• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4a7d77e7497919610fd36a81626256ac' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<strong>\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"380\" width=\"380\" src=\"/files/u31712/Ch-B-H.jpg\" border=\"0\" />    \n</div>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/78380\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-G.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/72866\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-T.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/74804?page=0%2C0\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-BBC.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/72895\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-O.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/76193\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Dy.jpg\" border=\"0\" /></a><br />\n<a href=\"/node/78042\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-N.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/79404\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Ci.jpg\" border=\"0\" /></a><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Qu.jpg\" border=\"0\" /><a href=\"/node/79405\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-m.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n</div>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/76193\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Dy.jpg\" border=\"0\" /></a> \n</p>\n</div>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"/node/75328\"><strong>ยุคราชวงศ์ฉิน</strong></a>   <a href=\"/node/75349\"><strong>ยุคราชวงศ์ฮั่น</strong></a>  <a href=\"/node/75426\"><strong>ยุคสามก๊ก</strong></a>  <a href=\"/node/75451\"><strong>ยุคราชวงศ์จิ้น</strong></a>  <a href=\"/node/75467\"><strong>ยุคราชวงศ์เหนือใต้</strong></a>  <a href=\"/node/75446\"><strong>ยุคราชวงศ์สุย</strong></a>  <a href=\"/node/75642\"><strong>ยุคราชวงศ์ถัง</strong></a> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/76058\"><strong>5 ราชวงศ์ 10 แคว้น</strong></a>  <a href=\"/node/75649\"><strong>ยุคราชวงศ์ซ่ง</strong></a>  <a href=\"/node/76074\"><strong>ยุคราชวงศ์หยวน</strong></a>  <a href=\"/node/76079\"><strong>ยุคราชวงศ์หมิง</strong></a>  <a href=\"/node/76105\"><strong>ยุคราชวงศ์ชิง</strong></a>  \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p></strong>\n</div>\n<p>\n <span style=\"color: #ff0000\"><strong>ยุคราชวงศ์ชิง 清朝 (ค.ศ. 1644-1911)</strong></span><br />\n      \n</p>\n<p>\n          ถึงแม้<span style=\"color: #ff6600\"><strong>ชาวแมนจู 满洲人</strong></span> จะไม่ใช่ชาวฮั่น และถูกต่อต้านอย่างรุนแรงโดยเฉพาะจากชาวจีนทางใต้ แต่ชาวแมนจูก็ได้ศึกษาและเข้าใจวัฒนธรรมของชาวจีนอย่างดี มีการนำเอาลัทธิข่งจื่อและพิธีการเซ่นไหว้บรรพบุรษมาใช้ ในด้านการปกครองยังคงระบบเดิมของราชวงศ์หมิง และราชวงศ์ก่อน ๆ มาใช้   ระบบการสอบคัดเลือกเข้ารับราชการก็ยังคงใช้อยู่และชาวจีนก็ได้เข้ารับราชการในระดับสูง ยกเว้นตำแหน่งทางทหาร <strong>ลัทธิข่งจื่อแนวใหม่ที่สอนให้เชื่อฟังโดยไม่มีปากมีเสียง ได้เสริมความมั่นคงของรัฐ  การฟื้นฟูวรรณกรรมโบราณได้รับการสนับสนุนจากจักรพรรดิแมนจู</strong>\n</p>\n<p>\n       ความไม่ไว้วางใจกันเป็นไปอย่างกว้างขวาง  ชาวแมนจูกลัวถูกชาวฮั่นกลืนจึงห้ามชาวฮั่นอพยพเข้าไปในเขตแมนจูเรีย และชาวแมนจูก็ถูกห้ามเกี่ยวข้องกับการค้าและฝีมือแรงงาน การแต่งงานระหว่างสองชนเผ่าเป็นสิ่งต้องห้าม  สำหรับตำแหน่งทางราชการหลาย ๆ ตำแหน่งต้องแต่งตั้งคู่กันทั้งคนของแมนจูและคนจีนฮั่น คือคนจีนฮั่นสำหรับทำหน้าที่ขณะที่คนแมนจูมาสอดส่องความจงรักภักดีต่อราชวงศ์ชิง\n</p>\n<p>\n    ราชวงศ์ชิงได้ป้องกันตนเองจากการถูกต่อต้านจากภายในและการรุกรานจากภายนอก หลังจากที่จัดการภายในเรียบร้อยแล้ว