• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:71c59c478e1ae6b4def47e18938f54e0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/88843\"><img height=\"73\" width=\"362\" src=\"/files/u41158/born.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 184px; height: 55px\" /></a>    <a href=\"/node/88848\"><img height=\"73\" width=\"362\" src=\"/files/u41158/planet.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 186px; height: 56px\" /></a>  <a href=\"/node/89173\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/TheSun.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 190px; height: 64px\" /></a><a href=\"/node/89177\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/mercury.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 64px\" /></a>  <a href=\"/node/89178\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Venus.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 65px\" /></a>   <a href=\"/node/89184\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Earth.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 65px\" /></a><a href=\"/node/89189\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Jupiter.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 188px; height: 65px\" /></a>  <a href=\"/node/89196\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Saturn.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 188px; height: 64px\" /></a>   <a href=\"/node/89197\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Uranus.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 65px\" /></a><a href=\"/node/89201\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Neptune01.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 190px; height: 65px\" /></a>        <a href=\"/node/89202\"><img height=\"74\" width=\"305\" src=\"/files/u41158/web.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 158px; height: 60px\" /></a>           <a href=\"/node/89204\"><img height=\"74\" width=\"305\" src=\"/files/u41158/me.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 156px; height: 59px\" /></a>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Mar.jpg\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"338\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/Mar_1.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/mars_images/3_mars_young.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/mars_images/3_mars_young.jpg</a>\n</p>\n<p>\n              <span style=\"color: #003366\">ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์ที่ได้รับความสนใจมากที่สุด ในบรรดาดาวเคราะห์บนฟ้าทั้งหมด เพราะเคยมีคนเชื่อว่า มีมนุษย์อยู่บนดาวเคราะห์สีแดงดวงนี้ ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์ที่มีโอกาสเข้ามาใกล้โลกเกือบพอ ๆ กับดาวศุกร์ โดยระยะใกล้ที่สุดจะอยู่ภายใน 40 ล้าน กิโลเมตร เมื่อใช้กล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่ที่มีกำลังขยายภาพสูงสุด ส่องดาวอังคารขณะอยู่ใกล้โลกที่สุด จะเห็นรายละเอียดได้ถึง 150 กิโลเมตร ซึ่งเทียบได้กับการเห็นริ้วรอยบนดวงจันทร์ด้วยตาเปล่า ที่กำลังแยกขนาดนี้จะไม่เห็นรายละเอียดของพื้นผิว เช่นไม่เห็นภูเขา หรือ หุบเหว หรือหลุมบ่อของดาวอังคาร แต่จะเห็นโครงสร้างใหญ่ ๆ เช่น ขั้วน้ำแข็งสีขาว หรือริ้วรอยสีคล้ำซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามฤดุกาลของดาวอังคาร สาเหตุที่มีผู้เชื่อว่ามีมนุษย์อาศัยอยู่บนดาวอังคาร เนื่องจากนักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี ชื่อ จิโอวานนี ชิอาพาเรลลี รายงานเมื่อ พ.