• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0de236a87d86d33ccef1eb7174aabd93' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong>พลังงานความร้อนจากเชื้อเพลิง<br />\n</strong></span>                 เชื้อเพลิง  หมายถึง  สารที่เมื่อเผาไหม้แล้วจะให้พลังงานความร้อนออกมา (เปลี่ยนรูปพลังงานเคมีเป็นพลังงานความรอ้น)  โดยองค์ประกอบส่วนใหญ่ของเชื้อเพลิงจะประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน(H)และธาตุคาร์บอน( C )<br />\n             <span style=\"color: #000000\"><strong>   เชื้อเพลิงมีอยู่ได้ทั้ง 3 สถานะ คือ<br />\n</strong></span>   เชื้อเพลิงที่เป็นของแข็ง เช่น  ฟืน ถ่านหิน ขี้เลื่อย แคลเซียมคาร์ไบด์  ฯลฯ<br />\n   เชื้อเพลิงที่เป็นของเหลว  เช่น  น้ำมันดิบ น้ำมันเบนซิน  น้ำมันดีเซล น้ำมันเตา  น้ำมันก๊าด  แอลกฮอล์  ฯลฯ<br />\n   เชื้อเพลิงที่เป็นก๊าซ   เช่น ก๊าซหุงต้ม ก๊าซอะเซติลีน ฯลฯ<br />\n             เชื้อเพลิงแต่ละชนิด จะให้พลังงานความร้อนไม่เท่ากัน  โดยพิจารณาได้จากค่าความร้อนของเชื้อเพลิงนั้นๆ<br />\n<span style=\"color: #000000\"><strong>ค่าความร้อนเชื้อเพลิง</strong></span><br />\n<strong><span style=\"color: #000000\">ค่าความร้อนเชื้อเพลิง (Heating Value)</span></strong> หมายถึง ปริมาณความร้อนที่ได้จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงนั้นๆ 1 หน่วยมวล (สำหรับเชื้อเพลิงที่เป็นของแข็งและของเหลว) หรือ 1 หน่วยปริมาตร (สำหรับเชื้อเพลิงที่เป็นก๊าซ) เมื่อเผาไหม้หมดอย่างสมบูรณ์<br />\n <span style=\"color: #000000\"><strong>   สูตร</strong></span>  <br />\n H = Q         (เชื้อเพลิงที่เป็นของแข็งและของเหลว)<br />\n        M<br />\nH = Q            (เชื้อเพลิงที่เป็นก๊าซ)<br />\n       V<br />\nเมื่อ  H = ค่าความร้อนเชื้อเพลิง มีหน่วยเป็นปริมาณความร้อนต่อมวล หรือปริมาณความร้อนต่อปริมาตร<br />\n        Q = ปริมาณความร้อนที่เชื้อเพลิงนั้นให้ออกมา มีหน่วยเป็นแคลอรี ( cal) กิโลแคลอรี (kcal) จูล (J) หรือ กิโลจูล (kJ)<br />\n       M = มวลของเชื้อเพลิง มีหน่วยเป็นกรัม (g) หรือ กิโลกรัม(kg)<br />\n       V = ปริมาตรของเชื้อเพลิง มีหน่วยเป็นลูกบาศก์เซนติเมตร หรือ ลูกบาศก์เมตร<br />\n             สำหรับการเปรียบเทียบว่าเชื้อเพลิงชนิดใดจะให้พลังงานความร้อนได้มากกว่ากันสามารถทำได้โดยนำเชื้อดพลิงแต่ละชนิดมาต้มน้ำในปริมาตรเท่ากัน ให้มีอุณหภูมิสูงขึ้นเท่ากัน  เชื้อเพลิงชนิดใดใช้หมดไปน้อยที่สุด เชื้อเพลิงนั้นจะมีค่าความร้อนเชื้อเพลิงมากคือเป็นเชื้อเพลิงที่ให้พลังงานความร้อนได้ดี<br />\n             ในการเลือกใช้ประเภทของเชื้อเพลิง นอกจากจะต้องคำนึงถึงความสามารถในการให้พลังงานความร้อนสูงแล้ว ยังต้องพิจารณาความเหมาะสมอื่นๆอีก เช่น ราคาเชื้อเพลิง ความปลอดภัยในการใช้ ปริมาณการผลิต ปริมาณเชื้อเพลิงที่มีในธรรมชาติ ตลอดจนประสิทธิภาพของอุปกรณ์ที่ใช้กับเชื้อเพลิงนั้นๆ ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วอุปกรณ์หรือเครื่องยนต์ต่างๆจะมีประสิทธิภาพในการทำงานไม่ครบ 100 เปอร์เซนต์ จะมีพลังงานส่วนหนึ่งสูญเสียไปโดยไม่เกิดประโยชน์เสมอ เช่น สูญเสียให้กับสิ่งแวดล้อม และบางส่วนสูญเสียไปเพื่อเอาชนะความฝืดของเครื่อยนต์<br />\n                  เพื่อให้ได้ค่าความร้อนเชื้อเพลิงที่ถูกต้องเชื่อถือได้ นักวิทยาศาสตร์จะใช้เครื่องมือที่เรียกว่า  บอมบ์แคลอริมิเตอร์ (bomb calorimeter) ซึ่งเครื่องมือนี้จะป้องกันไม่ให้ปริมาณความร้อนบางส่วนต้องสูญเสียไปกับสิ่งแวดล้อม\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/41744\"><img border=\"0\" width=\"373\" src=\"/files/u14860/1_________________________.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 133px; height: 92px\" /></a><a href=\"/node/41774\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/3.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 134px; height: 101px\" /></a><a href=\"/node/41775\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/2_________________________.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 138px; height: 104px\" /></a><a href=\"/node/41776\"><img border=\"0\" width=\"373\" src=\"/files/u14860/4.