดเลยที่ได้รับความเสียหายอย่างสิ้นเชิง เพราะการโจมตีมีน้อยเกินไป โรงงานอุตสาหกรรม สนามบิน ค่ายทหารและสถานที่ต่างๆ สามารถฟื้นฟูให้กลับมาปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเต็มขีดความสามารถภายในสามวันที่เยอรมันเว้นระยะการโจมตี นอกจากการฟื้นฟูศักยภาพด้านอุตสาหกรรมและการทหารแล้ว รัฐบาลอังกฤษยังใช้เวลาที่ว่างเว้นจากการโจมตีในการฟื้นฟูขวัญและกำลังใจของชาวเมืองได้อย่างเห็นผลอีกด้วย </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>         การโจมตีที่ไร้ศักยภาพของเยอรมันนี้เองที่ทำให้อุตสาหกรรมการผลิตเครื่องบินของอังกฤษแทบไม่ได้รับความกระทบกระเทือน อังกฤษยังคงสามารถผลิตเครื่องบินเข้ามาทดแทนและเพิ่มเติมได้อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะเครื่องบินสปิตไฟร์และเฮอร์ริเคน ดังจะเห็นได้จากสถิติในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1940 อุตสาหกรรมผลิตเครื่องบินของอังกฤษสามารถผลิตเครื่องบินป้อนกองทัพอากาศได้ถึง 496 ลำ ในเดือนสิงหาคมสามารถผลิตเครื่องบินได้อีกถึง 467 ลำ และในเดือนกันยายนผลิตเครื่องบินเพิ่มอีก 467 ลำเท่ากับเดือนที่ผ่านมา ซึ่งจำนวนนี้ยังไม่นับรวมถึงเครื่องบินขับไล่ที่สามารถซ่อมแซมกลับมาใช้ใหม่ได้อีก การผลิตที่ต่อเนื่องนี้เองทำให้กองทัพอากาศอังกฤษมีเครื่องบินอยู่ในระดับที่คงที่ ไม่ลดลงและกลับเพิ่มขึ้นอีกด้วย จากสถิติพบว่าในระหว่างสงครามเหนือเกาะอังกฤษนั้น กองทัพอากาศอังกฤษมีเครื่องบินขับไล่แบบสปิตไฟร์และเฮอร์ริเคนที่มีประสิทธิภาพสูงอยู่ถึง 1,161 ลำ ทั้งๆ ที่ถูกยิงตกซ้ำแล้วซ้ำเล่า แต่นักบินที่รอดชีวิตก็หวนกลับมานำเครื่องบินลำใหม่ที่เพิ่งออกมาจากโรงงานทะยานขึ้นสู่ท้องฟ้าเพื่อปกป้องมาตุภูมิของพวกเขาต่อไป </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><strong>         ในทางตรงกันข้ามกองทัพอากาศเยอรมันกลับต้องสูญเสียเครื่องบินไปเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะในเดือนสิงหาคม ค.ศ.1940 มีเครื่องบินทุกชนิดถูกยิงตกเสียหายถึง 774 ลำ เป็นความสูญเสียที่เกิดขึ้นกับเครื่องบินขับไล่เป็นจำนวนถึง 426 ลำหรือคิดเป็นร้อยละ 40 ของเครื่องบินขับไล่ทั้งหมดที่ต้องสูญเสียไป ในจำนวนเครื่องบินที่ถูกยิงตกนี้นักบินเยอรมันเกือบทั้งหมดเสียชีวิตหรือไม่ก็บาดเจ็บและถูกจับเป็นเชลย ทำให้ไม่มีโอกาสหวนกลับมาเป็นนักบินอีกเลยจนกระทั่งสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ยิ่งไปกว่านั้นเยอรมันยังจำเป็นต้องถอนเครื่องบินอีกบางส่วนออกจากยุทธการสิงโตทะเล เช่น เครื่องบินดำทิ้งระเบิดแบบ เจยู 87 สตูก้า (Ju 87 Stuka) เพราะมีความเชื่องช้าและล้าสมัยจนได้รับความเสียหายอย่างหนักจากการรบทางอากาศ ส่วนเครื่องบินที่ส่งเข้ามาทดแทนก็คือเครื่องบินแบบเดิมๆ ที่ต้องกลายเป็นเป้านิ่งให้กับเครื่องบินขับไล่ของอังกฤษ จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าเมื่อเปรียบเทียบกำลังกันแล้ว กำลังทางอากาศของอังกฤษมีแต่จะเพิ่มจำนวนและเข้มแข็งขึ้น ส่วนกำลังทางอากาศของเยอรมันยิ่งนับวันยิ่งลดจำนวนลงในขณะที่ยอดสูญเสียนักบินก็เพิ่มสูงขึ้น </strong></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #808080\"></span><span style=\"color: #808080\"></span></p>\n<div align=\"center\" class=\"pager\">\n<a href=\"/node/83252\" title=\"ไปหน้าแรก\" class=\"pager-first active\">« แรก</a>  <a href=\"/node/84056\" title=\"ไปหน้าก่อน\" class=\"pager-previous active\">‹ หน้าก่อน</a>  <span class=\"pager-list\"><a href=\"/node/83252\" title=\"ไปยังหน้า 1\" class=\"pager-first active\">1</a>  <a href=\"/node/84027\">2</a>  <a href=\"/node/84043\" title=\"ไปยังหน้า 3\" class=\"pager-previous active\">3</a>  <a href=\"/node/84056\" title=\"ไปยังหน้า 4\" class=\"pager-previous active\">4</a>  5<strong class=\"pager-current\">  </strong><a href=\"/node/84058\" title=\"ไปยังหน้า 6\" class=\"pager-next active\">6</a>  <a href=\"/node/84059\" title=\"ไปยังหน้า 7\" class=\"pager-last active\">7</a></span>  <a href=\"/node/84058\">ถัดไป ›</a>  <a href=\"/node/84059\" title=\"ไปหน้าสุดท้าย\" class=\"pager-last active\">หน้าสุดท้าย »</a>\n</div>\n<div align=\"center\" class=\"pager\">\n</div>\n<div align=\"center\" class=\"pager\">\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #fa7fa4\"><a href=\"/node/72304\"></a><a href=\"/node/81949\"><img border=\"0\" width=\"70\" src=\"/files/u31525/icon-home2_0.jpg\" height=\"71\" /></a><br />\n</span></strong>\n</p>\n</div>\n<p></p>\n', created = 1723055214, expire = 1723141614, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:442c590a6f636033d44c003030fa2fb4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หน้าที่ 5