ศ. 2420 ว่าเขาได้ใช้กล้องโทรทรรศน์ส่งพบร่องที่เป็นเส้นตรงจำนวนมากบนพื้นผิว และเรียกเป็นภาษาอิตาลีว่า คานาลี ( canale) ซึ่งมีความหมายตรงกับภาษาอังกฤษว่าchannel (ช่องหรือทาง ) แต่คนอังกฤษเอาไปแปลว่า canal (คลอง ) อันเป็นสิ่งที่ต้องขุดสร้างขึ้น ผู้ขุดสร้างคลองบนดาวอังคารจึงต้องเปนมนุษย์ดาวอังคาร เพื่อนำน้ำจากขั้วมายังบริเวณศูนย์สูตรสำหรับการเพาะปลูก จุดนี้เองที่นำไปสู่การเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ ที่ทำให้คนเชื่อว่ามีมนุษย์ดาวอังคาร ซึ่งจะเดินทางมาบุกโลก ผู้ที่สนับสนุนความคิดเรื่องมนุษย์ดาวอังคารสร้างคลองส่งน้ำเพื่อการเพาะปลูก คือ เปอร์ซิวัล โลเวลล์ นักดาราศาสตร์อเมริกันและเป็นสมาชิกของครอบครัวที่มั่งคั่งในรัฐแอริโซนา เขาได้ทำแผนที่แสดงคลองต่าง ๆ บนดาวอังคาร แต่ต่อมามรนักดาราศาสตร์ได้ใช้กล้องโทรทรรศน์ที่มีกำลังขยายภาพที่ดีกว่า ตรวจไม่พบคลองบนดาวอังคาร แต่ชาวบ้านทั่วไปยังฝั่งใจเชื่ออยู่ จนกระทั่งถึงยุคอวกาศจึงปรากฏชัดว่า ไม่มีคลองบนดาวอังคารแน่นอน พื้นผิวดาวอังคารมีหลุมบ่อ หุบเหว ภูเขา และมีปล่องภูเขาไฟ มีร่องเหมือนเป็นทางน้ำไหลมาก่อน ดังจะกล่าวต่อไปในหัวข้อการสำรวจดาวอังคารโดยยานอวกาศ</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333300\"><img height=\"328\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/Mar_Stuc.jpg\" align=\"right\" border=\"0\" style=\"width: 404px; height: 291px\" />โครงสร้างดาวอังคาร และลักษณะพิเศษ <br />\n      โครงสร้างภายในดาวอังคาร (Interior of Mars)แบ่งเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆคือ <br />\n1.Core แกนกลางชั้นในสุด <br />\n2.Mantle ชั้นหลอมละลาย<br />\n3.Lithosphere ชั้นผิวพื้นรวมกับชั้นเปลือกนอก (Crusts) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333300\">              ตลอดกว่า 100 ปีผ่านมา ข้อมูลการสำรวจดาวอังคารจากพื้นโลก และยานสำรวจสรุปว่ามีองค์ประกอบของ Carbon dioxide ส่วนบรรยากาศทั่วไป มีความหนาแน่นน้อยกว่าโลก โดยความกดอากาศบนพื้นผิวดาวอังคาร เท่ากับความกดอากาศ เหนือระดับพื้นผิวโลกสูง 35 กิโลเมตร จึงนับว่ามีความเบาบางมาก พายุฝุ่นบนดาวอังคารจึงเป็นเรื่องปกติ เกิดขึ้นทั่วไป บนดาวอังคารแม้ว่าจะมีความหนาแน่นน้อย แต่ในบรรยากาศเกิดพลังลม เพียงพอสามารถหอบทราย เม็ดฝุ่นขึ้นจากเนินทรายได้ และการที่ดาวอังคารสีแดงคล้ำเหมือนดินลูกรัง เพราะดาวอังคารมี Iron oxides (สนิมเหล็ก) ฝุ่นและทรายจึงคล้ายกับหินที่ถูกไฟเผา</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n  <a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars.jpg</a>\n</p>\n<p>\n            <span style=\"color: #800000\">  บนดาวอังคารมีฤดูกาล ด้วยแกนเอียงใกล้เคียงกับโลก ในฤดูหนาวบริเวณพื้นครึ่งซีกของดาวอังคาร มีน้ำแข็งแห้งหนามากซึ่งเกิดจากบรรยากาศ ครั้นฤดูร้อนบริเวณนั้นน้ำแข็งหดน้อยลง ด้วยความร้อนจากพื้นผิวโดยรอบ เป็นลักษณะฤดูร้อนที่เกิดที่ขั้วใต้และร้อนกว่าขั้วเหนือ บริเวณ Polar caps (บริเวณปกคลุมน้ำแข็ง) แหล่งสะสม Dry ice (น้ำแข็งแห้ง) หรือ Frozen Carbon dioxide เป็นการจับตัวกันในชั้นบรรยากาศ ทุกๆ 5,000 ปี ดาวอังคารเกิดอาการ Wobbles (การหมุนตัวเองแบบโคลงเคลง)เหตุจากขั้วเหนือเกิดฤดูร้อนร้อนกว่าขั้วใต้ พื้นผิวดาวอังคารเป็นกรณีศึกษาสำคัญของ การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ที่ผ่านมาจนน้ำเหือดแห้งหมด ทิ้งร่องรอยการกัดเซาะของล่องน้ำ เหตุที่น้ำหายไปจากพื้นผิวด้วยเงื่อนไขบรรยากาศดาวอังคารบางลงมาก พร้อมทั้งเย็นลง <br />\n              โดยเชื่อว่าเดิมในอดีต ดาวอังคารอบอุ่น มีความหนาแน่นในบรรยากาศ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวยังเป็นข้อสงสัยว่า เกิดขึ้นเฉพาะดาวอังคารหรือดาวเคราะห์อื่นเช่นโลกหรือไม่ เพื่อเป็นคำตอบถึงโครงสร้างในระบบสุริยะ  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"330\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/mars_2.