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 136px; height: 106px\" /></a> \n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"520\" src=\"/files/u14860/kapook_43507.gif\" height=\"27\" />\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/41778\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/5.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 137px; height: 103px\" /></a><a href=\"/node/41780\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/6.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 134px; height: 109px\" /></a><a href=\"/node/41781\"><img border=\"0\" width=\"373\" src=\"/files/u14860/7.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 139px; height: 117px\" /></a><a href=\"/node/42080\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/8.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 139px; height: 118px\" /></a> \n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"520\" src=\"/files/u14860/kapook_43507.gif\" height=\"27\" />\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/42081\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/9.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 142px; height: 107px\" /></a><a href=\"/node/42082\"><img border=\"0\" width=\"373\" src=\"/files/u14860/10.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 139px; height: 111px\" /></a> <a href=\"/node/42083\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/11.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 130px; height: 117px\" /></a><a href=\"/node/42084\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/12.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 144px; height: 115px\" /></a>\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"520\" src=\"/files/u14860/kapook_43507.gif\" height=\"27\" />\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/42085\"><img border=\"0\" width=\"373\" src=\"/files/u14860/13.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 147px; height: 93px\" /></a><a href=\"/node/42087\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/14.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 144px; height: 100px\" /></a><a href=\"/node/42353\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/15.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 141px; height: 102px\" /></a><a href=\"/node/42392\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/17.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 136px; height: 97px\" /></a> \n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"520\" src=\"/files/u14860/kapook_43507.gif\" height=\"27\" /> \n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/42728\"><img border=\"0\" width=\"373\" src=\"/files/u14860/16.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 144px; height: 99px\" /></a><a href=\"/node/42732\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/18.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 151px; height: 103px\" /></a><a href=\"/node/42736\"><img border=\"0\" width=\"373\" src=\"/files/u14860/19.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 145px; height: 106px\" /></a><a href=\"/node/42738\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/20.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 136px; height: 103px\" /></a>\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"520\" src=\"/files/u14860/kapook_43507.gif\" height=\"27\" />\n</p>\n<p>\n<a href=\"/files/u14860/images_copy.jpg\"><img border=\"0\" width=\"150\" src=\"/files/u14860/images_copy.jpg\" height=\"115\" style=\"width: 136px; height: 84px\" /></a>   <a href=\"/เฉลย\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">เฉลย </span></span></u></a>\n</p>\n', created = 1714742791, expire = 1714829191, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0de236a87d86d33ccef1eb7174aabd93' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

