• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1a82f08056b44b442535a16fd08b57d4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/88843\"><img height=\"73\" width=\"362\" src=\"/files/u41158/born.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 183px; height: 58px\" /></a>    <a href=\"/node/88848\"><img height=\"73\" width=\"362\" src=\"/files/u41158/planet.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 185px; height: 56px\" /></a>  <a href=\"/node/89173\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/TheSun.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 64px\" /></a><a href=\"/node/89177\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/mercury.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 65px\" /></a>  <a href=\"/node/89184\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Earth.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 190px; height: 66px\" /></a>  <a href=\"/node/89186\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Mar.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 188px; height: 65px\" /></a><a href=\"/node/89189\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Jupiter.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 191px; height: 65px\" /></a>  <a href=\"/node/89196\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Saturn.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 191px; height: 64px\" /></a>  <a href=\"/node/89197\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Uranus.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 63px\" /></a><a href=\"/node/89201\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Neptune01.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 190px; height: 65px\" /></a>         <a href=\"/node/89202\"><img height=\"74\" width=\"305\" src=\"/files/u41158/web.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 155px; height: 62px\" /></a>          <a href=\"/node/89204\"><img height=\"74\" width=\"305\" src=\"/files/u41158/me.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 158px; height: 62px\" /></a>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Venus.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"398\" width=\"371\" src=\"/files/u41158/venus_01.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://statics.atcloud.com/files/comments/60/601133/images/1_display.jpg\">http://statics.atcloud.com/files/comments/60/601133/images/1_display.jpg</a> \n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #333333\">   </span><span style=\"color: #ff00ff\"> เป็นชื่อเทพธิดาแห่งความงาม (Venus) เนื่องจาก เป็นดาวเคราะห์ที่สว่างที่สุด เมื่อมองจากโลก และสังเกตเห็นได้ง่าย แม้ว่า ความเป็นจริงแล้ว ดาวดวงนี้ จะไม่สามารถมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ได้ เนื่องจากอุณหภูมิเฉลี่ยสูงมากก็ตาม แต่ครั้งหนี่งนักวิทยาศาสตร์เคยเชื่อว่า ดาวศุกร์มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่  ดาวศุกร์ ดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่สอง มีขนาดใกล้เคียงกับโลก จึงชื่อว่าเป็น &quot;ฝาแฝดโลก&quot; ดาวศุกร์มีวงโคจรอยู่ชั้นในเช่นเดียวกับดาวพุธ จึงทำให้เราสามารถมองเห็นดาวศุกร์ได้เช่นเดียวกับดาวพุธคือ ทางด้านทิศตะวันตกหลังอาทิตย์ลับของฟ้าไปแล้วสูงประมาณ 45 องศา เรียกว่าดาวศุกร์นี้ว่า &quot;ดาวประจำเมือง&quot; และด้านทิศตะวันออกก่อนดวงอาทิตย์ขึ้น เรียกว่า &quot;ดาวรุ่ง&quot; หรือ &quot;ดาวประกายพรึก&quot; ซึ่งเราสามารถมองเห็น เป็นดาวเด่นอยู่บนท้องฟ้าสวยงามมาก ชาวกรีกโบราณจึงยกให้ดาวศุกร์แทน เทพวีนัส เทพแห่งความงาม