• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b2baad0b102e30eded3dae225a3e4e2b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83844\"><img height=\"35\" width=\"110\" src=\"/files/u39955/bfl4_1.gif\" border=\"0\" /></a>       <a href=\"/node/89664\"><img height=\"35\" width=\"120\" src=\"/files/u39955/fl14g_5.gif\" border=\"0\" /></a>       <a href=\"/node/89666\"><img height=\"35\" width=\"120\" src=\"/files/u39955/th_0.gif\" border=\"0\" /></a>       <a href=\"/node/89671\"><img height=\"40\" width=\"130\" src=\"/files/u39955/bfl5_1_3.gif\" border=\"0\" style=\"width: 108px; height: 33px\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/89673\"><img height=\"35\" width=\"120\" src=\"/files/u39955/bfl12_0_3.gif\" border=\"0\" /></a>        <a href=\"/node/89674\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u39955/bfl2g_0_3.gif\" border=\"0\" style=\"width: 110px; height: 36px\" /></a>       <a href=\"/node/89677\"><img height=\"31\" width=\"110\" src=\"/files/u39955/bfl7g_1_2.gif\" border=\"0\" style=\"width: 116px; height: 36px\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\"> อารยธรรมอียิปต์สมัยประวัติศาสตร์</span></p>\n<p>               <span style=\"color: #008000\">ชาวอียิปต์ได้ประดิษฐ์อักษรภาพที่เรียกว่า เฮียโรกลิฟิก หรืออักษรศักดิ์สิทธิ์ในเวลาไล่เลี่ยกับชาวสุเมเรียนประดิษฐ์อักษรลิ่มได้คำ ว่า hieros แปลว่า ศักดิ์สิทธิ์และ glyphein หมายถึง การแกะสลัก การประดิษฐ์อักษรดังกล่าวเพื่อบันทึกเรื่องราวต่างๆทางศาสนาและวิทยาการการ เขียนตัวหนังสือช่วงแรกๆเป็นการแกะสลักฝาผนังโบสถ์และสุสานฝังพระฟาโรห์โดย การแกะหรือเขียนบนหิน ไม้ หรือดินเผา ต่อมาชาวเริ่มเขียนตัวเขียนตัวหนังสือ(อักษรภาพ) ลงบนกระดาษปาปิรุสซึ่งทำมาจากต้นปาปิรุสทีมีขึ้นทั่วไปตามบริเวณฝั่งแม่น้ำ ไนล์ และใช้ปล้องหญ้ามาตัดเป็นปากกาจิ้มหมึกที่ใช้เขียนด้วยถ่านป่นผสมยางไม้ ต่อมาอักษรเฮีโรกลิฟิกของอียิปต์ได้รับการดัดแปลงให้เขียนและเข้าใจมากขึ้น โดนเป็นตัวอักษรหวัดที่เรียกว่า เฮียราติก แต่ก็ยังมีลักษณะอักษรที่แทนความหมายต่างๆและได้วิวัฒนาการเป็นอักษร อัลฟาเบต ที่ใช้พยัญชนะและสระเขียนแทนรากฐานของเสียงแต่ละเสียง ซึ่งสามารถนำมาผสมกันอ่านออเสียงเป็นคำที่มีความหมายแตกต่างกันไปได้อย่าง สมบูรณ์ ดังนั้นอักษรเฮียโรกลิฟิกจึงไม่มีใครอ่านออกจนกระทั่งนักปราชญ์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ ชอง ฟรังซัว ชองโปลิยอง ได้ศึกษาค้นคว้าการอ่านอักษรเฮียโรกลิฟิกจากหลักศิลาจารึกโรเซตตาซึ่งช่วย ให้โลกได้ทราบถึงประวัติศาสตร์และเรื่องที่ลี้ลับของอียิปต์โบราณเป็นอันมาก การที่ชาวอียิปต์เชื่อมั่นในเรื่องการฟื้นคืนชีพดูได้จาการแต่งวรรณกรรม วรรณกรรมที่นิยมกันมากในอียิปต์คือ คัมภีร์ของผู้ตาย ที่ชี้แจงให้รู้ว่าเมื่อมีคนหนึ่งคนใดตายไปแล้วจะปฏิบัติตนอย่างไรในยมโลก นอกเหนือจากนี้แล้วก็ยังมี