• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9d5673b1f61f07b7c990c6df506b1f36' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/88843\"><img height=\"73\" width=\"362\" src=\"/files/u41158/born.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 186px; height: 55px\" /></a>    <a href=\"/node/88848\"><img height=\"73\" width=\"362\" src=\"/files/u41158/planet.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 186px; height: 55px\" /></a>  <a href=\"/node/89173\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/TheSun.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 65px\" /></a><a href=\"/node/89177\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/mercury.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 190px; height: 65px\" /></a>  <a href=\"/node/89178\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Venus.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 190px; height: 65px\" /></a>   <a href=\"/node/89184\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Earth.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 192px; height: 64px\" /></a><a href=\"/node/89186\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Mar.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 188px; height: 64px\" /></a>  <a href=\"/node/89189\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Jupiter.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 190px; height: 64px\" /></a>    <a href=\"/node/89196\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Saturn.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 65px\" /></a><a href=\"/node/89201\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Neptune01.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 64px\" /></a>        <a href=\"/node/89202\"><img height=\"74\" width=\"305\" src=\"/files/u41158/web.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 156px; height: 58px\" /></a>            <a href=\"/node/89204\"><img height=\"74\" width=\"305\" src=\"/files/u41158/me.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 156px; height: 59px\" /></a>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Uranus.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"295\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/uranus_1.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/uranus_images/uranus_1.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/uranus_images/uranus_1.jpg</a> \n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #ff6600\">ดาวเคราะห์ชั้นนอกดวงต่อไปถัดจากดาวเสาร์ได้แก่ดาวยูเรนัส ดาวยูเรนัสเป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่เป็นที่สามในระบบสุริยะ มันมีลักษณะเลือนลาง จะต้องมองดูด้วยกล้องโทรทัศน์เท่านั้นจึงสามารถมองเห็น เราเคยคิดว่ามันเป็นดาวฤกษ์ ในปี 1781 William Herschel ได้ใช้กล้องโทรทัศน์ค้นพบว่า ดาวยูเรนัสเป็นดาวเคราะห์ เขาเห็นแผ่นกลมสีเขียวที่ไม่มีรอย ต่อมา นักดาราศาสตร์ได้พบดาวบริวารห้าดวง ในปี 1977 ได้มีการพบวงแหวนของดาวยูเรนัส ถึงแม้ว่านักดาราศาสตร์จะใช้กล้องโทรทัศน์ขนาดใหญ่ที่สุด แต่เขาก็ยังไม่สามารถค้นหาอะไรได้มากมายนักเกี่ยวกับดาวยูเรนัสเอง ในปี 1986 ยานอวกาศวอยาเจอร์2 ได้บินผ่านดาวยูเรนัสและได้ส่งภาพที่ชัดเจนของดาวยูเรนัส และวงแหวนตลอดจนดาวบริวารของมันกลับมายังพื้นโลก ในที่สุดเราก็ได้ความรู้เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับดาวยูเรนัส </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cd31bb\"><strong>โลกของน้ำ<br />\n</strong>     ภาพของดาวยูเรนัสจากยานอวกาศได้อธิบายว่า ทำไมนักดาราศาสตร์จึงไม่สามารถมองเห็นดาวยูเรนัสได้มากนัก ดาวยูเรนัสทั้งดวงปกคลุมด้วยหมอกสีเขียวแก่ ยานวอยาเจอร์ได้พบกลุ่มควันสองสามกลุ่มใต้หมอก แสดงให้เห็นว่าลมกำลังพัดรอบๆดาวยูเรนัสในอัตราความเร็วถึง 440 ไมล์ต่อชั่วโมง บรรยากาศประกอบด้วยแก๊ซไฮโดรเจน ฮีเลียม และมีเธน นักดาราศาสตร์บางคนคิดว่าพื้นผิวของดาวยูเรนัสปกคลุมด้วยมหาสมุทรที่ร้อน เหมือนกับดาวจูปิเตอร์และดาวเสาร์ แต่ประกอบด้วยน้ำร้อนแทนที่จะเป็นแก๊ซ ที่ใจกลางของดาวยูเรนัสจะมีแกนก้อนหินเล็กๆ </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"><img