เมื่อมองด้วยกล้องโทรทรรศน์จะเห็นลักษณะของดาวศุกร์เว้าแว่งเป็นเสี้ยวคล้าย กับดวงจันทร์เช่นกัน</span><span style=\"color: #333300\"> </span>\n</p>\n<p>\n           <span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #008000\">  ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกอย่างรุนแรง เพราะมีบรรยากาศหนาทึบด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ ดาวศุกร์จึงร้อนมาก อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ยสูงกว่าดาวพุธ ดาวศุกร์มีโอกาสเข้ามาใกล้โลกที่สุด ใกล้กว่าดาวพุธ ซึ่งนักดาราศาสตร์ยุคโบราณเข้าใจผิดคิดว่าอยู่ใกล้โลกที่สุด ลักษณะพิเศษของดาวศุกร์คือ หมุนรอบตัวเอง 1 รอบใช้เวลานานกว่าการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ และถ้าเราอยู่บนดาวศุกร์เวลา 1 วัน จะไม่ยาวเท่ากับเวลาที่ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเอง 1 รอบ นี่คือลักษณะพิเศษที่ดาวศุกร์ไม่เหมือนดาวเคราะห์ดวงใดๆ นอกจากนี้ดาวศุกร์ยังหมุนตามเข็มนาฬิกาหรือหมุนจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก ในขณะที่เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์จากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก ดาวศุกร์จึงหมุนสวนทางกับดาวเคราะห์ดวงอื่น และหมุนสวนทางกับการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเองรอบละ 243 วัน แต่ 1 วันของดาวศุกร์ยาวนานเท่ากับ 117 วันของโลก เพราะตั้งแต่ดวงอาทิตย์ขึ้นจนถึงดวงอาทิตย์ตกยาวนาน 58.5 วันของโลก ดาวศุกร์เคลื่อนรอบดวงอาทิตย์รอบละ 225 วัน 1 ปีของดาวศุกร์จึงยาวนาน 225 วันของโลก</span> </span>\n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #000080\"> ชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์นั้นมีความหนาแน่นมาก ความดันบรรยากาศที่พื้นผิวดาวศุกร์มีค่าประมาณ 90 เท่าของความดันบรรยากาศที่พื้นผิวโลก หรือมีค่าเท่ากับความดันที่ใต้ทะเลลึก 1 กิโลเมตร  บรรยากาศของดาวศุกร์ประกอบไปด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นส่วนใหญ่ และมีชั้นเมฆอยู่หลายชั้นที่ประกอบไปด้วยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์(กรดกำมะถัน) ซึ่งมีความหนาหลายกิโลเมตร  ทำให้เราไม่สามารถสังเกตเห็นพื้นผิวดาวศุกร์ได้ <br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<img height=\"328\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/venus_stuc.jpg\" align=\"left\" border=\"0\" style=\"width: 422px; height: 336px\" /><span style=\"color: #993366\">โครงสร้างดาวศุกร์ และลักษณะพิเศษ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\">       โครงสร้างภายในดาวศุกร์ (Interior of Venus) คล้ายคลึงกับโลกแบ่งเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆคือ <br />\n1.Core แกนกลางชั้นในสุด <br />\n2.Mantle ชั้นหลอมละลาย<br />\n3.Lithosphere ชั้นผิวพื้นรวมกับชั้นเปลือกนอก (Crusts) หนา 20-40 กิโลเมตร </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\">        ลักษณะต่างดาวเคราะห์ทั่วไป เพราะหมุนถอยหลัง (Retrograde rotation) และช้าขณะโคจรรอบ ดวงอาทิตย์ แต่ละวัน (กลางวัน) จึงยาวนานกว่าโลก ระหว่าง115-121 วัน (โดยเฉลี่ย) บนพื้นผิวดาวศุกร์ มีสภาพแวดล้อมปกคลุมด้วยไอน้ำ ที่เป็นปลักตมแฉะและแห้งทะเลแห่งลมหมุนวน ฟุ้งคลุ้ง ด้วย Carbon dioxide สูงถึง 96% มนุษย์ไม่สามารถอาศัยได้ มีความกดดันสูงถึง 90 Bar บนพื้นผิวดาวศุกร์หรือเทียบเท่าระดับความลึกในทะเลของโลกลึก 900 เมตร  บรรยากาศมีองค์ประกอบหยด กรดกำมะถัน (Sulfuric acid) แน่นหนาหมุนวนรวมเข้ากับเมฆหมอก หนาทึบ 30-60 กิโลเมตร เรียกว่า Venusian atmosphereทำให้เกิดความร้อนสูง ถึง 450-462 องศา C (ระดับความร้อนเทียบเท่าชั้นหลอมละลายดาวศุกร์) ทั้งหมดเป็นการเกิด Greenhouse effect หรือ Heat-trapping(การปิดกั้นความร้อน) โดย Carbon dioxide ในชั้นบรรยากาศ เป็นการพัฒนาการสะสมยาวนานมาก</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_venus.