   

     
 

 

          แผนการโจมตีกลางอากาศของเยอรมันจึงยืดระยะเวลาจากเดิมออกไปคือ จากเดิมสี่วันกลายเป็นห้าสัปดาห์ เริ่มจากวันที่ 8 สิงหาคมถึง 15 กันยายน และเปลี่ยนจากการโจมตีฝูงบินอังกฤษเพียงอย่างเดียวเป็นการโจมตีสนามบินและสิ่งปลูกสร้างทางทหาร เพื่อสร้างความได้เปรียบเหนือน่านฟ้าอังกฤษก่อนที่กำลังทางเรือจะนำทหารราบภาคพื้นดินข้ามช่องแคบอังกฤษเข้าโจมตีแผ่นดินใหญ่ตามแผนยุทธการ "สิงโตทะเล" ในขณะเดียวกันกองทัพอากาศเยอรมันก็จำเป็นที่จะต้องเตรียมกำลังสำรองไว้ เพื่อใช้ในการสนับสนุนทหารเยอรมันภาคพื้นดินระหว่างการรุกเข้าสู่เกาะอังกฤษด้วย

         ดังที่กล่าวมาแล้วว่าเครื่องบินขับไล่สองเครื่องยนต์แบบ แมสเซอร์ชมิท บีเอฟ 111ไม่สามารถที่จะต่อกรกับเครื่องบินขับไล่แบบเครื่องยนต์เดียวของอังกฤษทั้งแบบสปิตไฟร์และเฮอร์ริเคนที่มีความคล่องตัวสูงกว่าได้ ทำให้ภาระทั้งหมดต้องตกอยู่กับเครื่องบินขับไล่แบบ บีเอฟ 109 ที่ต้องทำหน้าที่ในการคุ้มกันเครื่องบินทิ้งระเบิดที่เปราะบางและเชื่องช้าจากการโจมตีของเครื่องบินอังกฤษ ซึ่งจากรบในห้วงเวลาที่ผ่านมาเครื่องบินทิ้งระเบิดของเยอรมันตกเป็นเป้านิ่งของเครื่องบินขับไล่อังกฤษจนประสบกับความเสียหายเป็นจำนวนมาก