height=\"208\" width=\"242\" src=\"/files/u41158/uranus-stuc.jpg\" align=\"left\" border=\"0\" /><strong>โครงสร้างดาวยูเรนัส</strong> <br />\n         ข้อมูลจากยานวอยเอเจอร์ 2 แสดงว่า ดาวยูเรนัสมีโครงสร้าง คล้ายดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ คือ มีใจกลางเป็นเหล็กและ หินแข็งขนาดเล็ก ร้อนจัด อุณหภูมิสูงราว 7,000 เคลวิน ภายใต้ความกดดันสูงมาก ถัดขึ้นมาเป็นชั้นน้ำแข็งมีเทนและ แอมโมเนียแข็งหนามากล้อมรอบใจกลางไว้ จากนั้นจึงเป็นชั้นของ ก๊าซไฮโดรเจน ฮีเลียม มีเทน แอมโมเนีย และน้ำแข็ง หนาหลายพันกิโลเมตร ที่เรามองเห็นเป็นตัวดวงดาวยูเรนัสนั่นเอง บรรยากาศ ประกอบด้วย ไฮโดรเจน ฮีเลียม มีเทน อะเซ็ตทิลีน และเนื่องจากก๊าซมีเทนในบรรยากาศ ชั้นบนดูดซับแสงสีแดงไว้ ทำให้เรามองเห็นดาวยูเรนัสมีสีน้ำเงินเขียว </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.rmutphysics.com/charud/transparency/8/astronomy/lesson5.files/slide0088.htm\">http://www.rmutphysics.com/charud/transparency/8/astronomy/lesson5.files/slide0088.htm</a>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"295\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/uranus_2.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/uranus_images/uranus_2.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/uranus_images/uranus_2.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #8127c3\"><strong>วงแหวนมีแสงกระพริบได้ <br />\n</strong>          สภาพแท้จริง ดาวยูเรนัส ขาดแคลนสภาพการเกิด ลมฟ้าอากาศทั้งๆ ที่โครงสร้างภายในเป็นประเภทเดียวกับดาวพฤหัส ดาวเสาร์ เหตุผลก็คือการสันดาปภายในของดาวยูเรนัสต่ำ ด้วยภายในแกนลึก มีของเหลวที่ก่อตัวจากน้ำแข็ง (Icymaterials) มีองค์ประกอบก๊าซมีเทน ก๊าซแอมโมเนียทำให้บนพื้นผิวคล้ายกับ การเลื่อนลอยของก๊าซ ไม่มีแถบของกลุ่มเมฆหนาเช่นดาวเคราะห์อื่นที่กล่าวมา และสนามแม่เหล็ก ของดาวยูเรนัส มีลักษณะผิดปกติ ไม่เหมือนโลก ไม่เหมือนดาวเสาร์และดาวพฤหัส โดยจะเป็นมุมทแยง 60 องศามีพลังสนามแม่เหล็กมากกว่าโลกถึง 48 เท่าอดเล่าถึงเรื่องวงแหวน ของดาวยูเรนัสไม่ได้ว่า เส้นวงแหวนเมื่อมองระยะไกลจากโลก ขณะมีดาวโคจรผ่านด้านหลัง จะกระพริบได้เหมือนเปิด-ปิด อย่างแปลกประ-หลาด เมื่อดาวโคจรห่างจนหายลับไป จะกระพริบถี่เหมือนไฟฉุกเฉินรถพยาบาลปรากฎการณ์ดังกล่าวอธิบายได้ว่า การกระพริบเกิดจากแสงของดาวกระทบกับแนววงแหวนมีลักษณะ ของกลุ่มหินก้อนน้ำแข็งโคจร มีระยะห่างกระจัดกระจายแสงจึงเกิดขึ้นเป็นระยะๆ ปัจจุบันยังไม่เข้าใจว่า ทำไมวงแหวนดาวยูเรนัสมีความบางและเอียงกระดกมาก </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"269\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/uranus_new_1.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/uranus_images/uranus_new_1.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/uranus_images/uranus_new_1.jpg</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/82234\"><img height=\"125\" width=\"129\" src=\"/files/u41158/Home.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 99px; height: 107px\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719377182, expire = 1719463582, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9d5673b1f61f07b7c990c6df506b1f36' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5f5835947e9cea382d6cfcd65cbc08e7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/88843\"><img height=\"73\" width=\"362\" src=\"/files/u41158/born.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 186px; height: 55px\" /></a>    <a href=\"/node/88848\"><img height=\"73\" width=\"362\" src=\"/files/u41158/planet.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 186px; height: 55px\" /></a>  <a href=\"/node/89173\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/TheSun.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 65px\" /></a><a href=\"/node/89177\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/mercury.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 190px; height: 65px\" /></a>  <a href=\"/node/89178\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Venus.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 190px; height: 65px\" /></a>   <a href=\"/node/89184\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Earth.