วิชาดาราศาสตร์ วิชาแพทย์ วิทยาศาสตร์ การดนตรีและอื่นๆ</span></p>\n<p>               ในช่วงที่อียิปต์เป็นผู้นำด้านอารยธรรม ก็ได้ผ่านทั้งความเจริญและความเสื่อม เพราะใน สมัยอาณาจักรใหม่ฟาโรห์ได้ทำนุบำรุงด้านต่างมีการส่งเสริมการค้ากับต่างชาติ เป็นสมัยที่รุ่งเรืองมากเรียกว่า ยุคทองแห่งอียิปต์ จนปลายสมัยราชวงศ์อำนาจของฟาโรห์ก็เริ่มน้อยลง เลยสูญเสียพระราชอำนาจให้แก่พระและขุนนาง ฟาโรห์พยายามกู้ศักดิ์ศรีกลับคืนโดยการเปลี่ยนศาสนาและประชาชนทั่วไปต้อง เคารพบูชาฟาโรห์จึงเกิดความเกลียดชังและโกรธแค้น ทำให้อียิปต์ทรุดโทรมลงไปอีก ต่อมาอียิปต์สูญเสียอำนาจให้แก่พวกอัสซีเรียซึ่งยึดครองอำนาจได้ไม่นานนักก็ เสียอำนาจให้แก่พวะกเปอร์เชีย กรีก และโรมันตามลำดับ จนสุท้ายอียิปต์เปลี่ยนไปถือศาสนาอิสลามดังนั้นอียิปต์สมัยหลังจึงไม่ได้รวม กลุ่มกับตะวันตกได้อีกต่อไปเพราะทั้งความสัมพันธ์ทางด้านต่างๆมีความใกล้ชิด กับกลุ่มประเทศด้านตะวันออกมากกว่า แต่ถ้าหากกล่าวถึงอียิปต์สมัยโบราณแล้ว อียิปต์เป็นต้นกำเนิดอารยธรรมตะวันตกควบคู่กับอารยธรรมเมโสโปเตเมีย ซึ่งถ่ายทอดให้แก่ กรีกและโรมัน ถือว่าเป็นต้นกำเนิดของศิลปวัฒนธรรมของโลกตะวันตกอย่างแท้จริง \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"344\" width=\"516\" src=\"/files/u39955/ey1.jpg\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #008000\"> อักษรเฮียโรกลิฟฟิก </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"227\" width=\"267\" src=\"/files/u39955/ey2.jpg\" /> <img height=\"222\" width=\"255\" src=\"/files/u39955/ey3.jpg\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div>\n<div style=\"text-align: left; background-color: transparent; color: #000000; overflow: hidden; text-decoration: none; border: medium none\">\n<span style=\"color: #008000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left; background-color: transparent; color: #000000; overflow: hidden; text-decoration: none; border: medium none\">\n<span style=\"color: #008000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left; background-color: transparent; color: #000000; overflow: hidden; text-decoration: none; border: medium none\">\n<span style=\"color: #008000\"></span>\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: left; background-color: transparent; color: #000000; overflow: hidden; text-decoration: none; border: medium none\">\n<span style=\"color: #008000\">  \n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/83844\"><img height=\"35\" width=\"110\" src=\"/files/u39955/bfl4_1.gif\" border=\"0\" /></a>        <a href=\"/node/89664\"><img height=\"35\" width=\"120\" src=\"/files/u39955/fl14g_6.gif\" border=\"0\" /></a>        <a href=\"/node/89666\"><img height=\"35\" width=\"120\" src=\"/files/u39955/th_0.gif\" border=\"0\" /></a>        <a