         อย่างไรก็ตามจอมพลเคสส์เซลริงแห่งกองบินที่ 2 ก็ยังยืนยันในความต้องการที่จะใช้ฝูงบินทิ้งระเบิดทำการโจมตีสนามบินและยุทโธปกรณ์ในการป้องกันภัยทางอากาศตลอดจนเรดาห์เตือนภัยของอังกฤษ เพื่อลดประสิทธิภาพในการต่อต้านของฝูงบินขับไล่อังกฤษ ส่วนจอมพลฮิวโก สเปอร์เรลแห่งกองบินที่ 3 กลับต้องการโจมตีนครลอนดอน โจมตีอาคารและสถานที่ราชการเพื่อบีบให้อังกฤษยอมจำนน รวมทั้งต้องการหลอกล่อให้ฝูงบินขับไล่ของอังกฤษเข้าสู่พื้นที่ปฏิบัติการที่ฝ่ายเยอรมันได้เปรียบ

         จอมพลเกอริง ผู้บัญชาการกองทัพอากาศเยอรมัน ซึ่งเป็นแม่ทัพใหญ่กลับนิ่งเฉยและไม่ได้ใช้ความเป็นผู้นำในการชี้ขาดความขัดแย้งของผู้บัญชาการกองบินทั้งสอง แต่หันไปเน้นย้ำให้เครื่องบินขับไล่ บีเอฟ 109 เพิ่มการอารักขาฝูงบินทิ้งระเบิดให้แน่นหนาขึ้น ซึ่งคำสั่งดังกล่าวทำให้นักบินขับไล่ของเยอรมันมุ่งภารกิจไปที่การคุ้มกันเครื่องบินทิ้งระเบิดโดยการใช้ความเร็วต่ำกว่าที่ควรจะเป็น ซึ่งการปฏิบัติการบินคุ้มกันของนักบินขับไล่เยอรมันนั้นจะแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มแรกบินขนาบไปกับเครื่องบินทิ้งระเบิดด้วยความสูงระดับเดียวกันคือประมาณ 16,000 ฟุตถึง20,000 ฟุต

         ส่วนเครื่องบินขับไล่คุ้มกันอีกกลุ่มจะบินห่างออกไปประมาณหนึ่งร้อยหลาและอยู่สูงกว่าเครื่องบินทิ้งระเบิดเล็กน้อย ทั้งสองกลุ่มต้องลดความเร็วลงให้เท่ากับเครื่องบินทิ้งระเบิด อันเป็นผลทำให้เครื่องบินขับไล่แบบ บีเอฟ 109 ของเยอรมันที่มีความเร็วสูงต้องสูญเสียความได้เปรียบและถูกยิงตกเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ยุทธวิธีที่ใช้เครื่องบินขับไล่เยอรมันออกบินไล่ล่าเครื่องบินขับไล่อังกฤษตามท้องฟ้าเหนือเกาะอังกฤษก็ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องจากนักบินอังกฤษหลีกเลี่ยงการปะทะโดยตรงกับเครื่องบินขับไล่ของเยอรมันเพื่อรักษาเครื่องบินเอาไว้ใช้ในการโจมตีเครื่องบินเครื่องบินทิ้งระเบิดเป็นหลัก

         อดอล์ฟ กัลลันด์ (Adolf Galland) เสืออากาศของเยอรมันได้อธิบายถึงความล้มเหลวของฝูงบินเยอรมันเหนือเกาะอังกฤษเอาไว้อย่างน่าฟังตอนหนึ่งว่า