พลังงานความร้อนจากเชื้อเพลิง

พลังงานความร้อนจากเชื้อเพลิง
                 เชื้อเพลิง  หมายถึง  สารที่เมื่อเผาไหม้แล้วจะให้พลังงานความร้อนออกมา (เปลี่ยนรูปพลังงานเคมีเป็นพลังงานความรอ้น)  โดยองค์ประกอบส่วนใหญ่ของเชื้อเพลิงจะประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน(H)และธาตุคาร์บอน( C )
                เชื้อเพลิงมีอยู่ได้ทั้ง 3 สถานะ คือ
   เชื้อเพลิงที่เป็นของแข็ง เช่น  ฟืน ถ่านหิน ขี้เลื่อย แคลเซียมคาร์ไบด์  ฯลฯ
   เชื้อเพลิงที่เป็นของเหลว  เช่น  น้ำมันดิบ น้ำมันเบนซิน  น้ำมันดีเซล น้ำมันเตา  น้ำมันก๊าด  แอลกฮอล์  ฯลฯ
   เชื้อเพลิงที่เป็นก๊าซ   เช่น ก๊าซหุงต้ม ก๊าซอะเซติลีน ฯลฯ
             เชื้อเพลิงแต่ละชนิด จะให้พลังงานความร้อนไม่เท่ากัน  โดยพิจารณาได้จากค่าความร้อนของเชื้อเพลิงนั้นๆ
ค่าความร้อนเชื้อเพลิง
ค่าความร้อนเชื้อเพลิง (Heating Value) หมายถึง ปริมาณความร้อนที่ได้จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงนั้นๆ 1 หน่วยมวล (สำหรับเชื้อเพลิงที่เป็นของแข็งและของเหลว) หรือ 1 หน่วยปริมาตร (สำหรับเชื้อเพลิงที่เป็นก๊าซ) เมื่อเผาไหม้หมดอย่างสมบูรณ์
    สูตร 
 H = Q         (เชื้อเพลิงที่เป็นของแข็งและของเหลว)
        M
H = Q            (เชื้อเพลิงที่เป็นก๊าซ)
       V
เมื่อ  H = ค่าความร้อนเชื้อเพลิง มีหน่วยเป็นปริมาณความร้อนต่อมวล หรือปริมาณความร้อนต่อปริมาตร
        Q = ปริมาณความร้อนที่เชื้อเพลิงนั้นให้ออกมา มีหน่วยเป็นแคลอรี ( cal) กิโลแคลอรี (kcal) จูล (J) หรือ กิโลจูล (kJ)
       M = มวลของเชื้อเพลิง มีหน่วยเป็นกรัม (g) หรือ กิโลกรัม(kg)
       V = ปริมาตรของเชื้อเพลิง มีหน่วยเป็นลูกบาศก์เซนติเมตร หรือ ลูกบาศก์เมตร
             สำหรับการเปรียบเทียบว่าเชื้อเพลิงชนิดใดจะให้พลังงานความร้อนได้มากกว่ากันสามารถทำได้โดยนำเชื้อดพลิงแต่ละชนิดมาต้มน้ำในปริมาตรเท่ากัน ให้มีอุณหภูมิสูงขึ้นเท่ากัน  เชื้อเพลิงชนิดใดใช้หมดไปน้อยที่สุด เชื้อเพลิงนั้นจะมีค่าความร้อนเชื้อเพลิงมากคือเป็นเชื้อเพลิงที่ให้พลังงานความร้อนได้ดี
             ในการเลือกใช้ประเภทของเชื้อเพลิง นอกจากจะต้องคำนึงถึงความสามารถในการให้พลังงานความร้อนสูงแล้ว ยังต้องพิจารณาความเหมาะสมอื่นๆอีก เช่น ราคาเชื้อเพลิง ความปลอดภัยในการใช้ ปริมาณการผลิต ปริมาณเชื้อเพลิงที่มีในธรรมชาติ ตลอดจนประสิทธิภาพของอุปกรณ์ที่ใช้กับเชื้อเพลิงนั้นๆ ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วอุปกรณ์หรือเครื่องยนต์ต่างๆจะมีประสิทธิภาพในการทำงานไม่ครบ 100 เปอร์เซนต์ จะมีพลังงานส่วนหนึ่งสูญเสียไปโดยไม่เกิดประโยชน์เสมอ เช่น สูญเสียให้กับสิ่งแวดล้อม และบางส่วนสูญเสียไปเพื่อเอาชนะความฝืดของเครื่อยนต์
                  เพื่อให้ได้ค่าความร้อนเชื้อเพลิงที่ถูกต้องเชื่อถือได้ นักวิทยาศาสตร์จะใช้เครื่องมือที่เรียกว่า  บอมบ์แคลอริมิเตอร์ (bomb calorimeter) ซึ่งเครื่องมือนี้จะป้องกันไม่ให้ปริมาณความร้อนบางส่วนต้องสูญเสียไปกับสิ่งแวดล้อม

 

 

 

 

 

 

   เฉลย

สร้างโดย: 
จุฑารัตน์ เอื้อปัญจะศิลา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 542 คน กำลังออนไลน์