href=\"/node/89671\"><img height=\"40\" width=\"130\" src=\"/files/u39955/bfl5_1_4.gif\" border=\"0\" style=\"width: 110px; height: 36px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/89673\"><img height=\"35\" width=\"120\" src=\"/files/u39955/bfl12_0_4.gif\" border=\"0\" /></a>       <a href=\"/node/89674\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u39955/bfl2g_0_4.gif\" border=\"0\" style=\"width: 104px; height: 35px\" /></a>        <a href=\"/node/89677\"><img height=\"31\" width=\"110\" src=\"/files/u39955/bfl7g_1_3.gif\" border=\"0\" style=\"width: 109px; height: 34px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p></p></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left; background-color: transparent; color: #000000; overflow: hidden; text-decoration: none; border: medium none\">\n<span style=\"color: #008000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left; background-color: transparent; color: #000000; overflow: hidden; text-decoration: none; border: medium none\">\n<span style=\"color: #008000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left; background-color: transparent; color: #000000; overflow: hidden; text-decoration: none; border: medium none\">\n<span style=\"color: #008000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left; background-color: transparent; color: #000000; overflow: hidden; text-decoration: none; border: medium none\">\n<span style=\"color: #008000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left; background-color: transparent; color: #000000; overflow: hidden; text-decoration: none; border: medium none\">\n<span style=\"color: #008000\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left; background-color: transparent; color: #000000; overflow: hidden; text-decoration: none; border: medium none\">\n<span style=\"color: #008000\">ชน</span><span style=\"color: #008000\">ชาติเก่าแก่บางกลุ่มในเอเชียไมเนอร์และดินแดนใกล้เคียง<br />\n</span><span>\n<p></p></span>\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: left; background-color: transparent; color: #000000; overflow: hidden; text-decoration: none; border: medium none\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: left; background-color: transparent; color: #000000; overflow: hidden; text-decoration: none; border: medium none\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: left; background-color: transparent; color: #000000; overflow: hidden; text-decoration: none; border: medium none\">\n<img height=\"349\" width=\"396\" src=\"/files/u39955/ey4.jpg\" /> \n</div>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">เอ เชียไมเนอร์ หมายถึง ดินแดนที่อยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณที่อยู่ระหว่างทะเลดำกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ในปัจจุบันได้แก่ ดินแดนปาเลสไตน์ ตุรกี และซีเรีย นอกจากแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ในดินแดนเมโสโปเตเมียและอียิปต์แล้ว ชนชาติเก่าแก่บางกลุ่มในเอเชียไมเนอร์และดินแดนใกล้เคียงได้มีส่วนสำคัญใน การเสริมสร้างอารยธรรมตะวันตกเช่นเดียวกัน ชนชาติสำคัญ ได้แก่ ฟินิเชียนและฮิบรู</span></p>\n<p>ฟินิเชียน ชาวฟินิเชียน เป็นชนเผ่าเซเมติกเผ่าหนึ่ง มีชื่อเรียกดั้งเดิมว่า พวกแคนาไนต์ พวกนี้อาศัยอยู่ในดินแดนแคนาน บริเวณแถบซีเรีย ปาเลสไตน์ อารยธรรมของพวกแคนาไนต์มีรากฐานมาจากอารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์ ในระหว่าง 1,300 - 1,000 ปีก่อนคริสต์ศักราชได้ถูกพสกอิสราเอลไลต์ และฟิลิสติน เข้ารุกรานจนต้องสูญเสียดินแดนเกือบทั้งหมด ยกเว้นแต่บริเวณดินแดนแถบชายฝั่งทะเลแคบๆริมฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่ เรียกว่าาฟินิเชียเท่านั้น หลังจากนั้นเป็นต้นมาพวกแคนาไนต์ก็มีชื่อเรียกใหม่ว่า ฟินิเชียน ชาวฟินิเชียนต้องดำรงชีวิตในสภาพแวดล้อมที่อยู่ทะเล จึงทำให้ชาวฟินเชียนกลายเป็นผู้เชี่ยวชาญในการเดินทะเลและการค้าเป็นอันมาก ชาวฟินิเชียนได้สร้างเรือใบขนาดใหญ่ใช้ในการเดินทะเล และสามารถควบคุมการค้าในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนได้เป็นเวลาหลายร้อยปี ตลอดจนได้สร้างเมืองท่าขนาดใหญ่หลายแห่ง เช่น เมืองไทร์ เมืองไซดอน เมืองบีบลอส เป็นต้น นอกจากนี้ชาวฟินิเชียนยังรับสินค้าอินเดียและเมโสโปเตเมียไปขายยังอียิปต์ เอเชียไมเนอร์ แอฟริกาเหนือ และชายฝั่งตะวันตกของทวีปยุโรปและยังเดินทางผ่านช่องแคบยิบรอลตาร์เข้าไปสู่ มหาสมุทรแอตแลนติกเป็นพวกรก พ่อค้าฟินิเชียนสามารถนำเรือสินค้าไปขายกับเกาะอังกฤษ และได้นำเอาอารยธรรมตะวันออกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปเผยแพร่ทางตะวันตก จัดตั้งอาณาจักรบนเกาะซิซิลี และชายฝั่งทางตอนเหนือของแอฟริกา อันได้แก่ เมืองคาร์เทจ อีกด้วย</p>\n<p>เมื่อ ๗๕๐ ปีก่อนคริสต์ศักราช พวกอัสซีเรียนได้เข้ายึดครองดินแดนที่สำคัญๆของพวกฟินิเชียนได้เกือบทั้งหมด ยกเว้นแต่เมืองคาร์เทจซึ่งเจริญรุ่งเรืองต่อมาจนถูกชาวโรมันทำลายใน ๑๔๖ ปีก่อนคริสต์ศักราชเนื่องจากชาวฟินิเชียนได้เดินทางไปค้าขายในดินแดนต่างๆ จึงรับเอาวัฒนธรรมตัวหนังสือจากที่ต่างๆมาปรับปรุงสร้างรูปตัวหนังสือขึ้น ใหม่ เมื่อประมาณ ๑,๐๐๐ - ๙๐๐ ปีก่อนคริสต์ศักราช พวกฟินิเชียนได้ดัดแปลงแก้ใขอักษรเฮียราติก ของอียิปต์ และอักษรลิ่มหรือคูนิฟอร์มของชาวสุเมเรียน มาเป็นอักษรอัลฟาเบต ซึ่งสะดวกในการบันทึกเรื่องราวต่างๆบัญชีการค้า และอื่นๆอักษรอัลฟาเบตของฟินิเชียนเป็นที่นิยมแพร่หลายทั่วไป และชาติต่างๆ ได้นำไปดัดแปลงเป็นตัวหนังสือของตน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาษากรีกและละตินอักษรของฟินิเชียนจึงเป็นต้นตระกูลตัว อักษรอัลฟาเบตของชาติตะวันตกและตะวันออก