         ".… มันเป็นสิ่งที่สร้างความสับสนอย่างมากระหว่างนักบินเครื่องบินทิ้งระเบิดและนักบินเครื่องบินขับไล่ เมื่อนักบินเครื่องบินทิ้งระเบิดต้องการเครื่องบินขับไล่ให้บินเคียงข้าง เพื่อเป็นเสมือนเกราะป้องกันและสามารถทำการรบหรือตอบโต้เครื่องบินขับไล่อังกฤษได้ทันทีที่การโจมตีเปิดฉากขึ้น … แต่นั่นเป็นสิ่งที่ผิดพลาดอย่างมหันต์ ... เพราะธรรมชาติของนักบินเครื่องบินขับไล่นั้น "การป้องกัน" คือ "การโจมตี" นักบินเครื่องบินขับไล่จะไม่รอให้ตนเองถูกโจมตีก่อน เขาจะป้องกันตนเองและน่านฟ้าด้วยการค้นหาเครื่องบินข้าศึกให้ได้และเปิดฉากโจมตีโดยที่ข้าศึกไม่รู้ตัว เพราะนั่นคือการครองความ "ริเริ่ม" (initiative) ในการรบ ซึ่งการรอให้ข้าศึกเข้าโจมตีก่อนหมายถึงนักบินเยอรมันจะสูญเสียความ "ริเริ่ม" ในการรบนั้นๆ ซึ่งในบรรดานักรบจะเป็นที่ทราบกันดีว่าการสูญเสียความ "ริเริ่ม" ในสงครามใดๆ ก็ตาม มักนำไปสู่ความพ่ายแพ้ในที่สุดนั่นเอง ...."

         จากความขัดแย้งและสับสนในการวางแผนของเยอรมันส่งผลให้การโจมตีเกาะอังกฤษของฝูงบินเยอรมันเป็นไปอย่างไร้ทิศทาง กองบินทั้งสามกองบินปฏิบัติหน้าที่ตามที่ผู้บังคับบัญชาของตนมอบหมาย นักบินขับไล่แทนที่จะทำหน้าที่ไล่ล่าฝูงบินขับไล่อังกฤษ พวกเขากลับต้องคอยติดสอยห้อยตามเครื่องบินทิ้งระเบิด เพื่อรอให้เครื่องบินขับไล่ของอังกฤษเข้าโจมตี และเมื่อการโจมตีเปิดฉากขึ้น เครื่องบินขับไล่เยอรมันก็มักจะถูกยิงโดยไม่รู้ตัวแทบทุกครั้ง ส่วนเครื่องบินทิ้งระเบิดที่อุ้ยอ้ายและตื่นตระหนก แม้จะมีเครื่องบินขับไล่คุ้มกัน ก็ยังคงตกเป็นเป้าของเครื่องบินขับไล่อังกฤษที่บินสาดกระสุนผ่านไปมาอยู่ตลอดเวลา ทำให้ยอดความสูญเสียทั้งเครื่องบินทิ้งระเบิดและเครื่องบินขับไล่เพิ่มสูงมากขึ้นเรื่อยๆ

         นอกจากยุทธวิธีในการรบทางอากาศที่สับสนแล้ว ยุทธศาสตร์ในการรบของเยอรมันก็สับสนไม่แพ้กัน ผู้บังคับบัญชาของพวกเขาตัดสินใจไม่ได้ว่าจะถล่มเมืองใดเมืองหนึ่งให้พินาศลงไปอย่างสิ้นซาก หรือเพียงแค่ต้องการให้เกิดความเสียหายให้ทั่วทั้งแผ่นดินอังกฤษ ผลจึงปรากฏออกมาว่าฝูงบินทิ้งระเบิดเยอรมันทิ้งระเบิดอย่างไร้จุดมุ่งหมายที่แน่นอน วันนี้พวกเขาทำการทิ้งระเบิดที่เมืองโคเวนตรี้ พรุ่งนี้มุ่งไปที่เมืองปอร์ตสมัธ และวันต่อไปจะมุ่งไปที่เมืองเบรมไฮม์ สิ่งที่ได้รับก็คือไม่มีเมืองใดเลยที่ได้รับความเสียหายอย่างสิ้นเชิง เพราะการโจมตีมีน้อยเกินไป โรงงานอุตสาหกรรม สนามบิน ค่ายทหารและสถานที่ต่างๆ สามารถฟื้นฟูให้กลับมาปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเต็มขีดความสามารถภายในสามวันที่เยอรมันเว้นระยะการโจมตี นอกจากการฟื้นฟูศักยภาพด้านอุตสาหกรรมและการทหารแล้ว รัฐบาลอังกฤษยังใช้เวลาที่ว่างเว้นจากการโจมตีในการฟื้นฟูขวัญและกำลังใจของชาวเมืองได้อย่างเห็นผลอีกด้วย

