• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6ae03917f8ba163aa603835645b2ea5d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"230\" width=\"324\" src=\"/files/u40977/20081128Galileu01.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.italiaoggi.com.br/not10_1208/20081128Galileu01.jpg\">http://www.italiaoggi.com.br/not10_1208/20081128Galileu01.jpg</a>\n</p>\n<p>\nอริสโตเติลคิดและเขียนเรื่องต่างๆไว้มากทั้งจริยธรรม  ปรัชญา  การเมือง  ธรรมชาติวิทยา ตรรกวิทยา  ฯลฯ <br />\n  <br />\n(1) วิธีศึกษาโลก<br />\n     อริสโตเติลวิเคราะห์โลกด้วยการแยกประเภท  (Classification)  การแยกประเภทต้องมีหลักหรือแนวความคิดในการแยก  ไม่ใช่แยกเอาตามอำเภอใจ<br />\n     อริสโตเติลแบ่งสิ่งต่างๆในจักรวาลโดยหลักข้อแรกคือ  แบ่งออกเป็นสิ่งที่มีการเกิดการวัตถุในท้องฟ้าต่างๆ จากนั้นแบ่งสิ่งที่มีเกิดมีสลายโดยใช้หลักการเรื่องวิญญาณ  คือแบ่งเป็นสิ่งมีวิญญาณกับสิ่งไม่มีวิญญาณ  ซึ่งได้แก่พวกวัตถุต่างๆ\n</p>\n<p>\n     สิ่งที่มีวิญญาณแบ่งออกเป็น<br />\nพืช   มีวิญญาณชนิดเดียวคือ การกินอาหารได้<br />\nสัตว์ มีวิญญาณสองชนิดคือ การกินอาหารได้และการมีความรู้สึกทางประสาทสัมผัส<br />\nคน มีวิญญาณสามชนิดคือ การกินอาหารได้  การมีความรู้สึกทางประสาทสัมผัสและการมีเหตุผล<br />\nในหนังสือ  Historia  Animalium  อริสโตเติลยังแสดงระบบสืบพันธุ์และระบบขับถ่ายไว้ด้วย\n</p>\n<p>\n(2) ระบบของจักรวาล<br />\n     สิ่งต่างๆในจักรวาลมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง  การเปลี่ยนแปลงคือการที่สิ่งต่างๆกลายสภาพจากสภาวะแฝงไปสู่สภาวะจริงขึ้นเรื่อยๆ  นั่นคือการเปลี่ยนแปลงทั้งหลายมีจุดหมายความคิดดังกล่าวนี้นำไปสู่ความคิดว่าจุดหมายสูงสุดคือความจริงสูงสุด  คือ  สิ่งซึ่งทำให้สิ่งอื่นเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง  แต่ตัวมันเองไม่เปลี่ยนแปลง  (The  Unmoved  Mover)  หรือพระเจ้า\n</p>\n<p>\n(3) การหาความรู้แบบนิรนัย<br />\n     เราจะเห็นได้ว่าคณิตศาสตร์เป็นที่มาของการสร้างระบบความรู้  อริสโตเติล  ยังวิเคราะห์วิธีหาความรู้ของเขา  โดยเชื่อว่าสิ่งที่เขาวิเคราะห์ได้  คือ  กฏของความคิด  วิธีหาความร็ดังกล่าวได้แก่วิธีนิรนัย  ซึ่งใช้กันต่อมาจนตลอดสมัยกลาง  และยังมีบทบาทในการหาความรู้จนถึงปัจจุบันด้วย<br />\nหากเราเริ่มต้นวิเคราะห์เรขาคณิตซึ่งเป็นวิชาที่ชาวกรีกยกย่อง  เราก็จะเห็นรูปแบบการหาความรู้แบบนิรนัยได้ชัดเจน  เราสร้างทฤษฎีบทขึ้นจากข้อยอมรับดังกล่าว  แล้วเราก็พิสูจน์ทฤษฎีบทหลังๆด้วยทฤษฎีบทก่อนๆ  นั่นคือ  ความรู้ใหม่ได้จากความรู้เดิมโดยไม่ต้องสังเกตหรือทดลองอะไรเลย  