ชาวกรีกได้ปรับปรุงตัวหนังสือของฟินิเชียนให้สวยงามขึ้นและสะดวกยิ่งขึ้นใน การเขียนและอ่าน โดยเพิ่มสระขึ้นในภายหลัง</p>\n<p>ฮีบรู พวกฮิบรู หรือยิว เป็นชนเผ่าเซมิติกที่เดินทางเร่ร่อนในทะเลทราย เมื่อประมาณ ๑,๔๐๐ ปีก่อนคริสต์ศักราช ได้อพยพเข้าไปอยู่ในอียิปต์ และถูกจับเป็นทาส กล่วกันว่า โมเลส ผู้นำคนสำคัญได้ปลดแอกชาวฮิบรูจากการเป็นทาสของอียปต์และพาฮิบรูทั้งหมดอพยพ ไปตั้งถิ่นฐานในดินแดนแห่งคำมั่นสัญญา อันได้แก่ ดินแดนปาเลสไตน์ หรือแคนานที่เชื่อกันว่าเป็นดินแดนที่พระเจ้าของบรรพบุรุษอับราฮัม หรือ พระยะโฮวา ทรงประทานให้ ต่อมาได้สถาปนาเป็นอาณาจักรมีนครหลวงอยู่ที่เยรูซาเลม และขยายเป็นจักรวรรดิอิสราเอลแต่ก็ไม่สามารถจะรักษาความเป็นปึกแผ่นไว้ได้ นาน เกิดแตกแยกออกเป็น 2 ส่วน คือ อาณาจักรอิสราเอลทางตอนเหนือและจูดาห์ทางใต้ ต่อมาอาณาจักรอิสราเอลทางตอนเหนือถูกทำลายโดยพวกอัสซีเรียนและจูดาห์ตกเป็น เมืองขึ้นของอาณาจักรบาบิโลเนียใหม่ของพระเจ้าเนบูคัดเนซซาร์ ประชาชนถูกกวาดต้อนไปอยู่บาบิโลเนียใหม่ ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในนามว่า การคุมขังแห่งบาบิโลเนีย ในเวลาต่อมาพวกฮิบรูก็ตกอยู่ใต้การปกครองของเปอร์เซีย กรีก โรมัน แต่ใน ค.ศ.70พวกฮิบรูเป็นกบฏต่อจักรวรรดิโรมัน และดินแดนปาเลสไตน์ได้ถูกทหารโรมันเข้าทำลาย ชาวฮิบรูจึงกลายเป็นชนเผ่าเร่ร่อน และไม่มีดินแดนเป็นของตัวเอง จนกระทั่งเมื่อสงครามโลกครั้งที่2สิ้นสุดลง ฝ่ายสัมพันธมิตรจึงตกลงจัดตั้งประเทศอิสราเอลของชาวฮิบรูขึ้นเป็นประเทศ อิสระ มรดกสำคัญที่ชาวฮิบรูมอบไว้ให้อารยธรรมตะวันตก คือ ศาสนา ศาสนาของชาวฮิบรูเรียกว่า ศาสนายูดาย เป็นศาสนาที่เน้นการบูชาพระเจ้าองค์เดียว ซึ่งได้แก่ พระยะโฮวา ความผูกพันระหว่างพระยะโฮวาและชาวฮิบรูได้รับการบันทึกไว้ในพันธสัญญาเดิม หรือพระคัมภีร์เก่า ซึ่งถือกันว่าเป็นพระคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ที่ทุกคนต้องให้ความเคารพปฏิบัติ ตามการนับถือพระเจ้าองค์เดียวของชาวฮิบรูเป็นต้นกำเนิดของศาสนาที่สำคัญของ โลก คือ ศาสนายูดาย คริสต์ และอิสลาม ซึ่งศาสนาทั้งสามดังกล่าวนี้มีอิทธิพลอย่างมากต่อการสร้างอารยธรรมของโลก ตะวันออก พระคัมภีร์ของชาวฮิบรูให้เรื่องราวประวัติศาสตร์ของชาวฮิบรูและชนชาติโบราณ อื่นๆที่แสดงให้เห็นถึงเหตุการณ์ต่างๆในประวัติศาสตร์ในยุคโบราณ ชนชาติโบราณ ขนบธรรมเนียม กฎ ข้อบังคับ และได้รับการแปลเป็นภาษากรีก ภาษาละติน ตลอดจนภาษาท้องถิ่นของโลกตะวันตกและโลกตะวันออกทุกภาษา อาจกล่าวได้ว่า พระคัมภีร์ของพวกฮิบรูเป็นวรรณกรรมที่ยิ่งใหญ่ที่สุดเรื่องหนึ่ง และเป็นผลงานที่ส่งเสริมความเจริญของอารยธรรมตะวันตก ทั้งในด้านภาษา ชีวิตความเป็นอยู่ และ ทัศนคติในการครองชีพมากที่สุด \n</p>\n<p>\n<i><span style=\"color: #008000\"></span></i>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"></span>\n</p>\n', created = 1715607457, expire = 1715693857, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b2baad0b102e30eded3dae225a3e4e2b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อียิปต์

