• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b73bb2e270c6206186dc269cc5ca648d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/88843\"><img height=\"73\" width=\"362\" src=\"/files/u41158/born.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 185px; height: 58px\" /></a>    <a href=\"/node/88848\"><img height=\"73\" width=\"362\" src=\"/files/u41158/planet.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 184px; height: 58px\" /></a>  <a href=\"/node/89173\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/TheSun.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 190px; height: 64px\" /></a><a href=\"/node/89178\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Venus.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 65px\" /></a>  <a href=\"/node/89184\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Earth.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 65px\" /></a>  <a href=\"/node/89186\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Mar.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 191px; height: 64px\" /></a><a href=\"/node/89189\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Jupiter.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 65px\" /></a>  <a href=\"/node/89196\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Saturn.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 187px; height: 62px\" /></a>  <a href=\"/node/89197\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Uranus.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 65px\" /></a><a href=\"/node/89201\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Neptune01.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 190px; height: 64px\" /></a>       <a href=\"/node/89202\"><img height=\"74\" width=\"305\" src=\"/files/u41158/web.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 158px; height: 62px\" /></a>          <a href=\"/node/89204\"><img height=\"74\" width=\"305\" src=\"/files/u41158/me.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 158px; height: 61px\" /></a>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/mercury.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"377\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/mercury_1.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mercury_2.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mercury_2.jpg</a>\n</p>\n<p>\n           <span style=\"color: #003366\">ดาวพุธ เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด จึงเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์เร็วที่สุด โดยใช้เวลาเพียง 87.969 วันในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ดาวพุธหมุนรอบตัวเองในทิศทางเดียว กับการเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์ คือ จากทิศตะวันตกไป ทิศตะวันออก หมุนรอบตัวเองรอบละ 58.6461 วัน เมื่อพิจารณาจากคาบของการหมุนรอบตัวเอง และการคาบการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ จะพบว่าระยะเวลากลางวัน ถึงกลางคืนบนดาวพุธยาวนานถึง 176 วัน ซึ่งยาวนานที่สุดในระบบสุริยะ เมื่อสังเกตในท้องฟ้า จึงเห็นดาวพุธเป็น ดวงเล็ก ๆ สีขาว อยู่ใกล้ขอบฟ้าขณะดวงอาทิตย์อยู่ใต้ขอบฟ้าลงไป บางครั้งดาวพุธปรากฏตอนเช้า ทางฟ้าด้านตะวันออก บางครั้งก็ปรากฏตอนเย็นทางฟ้าด้านตะวันตก แล้วแต่ตำแหน่งการโคจร รอบดวงอาทิตย์ เราจึงเห็นดาวพุธค่อนข้างยาก ในช่วงเวลาสั้น ๆ เพราะระยะห่างจากดวงอาทิตย์ ์เป็นมุมสูงสุดประมาณ 28 