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 319px; height: 204px\" />     <img height=\"293\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/mars_3_0.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 278px; height: 202px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars_5.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars_5.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars_6.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars_6.jpg</a>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"304\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/mars_Low-high.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars_7.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars_7.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<br />\n   <span style=\"color: #0000ff\">ดาวอังคารแบ่งเป็น 2 ส่วน Lowlands และ Highlands<br />\n              ดาวอังคารมีความหลากหลายทางธรณีวิทยา ด้วยพัฒนาจากกลไกแผ่นดินไหวการเปลี่ยนแปลงเกิดพื้นที่ราบ ด้วยลมพัดหอบทรายจากขั้วเหนือ ไปตกลงในหลุมกว้างของภูเขาไฟเช่น Olympus Mons เพราะฉะนั้นพื้นจึงคล้ายตุ่มเล็กๆบนพื้นผิว </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"311\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/mars_Oly.jpg\" align=\"left\" border=\"0\" style=\"width: 378px; height: 247px\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n             <span style=\"color: #0000ff\">  ภาพรวมดาวอังคารแบ่งเป็น 2 ส่วน ด้านเหนือเรียก Lowlands (ที่ต่ำ) ด้านใต้เรียกHighlands (ที่สูง) ทั้งสองส่วน มีความชันต่างกัน 2กิโลเมตร ซึ่งกรณีนี้มีเหตุผลขัดแย้งกันในความเห็นมากมาย เช่น Lowlands อาจเกิดการชนปะทะอุกกาบาตครั้งใหญ่มโหฬาร จนเกิดเป็นที่ลุ่มติดกันเป็นชุด ส่วนอีกความ เห็นแสดงเหตุผลว่าเกิดความแตกต่าง จากการพัฒนาภายในสะท้อนกลับออกมา หลังจากนั้นเมื่อมีความมั่นคง เกิดลักษณะ Highlands ยกตัวบริเวณรอยต่อของแผ่นดินสองผืน ที่แนวขอบเมื่อผ่านไปนาน ถูกกัดเซาะด้วยความหลากหลายรวมถึงพื้นที่ชัน ทรุดโทรม ถูกทับถมด้วยทรายพัดมาจากที่อื่น ด้านเหนือ Lowlands ครอบคลุมด้วยที่ราบต่างๆ รวมถึงทางไหลของลาวา บริเวณสะสมแหล่งหินตะกอน และแหล่งวัตถุดิบพัฒนาการ จากแสงสะท้อนดวงอาทิตย์ (รวมถึงบริเวณที่หนาวเย็น) โดยเฉพาะที่ราบทางเหนือบนพื้นผิว พบหินที่โผล่ออกมาสูงเป็นเมตรมากมาย ท่ามกลางพื้นดิน ด้วยลมหอบฝุ่นมาสะสมในทางเคมีเป็นหินBasalts มีแร่เหล็กเป็นส่วนใหญ่  </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars_9.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars_9.jpg</a>  \n</p>\n<p>\n<br />\n               <span style=\"color: #0000ff\">แสดงว่าเกิดรูปแบบจาก สภาพแวดล้อมของภูเขาไฟผสมกับดินสีแดง ส่วนด้านใต้Highlands มีรอยร่องที่ชนปะทะอย่างหนัก เป็นปากปล่องหลุมใหญ่ การสำรวจระยะใกล้พบว่าถูกกัดเซาะจากลมและน้ำ ใต้บริเวณก้นพื้นของหลุมใหญ่ เป็นแหล่งสะสมเต็มไปด้วย หินตะกอน ช่องว่างระหว่างแต่ละปากปล่องเกิด ลักษณะแนวบังเกอร์ด้วยลมพัดหอบฝุ่นเม็ดหินมากองไว้ หรือปกคลุมด้วยลาวา  </span>\n</p>\n<p>\n<img height=\"300\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/mars_chr.jpg\" align=\"right\" border=\"0\" style=\"width: 411px; height: 241px\" />  \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\">ส่วนผสมของดินบนดาวอังคาร และรูปแบบแม่น้ำ <br />\n              ลักษณะดินถูกดันออก (Ejecta) จากปากหลุมที่ถูกชนปะทะ กองพองออกมาต่างจากปากหลุมดวงจันทร์ของโลก ในทางทฤษฎี ก้นภายในหลุมที่ถูกปะทะใต้ดินนั้นมีน้ำหรือน้ำแข็ง ผสมกับหิน ดินเมื่อถูกแรงอัดดันกลายเป็นของเหลว คล้ายโคลนผสมกัน หรือมิฉะนั้นดินปากหลุมถูกดันออก แต่ละหลุมมีผลกระทบต่อกันเองใน ขณะแตกกระจายกัน กลางอากาศกลางชั้นบรรยากาศ (สูงมาก) เป็นพัฒนาการผสมกันอีกแบบจากการชนปะทะ รูปแบบช่องทางน้ำไหล มีหลายประเภทบนดาวอังคาร แต่มีแบบหนึ่งแสดงความหายนะอย่างใหญ่หลวง ด้วยขนาดใหญ่มากของปริมาตรน้ำ ส่วนรูปแบบอื่นๆ เช่น น้ำพุธรรมชาติ มีมากนับร้อยแห่งต่อพันตารางกิโลเมตร </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars_10.