หลักปฏิบัติในการใช้เทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิ

หลักปฏิบัติในการใช้เทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิ
1.     ในกระเปาะเทอร์มอมิเตอร์จุ่มหรือสัมผัสกับสิ่งที่ต้องการจะวัดอุณหภูมิเสมอ และ ระมัดระวังไม่ให้กระเปาะแตะด้านข้างหรือก้น  ภาชนะ

2.     ให้ก้านเทอร์มอมิเตอร์ตั้วตรงในแนวดิ่ง เว้นแต่จะกระทำไม่ได้จริงๆ

3.     อ่านค่าอุณหภูมิเมื่อระดับของเหลวขึ้นไปจนหยุดนิ่งแล้ว

4.      ขณะอ่านค่าอุณหภูมิ ต้องให้สายตาอยู่ระดับเดียวกับระดับของเหลวในเมอร์มอมิเตอร์

5.      อ่านอุณหภูมิขณะที่กระเปาะเทอร์มอมิเตอร์ยังสัมผัสกับสิ่งที่วัดอยู่ เมื่ออ่านเสร็จแล้วจึงเอาออกจากการสัมผัสได้

 ข้อควรระวังในการใช้เทอร์มอมิเตอร์
1.     เนื่องจากกระเปาะของเทอร์มอมิเตอร์บางและแตกง่าย เวลาใช้จึงควรระมัดระวังไม่ให้กระเปาะไปกระทบกับของแข็งๆแรงๆ

2.     ไม่ควรใช้เทอร์มอมิเตอร์ใช้วัดอุณหภูมิที่แตกต่างกันมากๆในเวลาต่อเนื่องกัน เช่น วัดของที่ร้อนจัดแล้วเปลี่ยนมาเป็นวัดของที่เย็นจัดทันที เพราะหลอดแก้วจะขยายตัวและหดตัวอย่างทันทีทันใดทำให้แตกหักได้

3.     อย่าใช้เทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิที่สูงหรือต่ำกว่าสเกลสูงสุด ต่ำสุดมากๆ

4.     เมื่อไข้เสร็จแล้ว ควรล้างทำความสะอาด เซ็ดให้แห้ง แล้วเก็บรักษาไว้ในที่ปลอดภัย

 

 

 

 

 

 

   เฉลย

สร้างโดย: 
จุฑารัตน์ เอื้อปัญจะศิลา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 395 คน กำลังออนไลน์