องศาจากขอบฟ้าเท่านั้น การสังเกตจากกล้องโทรทรรศน์ดีที่สุดบนโลก ไม่อาจเห็นรายละเอียดบนพื้นผิวดาวพุธได้ เพราะดาวพุธอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มาก จนมักกลืนหายไป ในแสงอาทิตย์หมด </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><img height=\"218\" width=\"290\" src=\"/files/u41158/Mariner10.gif\" align=\"left\" border=\"0\" style=\"width: 229px; height: 123px\" /></span><span style=\"color: #800000\">การค้นพบ<br />\n            ดาวพุธถูกเยี่ยมเยือนด้วยยานอวกาศเพียงลำเดียวคือ ยานมารีเนอร์ 10 ในปี พ.ศ. 2517  ซึ่งได้ทำการสำรวจและทำแผนที่พื้นผิวดาวพุธเป็นครั้งแรก  แต่เนื่องจากดาวพุธอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มาก จึงสามารถทำแผนที่ได้เพียงร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด  พื้นผิวดาวพุธเต็มไปด้วยหลุมบ่อมากมาย คล้ายกับพื้นผิวดวงจันทร์   มีเทือกเขาสูงใหญ่และแอ่งที่ราบขนาดใหญ่อยู่ทั่วไป   แอ่งที่ราบแคลอริส เป็นแอ่งที่ราบขนาดใหญ่อันหนึ่งซึ่งมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1,300 กิโลเมตร  ทำให้นักดาราศาสตร์สันนิษฐานว่า แอ่งที่ราบขนาดใหญ่นี้เกิดจากการพุ่งชนของอุกกาบาตในยุคเริ่มแรกของระบบสุริยะ </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://sci4fun.com/spaceexploration/Mariner10.gif\">http://sci4fun.com/spaceexploration/Mariner10.gif</a> \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img height=\"328\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/mercury-stuc.jpg\" align=\"right\" border=\"0\" /><br />\n      <span style=\"color: #008000\">  โครงสร้างดาวพุธ และลักษณะพิเศษ </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008000\">        โครงสร้างภายในดาวพุธ (Interior of Mercury) แบ่งเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆคือ <br />\n    1.Core แกนกลางชั้นในสุด ความหนาแน่นสูงมาก ประกอบด้วยเหล็ก (Iron)<br />\n    2.Mantle ชั้นหลอมละลาย ประกอบไปด้วยหินหนืด<br />\n    3.Lithosphere ชั้นผิวพื้นรวมกับชั้นเปลือกนอก (Crusts)ประกอบด้วยหินประเภท Silicate </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008000\">        โดยพื้นฐานดาวพุธมี ลักษณะพิเศษ 3 ประการคือ <br />\n    1.มีความหนาแน่นสูงมากเมื่อเทียบกับ Terrestrial planets (ดาวเคราะห์มีพื้นผิวที่ชัดเจน) เช่น โลก ดาวอังคาร ดาวศุกร์ และ ดวงจันทร์ของโลก <br />\n    2.ผิวหน้าด้านบน ด้านกายภาพมีคุณสมบัติ คล้ายคลึงกับดวงจันทร์ของโลก<br />\n    3.มีจังหวะของวงโคจร 3:2 หมายความว่า ขณะโคจรรอบ ดวงอาทิตย์ แกนดาวพุธหมุนปั่น 3 จังหวะ หยุดค้าง 2 จังหวะ </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008000\">  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mercury.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mercury.jpg</a>\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\"><img height=\"386\" width=\"500\" src=\"/files/u41158/mercury-surface.jpg\" align=\"left\" border=\"0\" style=\"width: 275px; height: 148px\" />สภาพบรรยากาศทั่วไป<br />\n    บรรยากาศทั่วไป มีก๊าซ Hydrogen - Helium อุณหภูมิ ด้านที่หันสู่ดวงอาทิตย์ร้อนจัด 427 องศา C ด้านหลังที่มืดหนาวจัด -173 องศา C ตรวจพบสนามแม่เหล็กปรากฎรอบดาวพุธ มีความหนาแน่นสูงของ Iron 60-70 % (เทียบโดยน้ำหนัก)บนพื้นผิวไม่ปรากฎการกัดเซาะ เนื่องจากปราศจากลมและน้ำ เพราะฉะนั้นการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงของพื้นผิว เกิดจากเหตุชนปะทะของ อุกกาบาต และการเปลี่ยนแปลงผิวจาก ภูเขาไฟ ในอดีตที่ผ่านมา ทำให้อุณหภูมิ พื้นผิวสองด้านแตกต่างกันมาก ขณะที่ด้านกลางคืนเป็น - 180 องศาเซลเซียส ด้านกลางวันมีอุณหภูมิสูงถึง 