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars_10.jpg</a> \n</p>\n<p>\n<br />\n             <span style=\"color: #993300\"> บางพื้นที่มีช่องทางน้ำไหล สู่ปากปล่องหลุมภูเขาไฟใหญ่ เป็นลำธารดึกดำบรรพ์มีหินตะกอนสะสมอยู่ ตัวอย่างที่ชัดของ Chryse Planitia ซากเก่าแม่น้ำใหญ่และยาวมากกว่า 1,000 กิโลเมตร ไหลผ่านแนวที่ราบด้านเหนือ Lowland แสดงล่องน้ำบนพื้นผิวเกิดขึ้น แตกสาขา แม่น้ำน้อยออกหลายสาย พื้นที่ใหม่บนดาวอังคารพบได้ ทั้งในเขตขั้วเหนือและขั้วใต้ โดยเชื่อว่าเขตใต้มี องค์ประกอบชั้นดินน้ำแข็ง และฝุ่นจากบรรยากาศนอนก้น สะสมรวมกัน แต่ละชั้นสะท้อนให้เห็น วัฐจักรบนดาวอังคาร บันทึกแสดงอาการ Wobbles (การหมุนตัวเองแบบโคลงเคลง) ที่ผ่านมา แถบเขตเหนือมีความคล้ายคลึงกันแต่ไม่กว้างขวางนัก กลับพบเนินทรายเช่นเดียวกับโลก รอบ Polar cap แบบไม่สม่ำเสมอนัก บางแห่งใหญ่ขนาด 500,000 กม. เนินทรายถูกหอบพัดมาจากน้ำ หรือลม เป็นพัฒนาการแสดงความหลากหลายให้เกิดพื้นผิวที่สว่าง ดำมืด จากการทับถมแต่ละชั้นของแต่ละแห่ง รวมถึงการเปลี่ยนแปลงขนาด รูปทรง พลิกหน้าดิน ด้วยระยะเวลาและ Wind vanes (ลมพายุใบจักร) </span>\n</p>\n<p>\n<img height=\"450\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/mars_Vall_0.jpg\" align=\"left\" border=\"0\" style=\"width: 297px; height: 251px\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n  <span style=\"color: #ff0000\">ภูเขาไฟยักษ์ หน้าผาใหญ่ บนดาวอังคาร <br />\n             ความน่าทึ่งของโครงสร้างภูเขาไฟ ขนาดใหญ่โตมาก เช่น Olympus Mons ความสูง27 กิโลเมตร ถือว่าใหญ่ที่สุดในบรรดาภูเขาไฟของระบบสุริยะ และเป็นภูเขาไฟคล้ายคลึงกับบนเกาะฮาวาย ของโลก (ไม่เกี่ยวกับขนาด) ทั้งสองแห่งมีหลุมกว้างกักเก็บลาวาที่หลั่งไหลเข้ามา โดยเฉพาะมีส่วนประกอบ Iron-rich silicate rocks <br />\n             Valles Marineris บนดาวอังคาร รูปแบบคล้ายกับ Grand Canyon บนโลกเกิดขึ้นจากแผ่นเปลือกดาวอังคารจากเหตุการณ์ขยายตัวออกและการเคลื่อนตัวครั้งใหญ่เกิดรอยแยกหลังจากนั้น ถูกกัดเซาะของน้ำและลม เวลาผ่านไปถูกทับถมด้วยตะกอนเป็นขบวนการเกิดต่อเนื่อง จากยุคดึกดำบรรพ์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars_8.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars_8.jpg</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/82234\"><img height=\"125\" width=\"129\" src=\"/files/u41158/Home.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 103px; height: 105px\" /></a>\n</p>\n', created = 1718568510, expire = 1718654910, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:71c59c478e1ae6b4def47e18938f54e0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3e4bf378f31004cb124afc907334ac2e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/88843\"><img height=\"73\" width=\"362\" src=\"/files/u41158/born.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 184px; height: 55px\" /></a>    <a href=\"/node/88848\"><img height=\"73\" width=\"362\" src=\"/files/u41158/planet.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 186px; height: 56px\" /></a>  <a href=\"/node/89173\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/TheSun.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 190px; height: 64px\" /></a><a href=\"/node/89177\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/mercury.