• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:82cd0c7cbd749841a969ea180b224a55' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span><span style=\"color: #ff0000\">  อุณหภูมิและเทอมมอมิเตอร์</span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span>              <span style=\"color: #ff00ff\"> อุณหภูมิ (Temperature)</span> หมายถึง ระดับของความร้อนในวัตถุ เราสามารถวัดระดับความมากน้อยของความร้อนได้อย่างง่ายๆโดยการใช้กายสัมผัส แต่เนื่องจาก กายสัมผัสของคนเราไม่อาจเชื่อถือได้แน่นอนเสมอไป และยังมีขอบเขตจำกัดอันหนึ่งด้วย เช่น ไม่สามารถวัดสิ่งของที่ร้อนและเย็นมากๆได้ เราจึงจำเป็นต้องอาศัยเครื่องมือมาช่วยเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง มีความเชื่อถือและช่วยขยายขอบเขตของประสาทสัมผัส เครื่องมือที่ใช้วัดอุณหภูมิหรือระดับของความร้อนในวัตถุคือเทอร์มอมิเตอร์ </span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span><br />\n               <span style=\"color: #ff00ff\"> เทอร์มอมิเตอร์ (Thermometer)</span> คำว่า thermoแปลว่า ควมร้อน meter แปลว่าเครื่องวัด (ภาษาไทยบางทีเรียกว่า มาตรา)   เมื่อเป็น Thermometer ก็อาจเรียกว่า มาตราวัดความร้อน แต่เพื่อความสะดวกหรือความเคยชินเราจึงมักเรียกทับศัพท์ไปเลยว่า หน่วยหรือมาตราส่วนของระดับความร้อนจะเป็น องศาเซลเซียส  ในระบบหน่วยเมตริก องศาฟาเรนไฮต์ ในระบบหน่วยอังกฤษ และ เคลวิน ในระบบเอสไอ </span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span>                เทอร์มอมิเตอร์ที่มีการใช้กันอยู่มีทั้งอาศัยหลักการขยายตัวและหดตัวของของแข็งของหลว และก๊าซ เทอร์มอมิเตอร์ที่ทำด้วยของแข็ง เช่น ไพโรมิเตอร์ ใช้สำหรับวัดอุณหภูมิสูงๆ เทอร์มอมิเตอร์ที่ทำด้วยของเหลว เช่น เทอร์มอมิเตอร์ที่บรรจุด้วยปรอทหรือแอกอฮอล์ผสมสี ใช้สำหรับวัดอุณหภูมิปานกลาง เทอร์มอมิเตอร์ที่ทำด้วยก๊าซใช้สำหรับวัดอุณหภูมิต่ำๆ หรือที่มีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก </span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span>               เทอร์มอมิเตอร์ชนิดที่เราคุ้นเคยและพบเห็นบ่อยๆเป็นชนิดของเหลว ประกอบด้วย แท่งแก้วใส มีรูเล็กๆ เป็นหลอดตรงกลาง ปลายล่างทำเป็นกระเปาะและปลายปิดตันทั้งสองข้าง ภายในบรรจุด้วยของเหลวที่ขยายตัวและหดตัวได้ดีเมื่อได้รับความร้อนและคายความร้อน มีคุณสมบัติทึบแสงมองเห็นง่ายและไม่เกาะติดข้างๆหลอดแก้วด้านใน </span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span>รูปที่ 1 </span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<img border=\"0\" width=\"546\" src=\"/files/u14860/17-1.jpg\" height=\"451\" />\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\nที่มา  <a href=\"http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432209100/14-11.JPG\">http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432209100/14-11.JPG</a>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<a href=\"/node/41744\"><img border=\"0\" width=\"373\" src=\"/files/u14860/1_________________________.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 119px; height: 68px\" /></a><a href=\"/node/41774\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/3.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 115px; height: 67px\" /></a><a href=\"/node/41775\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/2_________________________.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 115px; height: 70px\" /></a><a href=\"/node/41776\"><img border=\"0\" width=\"373\" src=\"/files/u14860/4.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 117px; height: 68px\" /></a>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<img border=\"0\" width=\"520\" src=\"/files/u14860/kapook_43507.gif\" height=\"27\" />\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<a href=\"/node/41778\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/5.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 115px; height: 75px\" /></a><a href=\"/node/41780\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/6.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 124px; height: 75px\" /></a><a href=\"/node/41781\"><img border=\"0\" width=\"373\" src=\"/files/u14860/7.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 115px; height: 75px\" /></a><a href=\"/node/42080\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/8.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 111px; height: 71px\" /></a>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<img border=\"0\" width=\"520\" src=\"/files/u14860/kapook_43507.gif\" height=\"27\" />\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<a href=\"/node/42081\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/9.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 117px; height: 73px\" /></a><a href=\"/node/42082\"><img border=\"0\" width=\"373\" src=\"/files/u14860/10.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 116px; height: 73px\" /></a><a href=\"/node/42083\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/11.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 121px; height: 75px\" /></a><a href=\"/node/42084\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/12.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 107px; height: 75px\" /></a>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<img border=\"0\" width=\"520\" src=\"/files/u14860/kapook_43507.gif\" height=\"27\" />\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span>     </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span></span></span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span><a href=\"/node/42085\"><img border=\"0\" width=\"373\" src=\"/files/u14860/13.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 125px; height: 83px\" /></a><a href=\"/node/42087\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/14.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 116px; height: 71px\" /></a><a href=\"/node/42353\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/15.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 120px; height: 73px\" /></a><a href=\"/node/42392\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/9.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 103px; height: 68px\" /></a></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"520\" src=\"/files/u14860/kapook_43507.gif\" height=\"27\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span><a href=\"/node/42728\"><img border=\"0\" width=\"373\" src=\"/files/u14860/16.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 124px; height: 68px\" /></a><a href=\"/node/42732\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/18.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 121px; height: 69px\" /></a><a href=\"/node/42736\"><img border=\"0\" width=\"373\" src=\"/files/u14860/19.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 108px; height: 69px\" /></a><a href=\"/node/42738\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u14860/20.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 106px; height: 65px\" /></a></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"520\" src=\"/files/u14860/kapook_43507.gif\" height=\"27\" />\n</p>\n<p>\n<a href=\"/files/u14860/images_copy.jpg\"><img border=\"0\" width=\"150\" src=\"/files/u14860/images_copy.jpg\" height=\"115\" style=\"width: 136px; height: 84px\" /></a>   <a href=\"/เฉลย\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">เฉลย </span></span></u></a>\n</p>\n', created = 1715504583, expire = 1715590983, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:82cd0c7cbd749841a969ea180b224a55' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อุณหภูมิและเทอมมอมิเตอร์