         การโจมตีที่ไร้ศักยภาพของเยอรมันนี้เองที่ทำให้อุตสาหกรรมการผลิตเครื่องบินของอังกฤษแทบไม่ได้รับความกระทบกระเทือน อังกฤษยังคงสามารถผลิตเครื่องบินเข้ามาทดแทนและเพิ่มเติมได้อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะเครื่องบินสปิตไฟร์และเฮอร์ริเคน ดังจะเห็นได้จากสถิติในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1940 อุตสาหกรรมผลิตเครื่องบินของอังกฤษสามารถผลิตเครื่องบินป้อนกองทัพอากาศได้ถึง 496 ลำ ในเดือนสิงหาคมสามารถผลิตเครื่องบินได้อีกถึง 467 ลำ และในเดือนกันยายนผลิตเครื่องบินเพิ่มอีก 467 ลำเท่ากับเดือนที่ผ่านมา ซึ่งจำนวนนี้ยังไม่นับรวมถึงเครื่องบินขับไล่ที่สามารถซ่อมแซมกลับมาใช้ใหม่ได้อีก การผลิตที่ต่อเนื่องนี้เองทำให้กองทัพอากาศอังกฤษมีเครื่องบินอยู่ในระดับที่คงที่ ไม่ลดลงและกลับเพิ่มขึ้นอีกด้วย จากสถิติพบว่าในระหว่างสงครามเหนือเกาะอังกฤษนั้น กองทัพอากาศอังกฤษมีเครื่องบินขับไล่แบบสปิตไฟร์และเฮอร์ริเคนที่มีประสิทธิภาพสูงอยู่ถึง 1,161 ลำ ทั้งๆ ที่ถูกยิงตกซ้ำแล้วซ้ำเล่า แต่นักบินที่รอดชีวิตก็หวนกลับมานำเครื่องบินลำใหม่ที่เพิ่งออกมาจากโรงงานทะยานขึ้นสู่ท้องฟ้าเพื่อปกป้องมาตุภูมิของพวกเขาต่อไป

         ในทางตรงกันข้ามกองทัพอากาศเยอรมันกลับต้องสูญเสียเครื่องบินไปเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะในเดือนสิงหาคม ค.ศ.1940 มีเครื่องบินทุกชนิดถูกยิงตกเสียหายถึง 774 ลำ เป็นความสูญเสียที่เกิดขึ้นกับเครื่องบินขับไล่เป็นจำนวนถึง 426 ลำหรือคิดเป็นร้อยละ 40 ของเครื่องบินขับไล่ทั้งหมดที่ต้องสูญเสียไป ในจำนวนเครื่องบินที่ถูกยิงตกนี้นักบินเยอรมันเกือบทั้งหมดเสียชีวิตหรือไม่ก็บาดเจ็บและถูกจับเป็นเชลย ทำให้ไม่มีโอกาสหวนกลับมาเป็นนักบินอีกเลยจนกระทั่งสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ยิ่งไปกว่านั้นเยอรมันยังจำเป็นต้องถอนเครื่องบินอีกบางส่วนออกจากยุทธการสิงโตทะเล เช่น เครื่องบินดำทิ้งระเบิดแบบ เจยู 87 สตูก้า (Ju 87 Stuka) เพราะมีความเชื่องช้าและล้าสมัยจนได้รับความเสียหายอย่างหนักจากการรบทางอากาศ ส่วนเครื่องบินที่ส่งเข้ามาทดแทนก็คือเครื่องบินแบบเดิมๆ ที่ต้องกลายเป็นเป้านิ่งให้กับเครื่องบินขับไล่ของอังกฤษ จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าเมื่อเปรียบเทียบกำลังกันแล้ว กำลังทางอากาศของอังกฤษมีแต่จะเพิ่มจำนวนและเข้มแข็งขึ้น ส่วนกำลังทางอากาศของเยอรมันยิ่งนับวันยิ่งลดจำนวนลงในขณะที่ยอดสูญเสียนักบินก็เพิ่มสูงขึ้น


สร้างโดย: 
ครู ชาญชัย เปี่ยมชาคร และ นส.ปณิชา อลงกรณ์ชุลี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 633 คน กำลังออนไลน์