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 64px\" /></a>  <a href=\"/node/89178\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Venus.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 65px\" /></a>   <a href=\"/node/89184\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Earth.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 65px\" /></a><a href=\"/node/89189\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Jupiter.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 188px; height: 65px\" /></a>  <a href=\"/node/89196\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Saturn.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 188px; height: 64px\" /></a>   <a href=\"/node/89197\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Uranus.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 65px\" /></a><a href=\"/node/89201\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Neptune01.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 190px; height: 65px\" /></a>        <a href=\"/node/89202\"><img height=\"74\" width=\"305\" src=\"/files/u41158/web.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 158px; height: 60px\" /></a>           <a href=\"/node/89204\"><img height=\"74\" width=\"305\" src=\"/files/u41158/me.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 156px; height: 59px\" /></a>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Mar.jpg\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"338\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/Mar_1.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/mars_images/3_mars_young.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/mars_images/3_mars_young.jpg</a>\n</p>\n<p>\n              <span style=\"color: #003366\">ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์ที่ได้รับความสนใจมากที่สุด ในบรรดาดาวเคราะห์บนฟ้าทั้งหมด เพราะเคยมีคนเชื่อว่า มีมนุษย์อยู่บนดาวเคราะห์สีแดงดวงนี้ ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์ที่มีโอกาสเข้ามาใกล้โลกเกือบพอ ๆ กับดาวศุกร์ โดยระยะใกล้ที่สุดจะอยู่ภายใน 40 ล้าน กิโลเมตร เมื่อใช้กล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่ที่มีกำลังขยายภาพสูงสุด ส่องดาวอังคารขณะอยู่ใกล้โลกที่สุด จะเห็นรายละเอียดได้ถึง 150 กิโลเมตร ซึ่งเทียบได้กับการเห็นริ้วรอยบนดวงจันทร์ด้วยตาเปล่า ที่กำลังแยกขนาดนี้จะไม่เห็นรายละเอียดของพื้นผิว เช่นไม่เห็นภูเขา หรือ หุบเหว หรือหลุมบ่อของดาวอังคาร แต่จะเห็นโครงสร้างใหญ่ ๆ เช่น ขั้วน้ำแข็งสีขาว หรือริ้วรอยสีคล้ำซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามฤดุกาลของดาวอังคาร สาเหตุที่มีผู้เชื่อว่ามีมนุษย์อาศัยอยู่บนดาวอังคาร เนื่องจากนักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี ชื่อ จิโอวานนี ชิอาพาเรลลี รายงานเมื่อ พ.ศ. 2420 ว่าเขาได้ใช้กล้องโทรทรรศน์ส่งพบร่องที่เป็นเส้นตรงจำนวนมากบนพื้นผิว และเรียกเป็นภาษาอิตาลีว่า คานาลี ( canale) ซึ่งมีความหมายตรงกับภาษาอังกฤษว่าchannel (ช่องหรือทาง ) แต่คนอังกฤษเอาไปแปลว่า canal (คลอง ) อันเป็นสิ่งที่ต้องขุดสร้างขึ้น ผู้ขุดสร้างคลองบนดาวอังคารจึงต้องเปนมนุษย์ดาวอังคาร เพื่อนำน้ำจากขั้วมายังบริเวณศูนย์สูตรสำหรับการเพาะปลูก จุดนี้เองที่นำไปสู่การเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ ที่ทำให้คนเชื่อว่ามีมนุษย์ดาวอังคาร ซึ่งจะเดินทางมาบุกโลก ผู้ที่สนับสนุนความคิดเรื่องมนุษย์ดาวอังคารสร้างคลองส่งน้ำเพื่อการเพาะปลูก คือ เปอร์ซิวัล โลเวลล์ นักดาราศาสตร์อเมริกันและเป็นสมาชิกของครอบครัวที่มั่งคั่งในรัฐแอริโซนา เขาได้ทำแผนที่แสดงคลองต่าง ๆ บนดาวอังคาร