การพิสูจน์เรขาคณิตเป็นการอ้างเหตุผลจากสิ่งที่ได้กำหนดความหมายไว้แล้วทั้งสิ้น  วิธีนิรนัยนี้เราอาจใช้พูดถึงสิ่งที่มีอยู่จริงๆก็ได้<br />\n     ในสมัยกรีกโบราณความรู้จากประสบการณ์ยังไม่ได้รับความนิยม  และยังไม่ได้สะสมขึ้นมากพอจะค้านความรู้ที่ได้จากวิธีนิรนัย แม้แต่เรื่องที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ เช่น โลกกลม หรือโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ การที่ วิธีหาความรู้แบบนิรนัยมีข้อบกพร่องมิใช่ทำให้กลายเป็นวิธีที่ไม่ดี การหาคสามรู้แบบนี้ได้ช่วยให้มนุษย์เราสามารถวิเคราะห์สิ่งต่างๆ มาได้เป็นเวลานาน อย่างน้อยการใช้เหตุผลก็ช่วยนำให้มนุษย์พ้นจากวิธีการอธิบายโดยอ้างสิ่งเหนือธรรมชาติ และทำให้มนุษย์เชื่อว่าตนสามารถหาความรู้ได้\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><a href=\"/node/87396\">&lt;&lt;</a>   <a href=\"/node/87486\">ปัญญาความคิดสมัยเฮเลนิค</a>    <a href=\"/node/87691\">ปัญญาความคิดสมัยเฮเลนิสติค </a></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><img height=\"50\" width=\"600\" src=\"/files/u40977/1020.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 656px; height: 50px\" /></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><a href=\"/node/87384\"><img height=\"200\" width=\"400\" src=\"/files/u40977/01234-.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 288px; height: 165px\" /></a>   <a href=\"/node/87692\"><img height=\"200\" width=\"400\" src=\"/files/u40977/01235.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 282px; height: 163px\" /></a></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><a href=\"/node/89549\"><img height=\"200\" width=\"400\" src=\"/files/u40977/01237.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 286px; height: 165px\" /></a>   <a href=\"/node/82062\"><img height=\"200\" width=\"400\" src=\"/files/u40977/01236.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 286px; height: 163px\" /></a></strong>\n</p>\n<p><strong></strong></p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/86490\"><img height=\"300\" width=\"300\" src=\"/files/u40977/858.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 192px; height: 193px\" /></a>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1720195484, expire = 1720281884, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6ae03917f8ba163aa603835645b2ea5d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อริสโตเติล

 

http://www.italiaoggi.com.br/not10_1208/20081128Galileu01.jpg

อริสโตเติลคิดและเขียนเรื่องต่างๆไว้มากทั้งจริยธรรม  ปรัชญา  การเมือง  ธรรมชาติวิทยา ตรรกวิทยา  ฯลฯ
 
(1) วิธีศึกษาโลก
     อริสโตเติลวิเคราะห์โลกด้วยการแยกประเภท  (Classification)  การแยกประเภทต้องมีหลักหรือแนวความคิดในการแยก  ไม่ใช่แยกเอาตามอำเภอใจ
     อริสโตเติลแบ่งสิ่งต่างๆในจักรวาลโดยหลักข้อแรกคือ  แบ่งออกเป็นสิ่งที่มีการเกิดการวัตถุในท้องฟ้าต่างๆ จากนั้นแบ่งสิ่งที่มีเกิดมีสลายโดยใช้หลักการเรื่องวิญญาณ  คือแบ่งเป็นสิ่งมีวิญญาณกับสิ่งไม่มีวิญญาณ  ซึ่งได้แก่พวกวัตถุต่างๆ

     สิ่งที่มีวิญญาณแบ่งออกเป็น
พืช   มีวิญญาณชนิดเดียวคือ การกินอาหารได้
สัตว์ มีวิญญาณสองชนิดคือ การกินอาหารได้และการมีความรู้สึกทางประสาทสัมผัส
คน มีวิญญาณสามชนิดคือ การกินอาหารได้  การมีความรู้สึกทางประสาทสัมผัสและการมีเหตุผล
ในหนังสือ  Historia  Animalium  อริสโตเติลยังแสดงระบบสืบพันธุ์และระบบขับถ่ายไว้ด้วย

(2) ระบบของจักรวาล
     สิ่งต่างๆในจักรวาลมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง  การเปลี่ยนแปลงคือการที่สิ่งต่างๆกลายสภาพจากสภาวะแฝงไปสู่สภาวะจริงขึ้นเรื่อยๆ  นั่นคือการเปลี่ยนแปลงทั้งหลายมีจุดหมายความคิดดังกล่าวนี้นำไปสู่ความคิดว่าจุดหมายสูงสุดคือความจริงสูงสุด  คือ  สิ่งซึ่งทำให้สิ่งอื่นเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง  แต่ตัวมันเองไม่เปลี่ยนแปลง  (The  Unmoved  Mover)  หรือพระเจ้า

(3) การหาความรู้แบบนิรนัย
     เราจะเห็นได้ว่าคณิตศาสตร์เป็นที่มาของการสร้างระบบความรู้  อริสโตเติล  ยังวิเคราะห์วิธีหาความรู้ของเขา  โดยเชื่อว่าสิ่งที่เขาวิเคราะห์ได้  คือ  กฏของความคิด  วิธีหาความร็ดังกล่าวได้แก่วิธีนิรนัย  ซึ่งใช้กันต่อมาจนตลอดสมัยกลาง  และยังมีบทบาทในการหาความรู้จนถึงปัจจุบันด้วย
หากเราเริ่มต้นวิเคราะห์เรขาคณิตซึ่งเป็นวิชาที่ชาวกรีกยกย่อง  เราก็จะเห็นรูปแบบการหาความรู้แบบนิรนัยได้ชัดเจน  เราสร้างทฤษฎีบทขึ้นจากข้อยอมรับดังกล่าว  แล้วเราก็พิสูจน์ทฤษฎีบทหลังๆด้วยทฤษฎีบทก่อนๆ  นั่นคือ  ความรู้ใหม่ได้จากความรู้เดิมโดยไม่ต้องสังเกตหรือทดลองอะไรเลย  การพิสูจน์เรขาคณิตเป็นการอ้างเหตุผลจากสิ่งที่ได้กำหนดความหมายไว้แล้วทั้งสิ้น  วิธีนิรนัยนี้เราอาจใช้พูดถึงสิ่งที่มีอยู่จริงๆก็ได้
     ในสมัยกรีกโบราณความรู้จากประสบการณ์ยังไม่ได้รับความนิยม  และยังไม่ได้สะสมขึ้นมากพอจะค้านความรู้ที่ได้จากวิธีนิรนัย แม้แต่เรื่องที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ เช่น โลกกลม หรือโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ การที่ วิธีหาความรู้แบบนิรนัยมีข้อบกพร่องมิใช่ทำให้กลายเป็นวิธีที่ไม่ดี การหาคสามรู้แบบนี้ได้ช่วยให้มนุษย์เราสามารถวิเคราะห์สิ่งต่างๆ มาได้เป็นเวลานาน อย่างน้อยการใช้เหตุผลก็ช่วยนำให้มนุษย์พ้นจากวิธีการอธิบายโดยอ้างสิ่งเหนือธรรมชาติ และทำให้มนุษย์เชื่อว่าตนสามารถหาความรู้ได้

<<   ปัญญาความคิดสมัยเฮเลนิค    ปัญญาความคิดสมัยเฮเลนิสติค

  

  

สร้างโดย: 
นางสาว ปวีณา วิริยะมั่นพงศ์ และครูที่ปรึกษา คุณครูพีรทิพย์ สุคันธเมศวร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 581 คน กำลังออนไลน์