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_venus.jpg</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n  <span style=\"color: #800000\">แผนการณ์สำรวจดาวศุกร์ ด้วยเทคโนโลยี่ชั้นสูง</span>\n</p>\n<p>\n         <span style=\"color: #800000\">  โครงการ Venus Express <br />\n        เพื่อการสำรวจดาวศุกร์ของสถาบัน European Space Agency สนับสนุนจากNASA ตั้งแต่ ค.ศ.2005 เริ่มโคจรรอบดาวศุกร์ ค.ศ. 2006 เพื่อศึกษาเก็บข้อมูลด้านสภาพอากาศ ในแต่ละวันของดาวศุกร์ <br />\n          </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">           โครงการ Venus In-Situ Explorer (VISE)<br />\n         เป็นโครงการใหม่ี่เน้นศึกษาองค์ประกอบพื้นผิวดาวศุกร์ เพื่ออธิบายถึงแกนภายในดาวศุกร์ โดยตรวจสอบธาตุและสารประกอบทางธรณีวิทยา วัตถุดิบตัวอย่างต่างๆ จะเริ่มต้นในอนาคตเร็วๆนี้ โดยเครื่องมือสำรวจที่พิเศษ เช่น Venus MobileExplorer อุปกรณ์สำรวจใกล้เหนือพื้นผิวดาวศุกร์ 10 กิโลเมตร ทนความร้อนสูง 460 องศา C สามารถต้านทานแรงกดดัน 90 Bars ต้านทานความเข้มข้นของ Carbon dioxide และป้องกันสนิมกรดบนดาวอังคารได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">             โครงการ The European Venus Explorer (EVE) <br />\n         วัตถุประสงค์ European Space Agency (ESA) เป็นความร่วมมือจากประเทศรัสเซีย ยุโรป ญี่ปุ่น แคนาดา และอเมริกา เพื่อตรวจสอบ ระบบพัฒนาการสภาพอากาศของดาวศุกร์ เริ่มต้น ค.ศ.2016-2018 นับว่าเป็นโครงการ ระดับนานาชาติ โดยการสำรวจดาวศุกร์ จำต้องใช้เทคนิคและความก้าวหน้าด้านอุปกรณ์ ลงตรวจตรวจในระดับความสูงต่างๆ ซึ่งเราไม่สามารถส่งมนุษย์เข้าไปได้เลย  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"338\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/venus_express.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 244px; height: 196px\" />               <img height=\"275\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/venus_mobile_explorer.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 230px; height: 197px\" /><img height=\"400\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/venus_eve.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 245px; height: 198px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/venus_images/5_venus_express.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/venus_images/5_venus_express.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/venus_images/4_venus_mobile_explorer.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/venus_images/4_venus_mobile_explorer.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/venus_images/13_venus_eve.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/venus_images/13_venus_eve.jpg</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img height=\"300\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/venus_lightning.jpg\" align=\"right\" border=\"0\" /> <span style=\"color: #003366\"> ฝนกรดบนดาวศุกร์ ท่ามกลางท้องฟ้าสีกำมะถัน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #003366\">        ถ้าเราเดินบนพื้นดาวศุกร์ มีความรู้ลึกเหมือนกำลังว่ายน้ำโต้คลื่น เพราะความหนาแน่นของอากาศนั่นเอง เมื่อมองไปรอบๆตัว จะเห็นความผิดปกติทั้งท้องฟ้าเต็มไปด้วยหมอกเมฆบดบัง แทบไม่เห็นแสงที่ส่องมาจากดวงอาทิตย์ มองเห็นเป็นสีแดงอมส้ม เหมือนอยู่ในสถานที่มืดทึบส่วนใหญ่  ปรากฎการณ์บนดาวศุกร์ เป็นเช่นนี้เพราะการถ่ายเท คลื่นความร้อนสูงจากพื้นได้ปกคลุมไปทั่วหนาแน่นทำให้เกิดสะท้อนของกลุ่มเฆม เต็มไปด้วยกรดกำมะถัน(Sulfuric acid) โดยปกติก๊าซทั้งหมดจับตัวกัน เป็นของเหลวในความเย็นลอยสู่ชั้นบรรยากาศแล้วระเหย กลายเป็นไอแต่บางครั้งรวมตัวกันเป็นฝนกรด (Acid rain) จะตกเฉพาะในชั้นบรรยากาศสูงกว่าพื้นผิว 30 กม.