  อุณหภูมิและเทอมมอมิเตอร์ 

               อุณหภูมิ (Temperature) หมายถึง ระดับของความร้อนในวัตถุ เราสามารถวัดระดับความมากน้อยของความร้อนได้อย่างง่ายๆโดยการใช้กายสัมผัส แต่เนื่องจาก กายสัมผัสของคนเราไม่อาจเชื่อถือได้แน่นอนเสมอไป และยังมีขอบเขตจำกัดอันหนึ่งด้วย เช่น ไม่สามารถวัดสิ่งของที่ร้อนและเย็นมากๆได้ เราจึงจำเป็นต้องอาศัยเครื่องมือมาช่วยเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง มีความเชื่อถือและช่วยขยายขอบเขตของประสาทสัมผัส เครื่องมือที่ใช้วัดอุณหภูมิหรือระดับของความร้อนในวัตถุคือเทอร์มอมิเตอร์ 


                เทอร์มอมิเตอร์ (Thermometer) คำว่า thermoแปลว่า ควมร้อน meter แปลว่าเครื่องวัด (ภาษาไทยบางทีเรียกว่า มาตรา)   เมื่อเป็น Thermometer ก็อาจเรียกว่า มาตราวัดความร้อน แต่เพื่อความสะดวกหรือความเคยชินเราจึงมักเรียกทับศัพท์ไปเลยว่า หน่วยหรือมาตราส่วนของระดับความร้อนจะเป็น องศาเซลเซียส  ในระบบหน่วยเมตริก องศาฟาเรนไฮต์ ในระบบหน่วยอังกฤษ และ เคลวิน ในระบบเอสไอ 

                เทอร์มอมิเตอร์ที่มีการใช้กันอยู่มีทั้งอาศัยหลักการขยายตัวและหดตัวของของแข็งของหลว และก๊าซ เทอร์มอมิเตอร์ที่ทำด้วยของแข็ง เช่น ไพโรมิเตอร์ ใช้สำหรับวัดอุณหภูมิสูงๆ เทอร์มอมิเตอร์ที่ทำด้วยของเหลว เช่น เทอร์มอมิเตอร์ที่บรรจุด้วยปรอทหรือแอกอฮอล์ผสมสี ใช้สำหรับวัดอุณหภูมิปานกลาง เทอร์มอมิเตอร์ที่ทำด้วยก๊าซใช้สำหรับวัดอุณหภูมิต่ำๆ หรือที่มีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก 

               เทอร์มอมิเตอร์ชนิดที่เราคุ้นเคยและพบเห็นบ่อยๆเป็นชนิดของเหลว ประกอบด้วย แท่งแก้วใส มีรูเล็กๆ เป็นหลอดตรงกลาง ปลายล่างทำเป็นกระเปาะและปลายปิดตันทั้งสองข้าง ภายในบรรจุด้วยของเหลวที่ขยายตัวและหดตัวได้ดีเมื่อได้รับความร้อนและคายความร้อน มีคุณสมบัติทึบแสงมองเห็นง่ายและไม่เกาะติดข้างๆหลอดแก้วด้านใน 

รูปที่ 1 

 

ที่มา  http://www.maceducation.com/e-knowledge/2432209100/14-11.JPG

 

 

 

 

 

 

     

   เฉลย

สร้างโดย: 
จุฑารัตน์ เอื้อปัญจะศิลา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 294 คน กำลังออนไลน์