450 - 650 องศาเซลเซียส ซึ่งร้อนมากพอที่ตะกั่วหลอมละลายได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\">  </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.solarsystem.ie/th/images/mercurysurface.jpg\">http://www.solarsystem.ie/th/images/mercurysurface.jpg</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img height=\"350\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/mercury_lum.jpg\" align=\"right\" border=\"0\" style=\"width: 382px; height: 295px\" /><span style=\"color: #003300\">วิเคราะห์หลุมอุกกาบาต บนพื้นผิวดาวพุธ<br />\n       บนพื้นผิวดาวพุธ มีหลุมรอยชนปะทะมาก เหมือนผิวหนังที่พุพอง ในชั้นบรรยากาศจะเต็มไปด้วยสะเก็ด อุกกาบาตเล็กๆ ระดมยิงลงมาบนพื้นผิวตลอดเวลา เชื่อได้ว่าบนดาวพุธแถบไม่มีพื้นผิวที่ราบเรียบเลย แต่มากมายด้วยหลุมบ่อเล็ก บ่อน้อยเช่นผิวดวงจันทร์ของโลก <br />\n       แต่หลังจากวิเคราะห์ ข้อมูลใหม่ มีบางประการอาจไม่ถูกต้อง จากที่เคยเข้าใจ หลุมขนาดใหญ่เก่าแก่ บริเวณปากหลุมถูกลบเลือนเห็นได้ชัดเจนโดยเกิดรูปแบบบดบังจากวัตถุดิบเหนือพื้นผิวที่แปรสภาพ ขบวนการดังกล่าว เรียกว่า Intercrater plains (เกิดความเรียบระหว่างหลุม) บนความเรียบระหว่างหลุมนั้น มีลอนลาดเป็นลูกคลื่น น่าจะเกิดจากการไหลของลาวาจากภูเขาไฟในอดีต หรือ การแรงอัดกระแทกจากการชนปะทะจากอุกกาบาตจนทำให้ พื้นผิวขับเคลื่อนเป็นลอน (Impact ejecta deposit) ทำใหพื้นที่หลุมเก่าเหมือนถูกกลบจากล่องลอยชน<br />\n       เมื่อศึกษาโดยละเอียดเพิ่มเติม พบว่าขนาด หลุมอุกกาบาต มีขนาดที่แตกต่างจากหลุมบนดวงจันทร์ของโลก โดยส่วนใหญ่หลุมบนดวงจันทร์ มีลักษณะเหมือนโพรงขนาดใหญ่ ที่ถูกขุดแบบกระจุยกระจายบนพื้นผิว ส่วนบนดาวพุธลักษณะเกิดขอบใกล้ริมปากหลุมมากกว่า ตั้งแต่ชนปะทะครั้งดึกดำบรรพ์ เป็นการเกิดแบบดันออก (Ejecta)ทั้งนี้เพราะดาวพุธ มีแรงดึงดูดสูงกว่าดวงจันทร์ </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n<p align=\"right\">\n <a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mercury_9.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mercury_9.jpg</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">การหดตัวและการเกิดลอนลูกคลื่น บนผิวดาวพุธ <br />\n         การแสดงรูปแบบ Tectonic (การเปลี่ยนแปลงผิวจากภูเขาไฟ) บนดาวพุธ ที่เกิดการก่อตัวบนพื้นผิว เหมือนตุ่มที่ชันขึ้น (Lobate scarps) กรอปทำให้เกิดหน้าผาตัดผ่านแถบยาวและบริเวณปากปล่องหลุมด้วย กรณีดังกล่าวที่เกิด Lobate scarpsเป็นจำนวนมากทำให้เกิดการผลักดันแบบไร้ทิศทาง แสดงความกดดันบนเปลือกดาวพุธ จากความกดดันมีอย่างยาวนานนั้น เมื่อเย็นตัวลงทำให้พื้นผิว บนดาวพุธหดย่นลง เหมือนลอนลูกคลื่นจากนั้นค่อยๆสร้างผลกระทบไปสู่ ความกดดันชั้นเปลือก (Crust) ลงต่อสู่ระบบปัญหาการหมุนของตัวเอง<br />\n        การสำรวจพบว่า ครึ่งหนึ่งบนพื้นผิวดาวพุธ เต็มไปด้วยปุ่มเนิน (Prominent) โดยเฉพาะบริเวณ Caloris basin ทำให้เห็นเหมือนแผลเป็นบนดาวพุธ เป็นแนววงแหวน กลุ่มก้อนภูเขา มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1,300 กิโลเมตร ภูเขาบางแห่งยาว 30-50 กม.ความสูง 1-2 กม.ตามแนวที่ราบเรียบสันเขาทั้งหมด ได้พบหลุมเล็กๆอันเกิดจากการระดมยิงของอุกกาบาตอย่างต่อเนื่องบนผิวหน้า ส่วนใจกลาง Caloris basin เป็นพื้นดินแนวต่ำ ในด้านตรงกันข้าม อีกฝั่งของดวงพุธ กลับพบร่องรอยแตกหักแตกแยกขนาดใหญ่ ในกรณีนี้มีข้อโต้แย้งกันว่า อาจเกิดสาเหตุ หินที่เย็นตัวถูกดันออกมาจาก Melts(ชั้นหลอมละลาย) ของ Magmas เหมือนถูกเคาะออกมาอย่างเบาๆ จากการชนปะทะของอุกกาบาตในบริเวณนั้น มีผลไปยังฝั่งตรงข้ามอีกด้าน หรือจากปฏิกิริยาในชั้นหลอมละลาย เกิดความร้อนเพราะการชนปะทะของอุกกาบาต </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"400\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/mercury_ejec.