 

                    

 

              

 

 อารยธรรมอียิปต์สมัยประวัติศาสตร์

               ชาวอียิปต์ได้ประดิษฐ์อักษรภาพที่เรียกว่า เฮียโรกลิฟิก หรืออักษรศักดิ์สิทธิ์ในเวลาไล่เลี่ยกับชาวสุเมเรียนประดิษฐ์อักษรลิ่มได้คำ ว่า hieros แปลว่า ศักดิ์สิทธิ์และ glyphein หมายถึง การแกะสลัก การประดิษฐ์อักษรดังกล่าวเพื่อบันทึกเรื่องราวต่างๆทางศาสนาและวิทยาการการ เขียนตัวหนังสือช่วงแรกๆเป็นการแกะสลักฝาผนังโบสถ์และสุสานฝังพระฟาโรห์โดย การแกะหรือเขียนบนหิน ไม้ หรือดินเผา ต่อมาชาวเริ่มเขียนตัวเขียนตัวหนังสือ(อักษรภาพ) ลงบนกระดาษปาปิรุสซึ่งทำมาจากต้นปาปิรุสทีมีขึ้นทั่วไปตามบริเวณฝั่งแม่น้ำ ไนล์ และใช้ปล้องหญ้ามาตัดเป็นปากกาจิ้มหมึกที่ใช้เขียนด้วยถ่านป่นผสมยางไม้ ต่อมาอักษรเฮีโรกลิฟิกของอียิปต์ได้รับการดัดแปลงให้เขียนและเข้าใจมากขึ้น โดนเป็นตัวอักษรหวัดที่เรียกว่า เฮียราติก แต่ก็ยังมีลักษณะอักษรที่แทนความหมายต่างๆและได้วิวัฒนาการเป็นอักษร อัลฟาเบต ที่ใช้พยัญชนะและสระเขียนแทนรากฐานของเสียงแต่ละเสียง ซึ่งสามารถนำมาผสมกันอ่านออเสียงเป็นคำที่มีความหมายแตกต่างกันไปได้อย่าง สมบูรณ์ ดังนั้นอักษรเฮียโรกลิฟิกจึงไม่มีใครอ่านออกจนกระทั่งนักปราชญ์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ ชอง ฟรังซัว ชองโปลิยอง ได้ศึกษาค้นคว้าการอ่านอักษรเฮียโรกลิฟิกจากหลักศิลาจารึกโรเซตตาซึ่งช่วย ให้โลกได้ทราบถึงประวัติศาสตร์และเรื่องที่ลี้ลับของอียิปต์โบราณเป็นอันมาก การที่ชาวอียิปต์เชื่อมั่นในเรื่องการฟื้นคืนชีพดูได้จาการแต่งวรรณกรรม วรรณกรรมที่นิยมกันมากในอียิปต์คือ คัมภีร์ของผู้ตาย ที่ชี้แจงให้รู้ว่าเมื่อมีคนหนึ่งคนใดตายไปแล้วจะปฏิบัติตนอย่างไรในยมโลก นอกเหนือจากนี้แล้วก็ยังมี วิชาดาราศาสตร์ วิชาแพทย์ วิทยาศาสตร์ การดนตรีและอื่นๆ

               ในช่วงที่อียิปต์เป็นผู้นำด้านอารยธรรม ก็ได้ผ่านทั้งความเจริญและความเสื่อม เพราะใน สมัยอาณาจักรใหม่ฟาโรห์ได้ทำนุบำรุงด้านต่างมีการส่งเสริมการค้ากับต่างชาติ เป็นสมัยที่รุ่งเรืองมากเรียกว่า ยุคทองแห่งอียิปต์ จนปลายสมัยราชวงศ์อำนาจของฟาโรห์ก็เริ่มน้อยลง เลยสูญเสียพระราชอำนาจให้แก่พระและขุนนาง ฟาโรห์พยายามกู้ศักดิ์ศรีกลับคืนโดยการเปลี่ยนศาสนาและประชาชนทั่วไปต้อง เคารพบูชาฟาโรห์จึงเกิดความเกลียดชังและโกรธแค้น ทำให้อียิปต์ทรุดโทรมลงไปอีก ต่อมาอียิปต์สูญเสียอำนาจให้แก่พวกอัสซีเรียซึ่งยึดครองอำนาจได้ไม่นานนักก็ เสียอำนาจให้แก่พวะกเปอร์เชีย กรีก และโรมันตามลำดับ จนสุท้ายอียิปต์เปลี่ยนไปถือศาสนาอิสลามดังนั้นอียิปต์สมัยหลังจึงไม่ได้รวม กลุ่มกับตะวันตกได้อีกต่อไปเพราะทั้งความสัมพันธ์ทางด้านต่างๆมีความใกล้ชิด กับกลุ่มประเทศด้านตะวันออกมากกว่า แต่ถ้าหากกล่าวถึงอียิปต์สมัยโบราณแล้ว อียิปต์เป็นต้นกำเนิดอารยธรรมตะวันตกควบคู่กับอารยธรรมเมโสโปเตเมีย ซึ่งถ่ายทอดให้แก่ กรีกและโรมัน ถือว่าเป็นต้นกำเนิดของศิลปวัฒนธรรมของโลกตะวันตกอย่างแท้จริง

 

 

  อักษรเฮียโรกลิฟฟิก

 

สร้างโดย: 
น.ส.กานต์ชนิต พัฒนะอิ่ม เเละ นาง พีรทิพย์ สุคันธเมศวร์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 269 คน กำลังออนไลน์