โดยระเหยตัวก่อนตกสู่พื้น เพราะความร้อนลอยตัวแผ่อยู่ทั่วไป เมื่อเงยหน้าสังเกตดู จะเห็นกลุ่มก้อนเมฆที่เกาะตัวดำ สลับกับฟ้าผ่า ฟ้าแลบกันตลอดเวลา จากสภาพคลื่นไฟฟ้าของชั้นบรรยากาศ และปฏิกิริยาทางเคมี มีระยะทางยาวจากก้อนเมฆสู่ก้อนเมฆ หรือสู่พื้นผิวถึง 35 ไมล์ โดยพื้นขอบฟ้าด้านหลังมีสีเหลืองกำมะถันทั่วไป  </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/venus_images/8_venus_lightning.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/venus_images/8_venus_lightning.jpg</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img height=\"307\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/venus_surface.jpg\" align=\"left\" border=\"0\" style=\"width: 448px; height: 275px\" /><span style=\"color: #008080\">หินแข็งเก่าแก่ จากลาวาเกิดสนิมได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\">              บริเวณภูเขาไฟหลายแห่งอายุประมาณ 750 ล้านปี จะแสดงถึงแนวไหลของลาวาบางแห่งแนวไหลของลาวา มีลักษณะเหมือนกับ ภูเขาไฟ บนเกาะฮาวายบางแห่งจมลึกลงไป ภูเขาไฟสงบนิ่งหยุดระเบิดมาแล้ว 100 ล้านปี แต่มีร่องรอยการเปลี่ยนแปลงพื้นผิวบนดาวศุกร์ บิดเบี้ยวเป็นจำนวนไม่น้อย อันเกิดจากใต้ชั้นเปลือกด้วย<br />\nผลกระทบจาก ความร้อนภายในแกนดาวศุกร์    ความแตกต่างระหว่างโลกและดาวศุกร์ ด้านธรณีวิทยาชัดเจนคือ ดาวศุกร์ไม่มีร่องรอยการเซาะกัดจากน้ำเหมือนโลก เพราะไม่มีฝนตก นั้นคือข้อมูลเดิมจากสิ่งที่เราทราบ แต่วันนี้เราพบว่า จากการสำรวจเพิ่มเติมในหลายพื้นที่ พบว่าหินบนดาวศุกร์มีการเกิดสนิม โดยปกติเราทราบว่า สนิมเกิดได้จากน้ำ แต่เมื่อดาวศุกร์ไม่มีน้ำอย่างแน่นอนเหตุเกิดเพราะเกิดความความหนาแน่น ความร้อน และกรดรุนแรง ของบรรยากาศเป็นความผันแปร จากเคมีที่เกิดอย่างยาวนาน ตกตะกอนสู่หิน</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/venus_images/11_venus_surface.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/venus_images/11_venus_surface.jpg</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img height=\"400\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/panet_profile_venus_13.jpg\" align=\"right\" border=\"0\" style=\"width: 393px; height: 298px\" /></p>\n<p>              <span style=\"color: #993300\"> ภูเขาไฟใหญ่ ดาวศุกร์ แตกต่างจากดาวเคราะห์อื่น </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #993300\">               บนดาวศุกร์บริเวณ Bell Regio สภาพแวดล้อมเกิดจาก ผลกระทบของแผ่นเปลือกดาวศุกร์ร่วมกับภูเขาไฟขนาดใหญ่สังเกตเห็นว่าระหว่างแต่ละชั้นมีร่องรอยการไหลท่วมของลาวาค้างแข็งอยู่ ภูเขาอีกแห่งหนึ่งที่ถือว่าเป็นสัญลักษณ์ของดาวศุกร์ คือMaxwell Montes มีความสูง 11 กิโลเมตร จะพบพบแร่ประเภท Pyrite (แร่โลหะประกอบกำมะถัน สีเหลือง สีทองแดง) รอบๆเป็นที่ราบสูง ชื่อ Lakshmiโดยทั่วไปแล้ว ภูเขาไฟบนโลก หรือดาวเคราะห์อื่นส่วนใหญ่ มักมีรูปทรงเป็นยอดแหลมขึ้น บนดาวศุกร์มักมีรูปทรงเป็นก้อนกระจุกคล้าย Pancakes (ขนมเค็กแบนๆเป็นชั้น) รอบๆกลม หรือชั้นบนแบนเรียบ หรือรูปโดมคว่ำลง มีลาวาท่วมเหนียวเป็นยางหรือเหมือนแป้งเปียกใหลท่วม ออกมาเป็นริ้วยาวคล้ายเส้นเป็นชั้น Alpha Regio เห็นรูปทรงชัดเจนเป็นลักษณะยอดกลมแบน ความสูง 2.4 กิโลเมตรเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 กิโลเมตร ภูเขาทั้งสามเกิดจากการระเบิดตัวของลาวาเพราะมีร่องรอย ไหลของยางเหนียวหนาโดยรอบ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_venus_13.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_venus_13.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/82234\"><img height=\"125\" width=\"129\" src=\"/files/u41158/Home.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 97px; height: 88px\" /></a>\n</p>\n', created = 1718577663, expire = 1718664063, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1a82f08056b44b442535a16fd08b57d4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดาวศุกร์