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mercury_8.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mercury_8.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/82234\"><img height=\"125\" width=\"129\" src=\"/files/u41158/Home.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 88px; height: 93px\" /></a><br />\n \n</p>\n', created = 1718579411, expire = 1718665811, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b73bb2e270c6206186dc269cc5ca648d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6691c12dc1fd321f1bb5d31c2c571962' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/88843\"><img height=\"73\" width=\"362\" src=\"/files/u41158/born.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 185px; height: 58px\" /></a>    <a href=\"/node/88848\"><img height=\"73\" width=\"362\" src=\"/files/u41158/planet.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 184px; height: 58px\" /></a>  <a href=\"/node/89173\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/TheSun.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 190px; height: 64px\" /></a><a href=\"/node/89178\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Venus.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 65px\" /></a>  <a href=\"/node/89184\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Earth.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 65px\" /></a>  <a href=\"/node/89186\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Mar.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 191px; height: 64px\" /></a><a href=\"/node/89189\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Jupiter.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 65px\" /></a>  <a href=\"/node/89196\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Saturn.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 187px; height: 62px\" /></a>  <a href=\"/node/89197\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Uranus.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 189px; height: 65px\" /></a><a href=\"/node/89201\"><img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/Neptune01.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 190px; height: 64px\" /></a>       <a href=\"/node/89202\"><img height=\"74\" width=\"305\" src=\"/files/u41158/web.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 158px; height: 62px\" /></a>          <a href=\"/node/89204\"><img height=\"74\" width=\"305\" src=\"/files/u41158/me.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 158px; height: 61px\" /></a>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<img height=\"124\" width=\"373\" src=\"/files/u41158/mercury.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"377\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/mercury_1.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mercury_2.