แต่ต่อมามรนักดาราศาสตร์ได้ใช้กล้องโทรทรรศน์ที่มีกำลังขยายภาพที่ดีกว่า ตรวจไม่พบคลองบนดาวอังคาร แต่ชาวบ้านทั่วไปยังฝั่งใจเชื่ออยู่ จนกระทั่งถึงยุคอวกาศจึงปรากฏชัดว่า ไม่มีคลองบนดาวอังคารแน่นอน พื้นผิวดาวอังคารมีหลุมบ่อ หุบเหว ภูเขา และมีปล่องภูเขาไฟ มีร่องเหมือนเป็นทางน้ำไหลมาก่อน ดังจะกล่าวต่อไปในหัวข้อการสำรวจดาวอังคารโดยยานอวกาศ</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333300\"><img height=\"328\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/Mar_Stuc.jpg\" align=\"right\" border=\"0\" style=\"width: 404px; height: 291px\" />โครงสร้างดาวอังคาร และลักษณะพิเศษ <br />\n      โครงสร้างภายในดาวอังคาร (Interior of Mars)แบ่งเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆคือ <br />\n1.Core แกนกลางชั้นในสุด <br />\n2.Mantle ชั้นหลอมละลาย<br />\n3.Lithosphere ชั้นผิวพื้นรวมกับชั้นเปลือกนอก (Crusts) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333300\">              ตลอดกว่า 100 ปีผ่านมา ข้อมูลการสำรวจดาวอังคารจากพื้นโลก และยานสำรวจสรุปว่ามีองค์ประกอบของ Carbon dioxide ส่วนบรรยากาศทั่วไป มีความหนาแน่นน้อยกว่าโลก โดยความกดอากาศบนพื้นผิวดาวอังคาร เท่ากับความกดอากาศ เหนือระดับพื้นผิวโลกสูง 35 กิโลเมตร จึงนับว่ามีความเบาบางมาก พายุฝุ่นบนดาวอังคารจึงเป็นเรื่องปกติ เกิดขึ้นทั่วไป บนดาวอังคารแม้ว่าจะมีความหนาแน่นน้อย แต่ในบรรยากาศเกิดพลังลม เพียงพอสามารถหอบทราย เม็ดฝุ่นขึ้นจากเนินทรายได้ และการที่ดาวอังคารสีแดงคล้ำเหมือนดินลูกรัง เพราะดาวอังคารมี Iron oxides (สนิมเหล็ก) ฝุ่นและทรายจึงคล้ายกับหินที่ถูกไฟเผา</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n  <a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars.jpg</a>\n</p>\n<p>\n            <span style=\"color: #800000\">  บนดาวอังคารมีฤดูกาล ด้วยแกนเอียงใกล้เคียงกับโลก ในฤดูหนาวบริเวณพื้นครึ่งซีกของดาวอังคาร มีน้ำแข็งแห้งหนามากซึ่งเกิดจากบรรยากาศ ครั้นฤดูร้อนบริเวณนั้นน้ำแข็งหดน้อยลง ด้วยความร้อนจากพื้นผิวโดยรอบ เป็นลักษณะฤดูร้อนที่เกิดที่ขั้วใต้และร้อนกว่าขั้วเหนือ บริเวณ Polar caps (บริเวณปกคลุมน้ำแข็ง) แหล่งสะสม Dry ice (น้ำแข็งแห้ง) หรือ Frozen Carbon dioxide เป็นการจับตัวกันในชั้นบรรยากาศ ทุกๆ 5,000 ปี ดาวอังคารเกิดอาการ Wobbles (การหมุนตัวเองแบบโคลงเคลง)เหตุจากขั้วเหนือเกิดฤดูร้อนร้อนกว่าขั้วใต้ พื้นผิวดาวอังคารเป็นกรณีศึกษาสำคัญของ การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ที่ผ่านมาจนน้ำเหือดแห้งหมด ทิ้งร่องรอยการกัดเซาะของล่องน้ำ เหตุที่น้ำหายไปจากพื้นผิวด้วยเงื่อนไขบรรยากาศดาวอังคารบางลงมาก พร้อมทั้งเย็นลง <br />\n              โดยเชื่อว่าเดิมในอดีต ดาวอังคารอบอุ่น มีความหนาแน่นในบรรยากาศ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวยังเป็นข้อสงสัยว่า เกิดขึ้นเฉพาะดาวอังคารหรือดาวเคราะห์อื่นเช่นโลกหรือไม่ เพื่อเป็นคำตอบถึงโครงสร้างในระบบสุริยะ  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"330\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/mars_2.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 319px; height: 204px\" />     <img height=\"293\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/mars_3_0.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 278px; height: 202px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars_5.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars_5.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars_6.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars_6.jpg</a>\n</p>\n', created = 1718568510, expire = 1718654910, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3e4bf378f31004cb124afc907334ac2e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดาวอังคาร

                                  


 

http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/mars_images/3_mars_young.jpg

              ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์ที่ได้รับความสนใจมากที่สุด ในบรรดาดาวเคราะห์บนฟ้าทั้งหมด เพราะเคยมีคนเชื่อว่า มีมนุษย์อยู่บนดาวเคราะห์สีแดงดวงนี้ ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์ที่มีโอกาสเข้ามาใกล้โลกเกือบพอ ๆ กับดาวศุกร์ โดยระยะใกล้ที่สุดจะอยู่ภายใน 40 ล้าน กิโลเมตร เมื่อใช้กล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่ที่มีกำลังขยายภาพสูงสุด ส่องดาวอังคารขณะอยู่ใกล้โลกที่สุด จะเห็นรายละเอียดได้ถึง 150 กิโลเมตร ซึ่งเทียบได้กับการเห็นริ้วรอยบนดวงจันทร์ด้วยตาเปล่า ที่กำลังแยกขนาดนี้จะไม่เห็นรายละเอียดของพื้นผิว เช่นไม่เห็นภูเขา หรือ หุบเหว หรือหลุมบ่อของดาวอังคาร แต่จะเห็นโครงสร้างใหญ่ ๆ เช่น ขั้วน้ำแข็งสีขาว หรือริ้วรอยสีคล้ำซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามฤดุกาลของดาวอังคาร สาเหตุที่มีผู้เชื่อว่ามีมนุษย์อาศัยอยู่บนดาวอังคาร เนื่องจากนักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี ชื่อ จิโอวานนี ชิอาพาเรลลี รายงานเมื่อ พ.ศ. 2420 ว่าเขาได้ใช้กล้องโทรทรรศน์ส่งพบร่องที่เป็นเส้นตรงจำนวนมากบนพื้นผิว และเรียกเป็นภาษาอิตาลีว่า คานาลี ( canale) ซึ่งมีความหมายตรงกับภาษาอังกฤษว่าchannel (ช่องหรือทาง ) แต่คนอังกฤษเอาไปแปลว่า canal (คลอง ) อันเป็นสิ่งที่ต้องขุดสร้างขึ้น ผู้ขุดสร้างคลองบนดาวอังคารจึงต้องเปนมนุษย์ดาวอังคาร เพื่อนำน้ำจากขั้วมายังบริเวณศูนย์สูตรสำหรับการเพาะปลูก จุดนี้เองที่นำไปสู่การเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ ที่ทำให้คนเชื่อว่ามีมนุษย์ดาวอังคาร ซึ่งจะเดินทางมาบุกโลก ผู้ที่สนับสนุนความคิดเรื่องมนุษย์ดาวอังคารสร้างคลองส่งน้ำเพื่อการเพาะปลูก คือ เปอร์ซิวัล โลเวลล์ นักดาราศาสตร์อเมริกันและเป็นสมาชิกของครอบครัวที่มั่งคั่งในรัฐแอริโซนา เขาได้ทำแผนที่แสดงคลองต่าง ๆ บนดาวอังคาร แต่ต่อมามรนักดาราศาสตร์ได้ใช้กล้องโทรทรรศน์ที่มีกำลังขยายภาพที่ดีกว่า ตรวจไม่พบคลองบนดาวอังคาร แต่ชาวบ้านทั่วไปยังฝั่งใจเชื่ออยู่ จนกระทั่งถึงยุคอวกาศจึงปรากฏชัดว่า ไม่มีคลองบนดาวอังคารแน่นอน พื้นผิวดาวอังคารมีหลุมบ่อ หุบเหว ภูเขา และมีปล่องภูเขาไฟ มีร่องเหมือนเป็นทางน้ำไหลมาก่อน ดังจะกล่าวต่อไปในหัวข้อการสำรวจดาวอังคารโดยยานอวกาศ