                                


 

http://statics.atcloud.com/files/comments/60/601133/images/1_display.jpg 

              เป็นชื่อเทพธิดาแห่งความงาม (Venus) เนื่องจาก เป็นดาวเคราะห์ที่สว่างที่สุด เมื่อมองจากโลก และสังเกตเห็นได้ง่าย แม้ว่า ความเป็นจริงแล้ว ดาวดวงนี้ จะไม่สามารถมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ได้ เนื่องจากอุณหภูมิเฉลี่ยสูงมากก็ตาม แต่ครั้งหนี่งนักวิทยาศาสตร์เคยเชื่อว่า ดาวศุกร์มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่  ดาวศุกร์ ดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่สอง มีขนาดใกล้เคียงกับโลก จึงชื่อว่าเป็น "ฝาแฝดโลก" ดาวศุกร์มีวงโคจรอยู่ชั้นในเช่นเดียวกับดาวพุธ จึงทำให้เราสามารถมองเห็นดาวศุกร์ได้เช่นเดียวกับดาวพุธคือ ทางด้านทิศตะวันตกหลังอาทิตย์ลับของฟ้าไปแล้วสูงประมาณ 45 องศา เรียกว่าดาวศุกร์นี้ว่า "ดาวประจำเมือง" และด้านทิศตะวันออกก่อนดวงอาทิตย์ขึ้น เรียกว่า "ดาวรุ่ง" หรือ "ดาวประกายพรึก" ซึ่งเราสามารถมองเห็น เป็นดาวเด่นอยู่บนท้องฟ้าสวยงามมาก ชาวกรีกโบราณจึงยกให้ดาวศุกร์แทน เทพวีนัส เทพแห่งความงาม เมื่อมองด้วยกล้องโทรทรรศน์จะเห็นลักษณะของดาวศุกร์เว้าแว่งเป็นเสี้ยวคล้าย กับดวงจันทร์เช่นกัน

             ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกอย่างรุนแรง เพราะมีบรรยากาศหนาทึบด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ ดาวศุกร์จึงร้อนมาก อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ยสูงกว่าดาวพุธ ดาวศุกร์มีโอกาสเข้ามาใกล้โลกที่สุด ใกล้กว่าดาวพุธ ซึ่งนักดาราศาสตร์ยุคโบราณเข้าใจผิดคิดว่าอยู่ใกล้โลกที่สุด ลักษณะพิเศษของดาวศุกร์คือ หมุนรอบตัวเอง 1 รอบใช้เวลานานกว่าการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ และถ้าเราอยู่บนดาวศุกร์เวลา 1 วัน จะไม่ยาวเท่ากับเวลาที่ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเอง 1 รอบ นี่คือลักษณะพิเศษที่ดาวศุกร์ไม่เหมือนดาวเคราะห์ดวงใดๆ นอกจากนี้ดาวศุกร์ยังหมุนตามเข็มนาฬิกาหรือหมุนจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก ในขณะที่เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์จากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก ดาวศุกร์จึงหมุนสวนทางกับดาวเคราะห์ดวงอื่น และหมุนสวนทางกับการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ ดาวศุกร์หมุนรอบตัวเองรอบละ 243 วัน แต่ 1 วันของดาวศุกร์ยาวนานเท่ากับ 117 วันของโลก เพราะตั้งแต่ดวงอาทิตย์ขึ้นจนถึงดวงอาทิตย์ตกยาวนาน 58.5 วันของโลก ดาวศุกร์เคลื่อนรอบดวงอาทิตย์รอบละ 225 วัน 1 ปีของดาวศุกร์จึงยาวนาน 225 วันของโลก

           ชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์นั้นมีความหนาแน่นมาก ความดันบรรยากาศที่พื้นผิวดาวศุกร์มีค่าประมาณ 90 เท่าของความดันบรรยากาศที่พื้นผิวโลก หรือมีค่าเท่ากับความดันที่ใต้ทะเลลึก 1 กิโลเมตร  บรรยากาศของดาวศุกร์ประกอบไปด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นส่วนใหญ่ และมีชั้นเมฆอยู่หลายชั้นที่ประกอบไปด้วยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์(กรดกำมะถัน) ซึ่งมีความหนาหลายกิโลเมตร  ทำให้เราไม่สามารถสังเกตเห็นพื้นผิวดาวศุกร์ได้

โครงสร้างดาวศุกร์ และลักษณะพิเศษ

       โครงสร้างภายในดาวศุกร์ (Interior of Venus) คล้ายคลึงกับโลกแบ่งเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆคือ
1.Core แกนกลางชั้นในสุด
2.Mantle ชั้นหลอมละลาย
3.Lithosphere ชั้นผิวพื้นรวมกับชั้นเปลือกนอก (Crusts) หนา 20-40 กิโลเมตร

        ลักษณะต่างดาวเคราะห์ทั่วไป เพราะหมุนถอยหลัง (Retrograde rotation) และช้าขณะโคจรรอบ ดวงอาทิตย์ แต่ละวัน (กลางวัน) จึงยาวนานกว่าโลก ระหว่าง115-121 วัน (โดยเฉลี่ย) บนพื้นผิวดาวศุกร์ มีสภาพแวดล้อมปกคลุมด้วยไอน้ำ ที่เป็นปลักตมแฉะและแห้งทะเลแห่งลมหมุนวน ฟุ้งคลุ้ง ด้วย Carbon dioxide สูงถึง 96% มนุษย์ไม่สามารถอาศัยได้ มีความกดดันสูงถึง 90 Bar บนพื้นผิวดาวศุกร์หรือเทียบเท่าระดับความลึกในทะเลของโลกลึก 900 เมตร  บรรยากาศมีองค์ประกอบหยด กรดกำมะถัน (Sulfuric acid) แน่นหนาหมุนวนรวมเข้ากับเมฆหมอก หนาทึบ 30-60 กิโลเมตร เรียกว่า Venusian atmosphereทำให้เกิดความร้อนสูง ถึง 450-462 องศา C (ระดับความร้อนเทียบเท่าชั้นหลอมละลายดาวศุกร์) ทั้งหมดเป็นการเกิด Greenhouse effect หรือ Heat-trapping(การปิดกั้นความร้อน) โดย Carbon dioxide ในชั้นบรรยากาศ เป็นการพัฒนาการสะสมยาวนานมาก

 

http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_venus.jpg

 

สร้างโดย: 
นายจำเริญ บุญยืน,นางสาวกนกพร รัตนเจริญพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 604 คน กำลังออนไลน์