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mercury_2.jpg</a>\n</p>\n<p>\n           <span style=\"color: #003366\">ดาวพุธ เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด จึงเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์เร็วที่สุด โดยใช้เวลาเพียง 87.969 วันในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ดาวพุธหมุนรอบตัวเองในทิศทางเดียว กับการเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์ คือ จากทิศตะวันตกไป ทิศตะวันออก หมุนรอบตัวเองรอบละ 58.6461 วัน เมื่อพิจารณาจากคาบของการหมุนรอบตัวเอง และการคาบการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ จะพบว่าระยะเวลากลางวัน ถึงกลางคืนบนดาวพุธยาวนานถึง 176 วัน ซึ่งยาวนานที่สุดในระบบสุริยะ เมื่อสังเกตในท้องฟ้า จึงเห็นดาวพุธเป็น ดวงเล็ก ๆ สีขาว อยู่ใกล้ขอบฟ้าขณะดวงอาทิตย์อยู่ใต้ขอบฟ้าลงไป บางครั้งดาวพุธปรากฏตอนเช้า ทางฟ้าด้านตะวันออก บางครั้งก็ปรากฏตอนเย็นทางฟ้าด้านตะวันตก แล้วแต่ตำแหน่งการโคจร รอบดวงอาทิตย์ เราจึงเห็นดาวพุธค่อนข้างยาก ในช่วงเวลาสั้น ๆ เพราะระยะห่างจากดวงอาทิตย์ ์เป็นมุมสูงสุดประมาณ 28 องศาจากขอบฟ้าเท่านั้น การสังเกตจากกล้องโทรทรรศน์ดีที่สุดบนโลก ไม่อาจเห็นรายละเอียดบนพื้นผิวดาวพุธได้ เพราะดาวพุธอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มาก จนมักกลืนหายไป ในแสงอาทิตย์หมด </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><img height=\"218\" width=\"290\" src=\"/files/u41158/Mariner10.gif\" align=\"left\" border=\"0\" style=\"width: 229px; height: 123px\" /></span><span style=\"color: #800000\">การค้นพบ<br />\n            ดาวพุธถูกเยี่ยมเยือนด้วยยานอวกาศเพียงลำเดียวคือ ยานมารีเนอร์ 10 ในปี พ.ศ. 2517  ซึ่งได้ทำการสำรวจและทำแผนที่พื้นผิวดาวพุธเป็นครั้งแรก  แต่เนื่องจากดาวพุธอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มาก จึงสามารถทำแผนที่ได้เพียงร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด  พื้นผิวดาวพุธเต็มไปด้วยหลุมบ่อมากมาย คล้ายกับพื้นผิวดวงจันทร์   มีเทือกเขาสูงใหญ่และแอ่งที่ราบขนาดใหญ่อยู่ทั่วไป   แอ่งที่ราบแคลอริส เป็นแอ่งที่ราบขนาดใหญ่อันหนึ่งซึ่งมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1,300 กิโลเมตร  ทำให้นักดาราศาสตร์สันนิษฐานว่า แอ่งที่ราบขนาดใหญ่นี้เกิดจากการพุ่งชนของอุกกาบาตในยุคเริ่มแรกของระบบสุริยะ </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://sci4fun.com/spaceexploration/Mariner10.gif\">http://sci4fun.com/spaceexploration/Mariner10.gif</a> \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img height=\"328\" width=\"450\" src=\"/files/u41158/mercury-stuc.jpg\" align=\"right\" border=\"0\" /><br />\n      <span style=\"color: #008000\">  โครงสร้างดาวพุธ และลักษณะพิเศษ </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008000\">        โครงสร้างภายในดาวพุธ (Interior of Mercury) แบ่งเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆคือ <br />\n    1.Core แกนกลางชั้นในสุด ความหนาแน่นสูงมาก ประกอบด้วยเหล็ก (Iron)<br />\n    2.Mantle ชั้นหลอมละลาย ประกอบไปด้วยหินหนืด<br />\n    3.Lithosphere ชั้นผิวพื้นรวมกับชั้นเปลือกนอก (Crusts)ประกอบด้วยหินประเภท Silicate </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008000\">        โดยพื้นฐานดาวพุธมี ลักษณะพิเศษ 3 ประการคือ <br />\n    1.มีความหนาแน่นสูงมากเมื่อเทียบกับ Terrestrial planets (ดาวเคราะห์มีพื้นผิวที่ชัดเจน) เช่น โลก ดาวอังคาร ดาวศุกร์ และ ดวงจันทร์ของโลก <br />\n    2.ผิวหน้าด้านบน ด้านกายภาพมีคุณสมบัติ คล้ายคลึงกับดวงจันทร์ของโลก<br />\n    3.มีจังหวะของวงโคจร 3:2 หมายความว่า ขณะโคจรรอบ ดวงอาทิตย์ แกนดาวพุธหมุนปั่น 3 จังหวะ หยุดค้าง 2 จังหวะ </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008000\">  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mercury.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mercury.jpg</a>\n</p>\n<p></p>', created = 1718579411, expire = 1718665811, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6691c12dc1fd321f1bb5d31c2c571962' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดาวพุธ

                              


http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mercury_2.jpg

           ดาวพุธ เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด จึงเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์เร็วที่สุด โดยใช้เวลาเพียง 87.969 วันในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ดาวพุธหมุนรอบตัวเองในทิศทางเดียว กับการเคลื่อนรอบดวงอาทิตย์ คือ จากทิศตะวันตกไป ทิศตะวันออก หมุนรอบตัวเองรอบละ 58.6461 วัน เมื่อพิจารณาจากคาบของการหมุนรอบตัวเอง และการคาบการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย์ จะพบว่าระยะเวลากลางวัน ถึงกลางคืนบนดาวพุธยาวนานถึง 176 วัน ซึ่งยาวนานที่สุดในระบบสุริยะ เมื่อสังเกตในท้องฟ้า จึงเห็นดาวพุธเป็น ดวงเล็ก ๆ สีขาว อยู่ใกล้ขอบฟ้าขณะดวงอาทิตย์อยู่ใต้ขอบฟ้าลงไป บางครั้งดาวพุธปรากฏตอนเช้า ทางฟ้าด้านตะวันออก บางครั้งก็ปรากฏตอนเย็นทางฟ้าด้านตะวันตก แล้วแต่ตำแหน่งการโคจร รอบดวงอาทิตย์ เราจึงเห็นดาวพุธค่อนข้างยาก ในช่วงเวลาสั้น ๆ เพราะระยะห่างจากดวงอาทิตย์ ์เป็นมุมสูงสุดประมาณ 28 องศาจากขอบฟ้าเท่านั้น การสังเกตจากกล้องโทรทรรศน์ดีที่สุดบนโลก ไม่อาจเห็นรายละเอียดบนพื้นผิวดาวพุธได้ เพราะดาวพุธอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มาก จนมักกลืนหายไป ในแสงอาทิตย์หมด

 

การค้นพบ
            ดาวพุธถูกเยี่ยมเยือนด้วยยานอวกาศเพียงลำเดียวคือ ยานมารีเนอร์ 10 ในปี พ.ศ. 2517  ซึ่งได้ทำการสำรวจและทำแผนที่พื้นผิวดาวพุธเป็นครั้งแรก  แต่เนื่องจากดาวพุธอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มาก จึงสามารถทำแผนที่ได้เพียงร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด  พื้นผิวดาวพุธเต็มไปด้วยหลุมบ่อมากมาย คล้ายกับพื้นผิวดวงจันทร์   มีเทือกเขาสูงใหญ่และแอ่งที่ราบขนาดใหญ่อยู่ทั่วไป   แอ่งที่ราบแคลอริส เป็นแอ่งที่ราบขนาดใหญ่อันหนึ่งซึ่งมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1,300 กิโลเมตร  ทำให้นักดาราศาสตร์สันนิษฐานว่า แอ่งที่ราบขนาดใหญ่นี้เกิดจากการพุ่งชนของอุกกาบาตในยุคเริ่มแรกของระบบสุริยะ

 

http://sci4fun.com/spaceexploration/Mariner10.gif 

 


        โครงสร้างดาวพุธ และลักษณะพิเศษ

        โครงสร้างภายในดาวพุธ (Interior of Mercury) แบ่งเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆคือ
    1.Core แกนกลางชั้นในสุด ความหนาแน่นสูงมาก ประกอบด้วยเหล็ก (Iron)
    2.Mantle ชั้นหลอมละลาย ประกอบไปด้วยหินหนืด
    3.Lithosphere ชั้นผิวพื้นรวมกับชั้นเปลือกนอก (Crusts)ประกอบด้วยหินประเภท Silicate

        โดยพื้นฐานดาวพุธมี ลักษณะพิเศษ 3 ประการคือ
    1.มีความหนาแน่นสูงมากเมื่อเทียบกับ Terrestrial planets (ดาวเคราะห์มีพื้นผิวที่ชัดเจน) เช่น โลก ดาวอังคาร ดาวศุกร์ และ ดวงจันทร์ของโลก
    2.ผิวหน้าด้านบน ด้านกายภาพมีคุณสมบัติ คล้ายคลึงกับดวงจันทร์ของโลก
    3.มีจังหวะของวงโคจร 3:2 หมายความว่า ขณะโคจรรอบ ดวงอาทิตย์ แกนดาวพุธหมุนปั่น 3 จังหวะ หยุดค้าง 2 จังหวะ

 

 

http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_mercury.jpg

สร้างโดย: 
นายจำเริญ บุญยืน,นางสาวกนกพร รัตนเจริญพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 609 คน กำลังออนไลน์