 

โครงสร้างดาวอังคาร และลักษณะพิเศษ
      โครงสร้างภายในดาวอังคาร (Interior of Mars)แบ่งเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆคือ
1.Core แกนกลางชั้นในสุด
2.Mantle ชั้นหลอมละลาย
3.Lithosphere ชั้นผิวพื้นรวมกับชั้นเปลือกนอก (Crusts)

              ตลอดกว่า 100 ปีผ่านมา ข้อมูลการสำรวจดาวอังคารจากพื้นโลก และยานสำรวจสรุปว่ามีองค์ประกอบของ Carbon dioxide ส่วนบรรยากาศทั่วไป มีความหนาแน่นน้อยกว่าโลก โดยความกดอากาศบนพื้นผิวดาวอังคาร เท่ากับความกดอากาศ เหนือระดับพื้นผิวโลกสูง 35 กิโลเมตร จึงนับว่ามีความเบาบางมาก พายุฝุ่นบนดาวอังคารจึงเป็นเรื่องปกติ เกิดขึ้นทั่วไป บนดาวอังคารแม้ว่าจะมีความหนาแน่นน้อย แต่ในบรรยากาศเกิดพลังลม เพียงพอสามารถหอบทราย เม็ดฝุ่นขึ้นจากเนินทรายได้ และการที่ดาวอังคารสีแดงคล้ำเหมือนดินลูกรัง เพราะดาวอังคารมี Iron oxides (สนิมเหล็ก) ฝุ่นและทรายจึงคล้ายกับหินที่ถูกไฟเผา

 

 

  http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars.jpg

              บนดาวอังคารมีฤดูกาล ด้วยแกนเอียงใกล้เคียงกับโลก ในฤดูหนาวบริเวณพื้นครึ่งซีกของดาวอังคาร มีน้ำแข็งแห้งหนามากซึ่งเกิดจากบรรยากาศ ครั้นฤดูร้อนบริเวณนั้นน้ำแข็งหดน้อยลง ด้วยความร้อนจากพื้นผิวโดยรอบ เป็นลักษณะฤดูร้อนที่เกิดที่ขั้วใต้และร้อนกว่าขั้วเหนือ บริเวณ Polar caps (บริเวณปกคลุมน้ำแข็ง) แหล่งสะสม Dry ice (น้ำแข็งแห้ง) หรือ Frozen Carbon dioxide เป็นการจับตัวกันในชั้นบรรยากาศ ทุกๆ 5,000 ปี ดาวอังคารเกิดอาการ Wobbles (การหมุนตัวเองแบบโคลงเคลง)เหตุจากขั้วเหนือเกิดฤดูร้อนร้อนกว่าขั้วใต้ พื้นผิวดาวอังคารเป็นกรณีศึกษาสำคัญของ การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ที่ผ่านมาจนน้ำเหือดแห้งหมด ทิ้งร่องรอยการกัดเซาะของล่องน้ำ เหตุที่น้ำหายไปจากพื้นผิวด้วยเงื่อนไขบรรยากาศดาวอังคารบางลงมาก พร้อมทั้งเย็นลง
              โดยเชื่อว่าเดิมในอดีต ดาวอังคารอบอุ่น มีความหนาแน่นในบรรยากาศ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวยังเป็นข้อสงสัยว่า เกิดขึ้นเฉพาะดาวอังคารหรือดาวเคราะห์อื่นเช่นโลกหรือไม่ เพื่อเป็นคำตอบถึงโครงสร้างในระบบสุริยะ 

     

http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars_5.jpg

http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mars_6.jpg

สร้างโดย: 
นายจำเริญ บุญยืน,นางสาวกนกพร รัตนเจริญพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 563 คน กำลังออนไลน์