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 192px; height: 64px\" /></a><a href=\"/node/89186\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Mar.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 188px; height: 64px\" /></a>  <a href=\"/node/89189\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Jupiter.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 190px; height: 64px\" /></a>    <a href=\"/node/89196\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Saturn.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 65px\" /></a><a href=\"/node/89201\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Neptune01.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 64px\" /></a>        <a href=\"/node/89202\"><img height=\"74\" width=\"305\" src=\"/files/u41158/web.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 156px; height: 58px\" /></a>            <a href=\"/node/89204\"><img height=\"74\" width=\"305\" src=\"/files/u41158/me.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 156px; height: 59px\" /></a>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Uranus.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"295\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/uranus_1.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/uranus_images/uranus_1.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/uranus_images/uranus_1.jpg</a> \n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #ff6600\">ดาวเคราะห์ชั้นนอกดวงต่อไปถัดจากดาวเสาร์ได้แก่ดาวยูเรนัส ดาวยูเรนัสเป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่เป็นที่สามในระบบสุริยะ มันมีลักษณะเลือนลาง จะต้องมองดูด้วยกล้องโทรทัศน์เท่านั้นจึงสามารถมองเห็น เราเคยคิดว่ามันเป็นดาวฤกษ์ ในปี 1781 William Herschel ได้ใช้กล้องโทรทัศน์ค้นพบว่า ดาวยูเรนัสเป็นดาวเคราะห์ เขาเห็นแผ่นกลมสีเขียวที่ไม่มีรอย ต่อมา นักดาราศาสตร์ได้พบดาวบริวารห้าดวง ในปี 1977 ได้มีการพบวงแหวนของดาวยูเรนัส ถึงแม้ว่านักดาราศาสตร์จะใช้กล้องโทรทัศน์ขนาดใหญ่ที่สุด แต่เขาก็ยังไม่สามารถค้นหาอะไรได้มากมายนักเกี่ยวกับดาวยูเรนัสเอง ในปี 1986 ยานอวกาศวอยาเจอร์2 ได้บินผ่านดาวยูเรนัสและได้ส่งภาพที่ชัดเจนของดาวยูเรนัส และวงแหวนตลอดจนดาวบริวารของมันกลับมายังพื้นโลก ในที่สุดเราก็ได้ความรู้เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับดาวยูเรนัส </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cd31bb\"><strong>โลกของน้ำ<br />\n</strong>     ภาพของดาวยูเรนัสจากยานอวกาศได้อธิบายว่า ทำไมนักดาราศาสตร์จึงไม่สามารถมองเห็นดาวยูเรนัสได้มากนัก ดาวยูเรนัสทั้งดวงปกคลุมด้วยหมอกสีเขียวแก่ ยานวอยาเจอร์ได้พบกลุ่มควันสองสามกลุ่มใต้หมอก แสดงให้เห็นว่าลมกำลังพัดรอบๆดาวยูเรนัสในอัตราความเร็วถึง 440 ไมล์ต่อชั่วโมง บรรยากาศประกอบด้วยแก๊ซไฮโดรเจน ฮีเลียม และมีเธน นักดาราศาสตร์บางคนคิดว่าพื้นผิวของดาวยูเรนัสปกคลุมด้วยมหาสมุทรที่ร้อน เหมือนกับดาวจูปิเตอร์และดาวเสาร์ แต่ประกอบด้วยน้ำร้อนแทนที่จะเป็นแก๊ซ ที่ใจกลางของดาวยูเรนัสจะมีแกนก้อนหินเล็กๆ </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"><img height=\"208\" width=\"242\" src=\"/files/u41158/uranus-stuc.jpg\" align=\"left\" border=\"0\" /><strong>โครงสร้างดาวยูเรนัส</strong> <br />\n         ข้อมูลจากยานวอยเอเจอร์ 2 แสดงว่า ดาวยูเรนัสมีโครงสร้าง คล้ายดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ คือ มีใจกลางเป็นเหล็กและ หินแข็งขนาดเล็ก ร้อนจัด อุณหภูมิสูงราว 7,000 เคลวิน ภายใต้ความกดดันสูงมาก ถัดขึ้นมาเป็นชั้นน้ำแข็งมีเทนและ แอมโมเนียแข็งหนามากล้อมรอบใจกลางไว้ จากนั้นจึงเป็นชั้นของ ก๊าซไฮโดรเจน ฮีเลียม มีเทน แอมโมเนีย และน้ำแข็ง หนาหลายพันกิโลเมตร ที่เรามองเห็นเป็นตัวดวงดาวยูเรนัสนั่นเอง บรรยากาศ ประกอบด้วย ไฮโดรเจน ฮีเลียม มีเทน อะเซ็ตทิลีน และเนื่องจากก๊าซมีเทนในบรรยากาศ ชั้นบนดูดซับแสงสีแดงไว้ ทำให้เรามองเห็นดาวยูเรนัสมีสีน้ำเงินเขียว </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.rmutphysics.com/charud/transparency/8/astronomy/lesson5.files/slide0088.htm\">http://www.rmutphysics.com/charud/transparency/8/astronomy/lesson5.files/slide0088.htm</a>\n</p>\n', created = 1719377182, expire = 1719463582, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5f5835947e9cea382d6cfcd65cbc08e7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดาวยูเรนัส

                                    


 

 

http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/uranus_images/uranus_1.jpg 

          ดาวเคราะห์ชั้นนอกดวงต่อไปถัดจากดาวเสาร์ได้แก่ดาวยูเรนัส ดาวยูเรนัสเป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่เป็นที่สามในระบบสุริยะ มันมีลักษณะเลือนลาง จะต้องมองดูด้วยกล้องโทรทัศน์เท่านั้นจึงสามารถมองเห็น เราเคยคิดว่ามันเป็นดาวฤกษ์ ในปี 1781 William Herschel ได้ใช้กล้องโทรทัศน์ค้นพบว่า ดาวยูเรนัสเป็นดาวเคราะห์ เขาเห็นแผ่นกลมสีเขียวที่ไม่มีรอย ต่อมา นักดาราศาสตร์ได้พบดาวบริวารห้าดวง ในปี 1977 ได้มีการพบวงแหวนของดาวยูเรนัส ถึงแม้ว่านักดาราศาสตร์จะใช้กล้องโทรทัศน์ขนาดใหญ่ที่สุด แต่เขาก็ยังไม่สามารถค้นหาอะไรได้มากมายนักเกี่ยวกับดาวยูเรนัสเอง ในปี 1986 ยานอวกาศวอยาเจอร์2 ได้บินผ่านดาวยูเรนัสและได้ส่งภาพที่ชัดเจนของดาวยูเรนัส และวงแหวนตลอดจนดาวบริวารของมันกลับมายังพื้นโลก ในที่สุดเราก็ได้ความรู้เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับดาวยูเรนัส

โลกของน้ำ
     ภาพของดาวยูเรนัสจากยานอวกาศได้อธิบายว่า ทำไมนักดาราศาสตร์จึงไม่สามารถมองเห็นดาวยูเรนัสได้มากนัก ดาวยูเรนัสทั้งดวงปกคลุมด้วยหมอกสีเขียวแก่ ยานวอยาเจอร์ได้พบกลุ่มควันสองสามกลุ่มใต้หมอก แสดงให้เห็นว่าลมกำลังพัดรอบๆดาวยูเรนัสในอัตราความเร็วถึง 440 ไมล์ต่อชั่วโมง บรรยากาศประกอบด้วยแก๊ซไฮโดรเจน ฮีเลียม และมีเธน นักดาราศาสตร์บางคนคิดว่าพื้นผิวของดาวยูเรนัสปกคลุมด้วยมหาสมุทรที่ร้อน เหมือนกับดาวจูปิเตอร์และดาวเสาร์ แต่ประกอบด้วยน้ำร้อนแทนที่จะเป็นแก๊ซ ที่ใจกลางของดาวยูเรนัสจะมีแกนก้อนหินเล็กๆ

 

โครงสร้างดาวยูเรนัส
         ข้อมูลจากยานวอยเอเจอร์ 2 แสดงว่า ดาวยูเรนัสมีโครงสร้าง คล้ายดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ คือ มีใจกลางเป็นเหล็กและ หินแข็งขนาดเล็ก ร้อนจัด อุณหภูมิสูงราว 7,000 เคลวิน ภายใต้ความกดดันสูงมาก ถัดขึ้นมาเป็นชั้นน้ำแข็งมีเทนและ แอมโมเนียแข็งหนามากล้อมรอบใจกลางไว้ จากนั้นจึงเป็นชั้นของ ก๊าซไฮโดรเจน ฮีเลียม มีเทน แอมโมเนีย และน้ำแข็ง หนาหลายพันกิโลเมตร ที่เรามองเห็นเป็นตัวดวงดาวยูเรนัสนั่นเอง บรรยากาศ ประกอบด้วย ไฮโดรเจน ฮีเลียม มีเทน อะเซ็ตทิลีน และเนื่องจากก๊าซมีเทนในบรรยากาศ ชั้นบนดูดซับแสงสีแดงไว้ ทำให้เรามองเห็นดาวยูเรนัสมีสีน้ำเงินเขียว

 


 

 

 

http://www.rmutphysics.com/charud/transparency/8/astronomy/lesson5.files/slide0088.htm

สร้างโดย: 
นายจำเริญ บุญยืน,นางสาวกนกพร รัตนเจริญพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 632 คน กำลังออนไลน์