แมนจูก็สามารถ<u>เข้ายึดครองมองโกลเลียนอกในศรรตวรรษที่ 17  และในศรรตวรรษที่ 18 สามารถควบคุมเอเชียตอนกลาง จรดเทือกเขาปาเมอร์</u> (Pamir Moutains) <span style=\"color: #800080\">และก่อตั้งรัฐกันชนที่ซีจ้าง 西藏 (ธิเบต)</span> <span style=\"color: #800080\">ไต้หวันซึ่งเป็นดินแดนที่ต่อต้านแมนจูก็ถูกรวมเข้าเป็นแห่งสุดท้าย</span> ทำให้<span style=\"color: #ff9900\"><strong>อาณาจักรภายใต้การปกครองของแมนจูกว้างใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีมา</strong></span>\n</p>\n<p>\n     ภัยคุกคามของจีนไม่ได้มาจากแผ่นดินเหมือนในอดีต   แต่กลับมาจากทางทะเล โดยเริ่มจากฝั่งทะเลทางใต้ เมื่อพ่อค้าชาวตะวันตก นักเผยแพร่ศาสนา ทหารรับจ้างจำนวนมากเข้าสู่แผ่นดินชิง ในศรรตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ชิงไม่สามารถประเมินสถานการณ์ได้อย่างถูกต้อง ต่อการท้าทาย ทำให้นำไปสู่การล่มสลายของราชวงศ์ชิงในที่สุด\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/70565\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-H.jpg\" border=\"0\" /></a> \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">แหล่งอ้างอิง <a href=\"http://www.thaichinese.net/History/Imperial/Imperial2/Imperial3/imperial3.html#Qing\" title=\"http://www.thaichinese.net/History/Imperial/Imperial2/Imperial3/imperial3.html#Qing\">http://www.thaichinese.net/History/Imperial/Imperial2/Imperial3/imperial...</a> <a href=\"http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-23.shtml\">http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-23.shtml</a>  <a href=\"http://www.oknation.net/blog/print.php?id=236556\">http://www.oknation.net/blog/print.php?id=236556</a></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div style=\"text-align: center\">\n<strong>\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"380\" width=\"380\" src=\"/files/u31712/Ch-B-H.jpg\" border=\"0\" />    \n</div>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/78380\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-G.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/72866\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-T.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/74804?page=0%2C0\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-BBC.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/72895\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-O.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/76193\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Dy.jpg\" border=\"0\" /></a><br />\n<a href=\"/node/78042\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-N.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/79404\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Ci.jpg\" border=\"0\" /></a><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Qu.jpg\" border=\"0\" /><a href=\"/node/79405\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-m.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n</div>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/76193\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Dy.jpg\" border=\"0\" /></a> \n</p>\n</div>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"/node/75328\"><strong>ยุคราชวงศ์ฉิน</strong></a>   <a href=\"/node/75349\"><strong>ยุคราชวงศ์ฮั่น</strong></a>  <a href=\"/node/75426\"><strong>ยุคสามก๊ก</strong></a>  <a href=\"/node/75451\"><strong>ยุคราชวงศ์จิ้น</strong></a>  <a href=\"/node/75467\"><strong>ยุคราชวงศ์เหนือใต้</strong></a>  <a href=\"/node/75446\"><strong>ยุคราชวงศ์สุย</strong></a>  <a href=\"/node/75642\"><strong>ยุคราชวงศ์ถัง</strong></a> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/76058\"><strong>5 ราชวงศ์ 10 แคว้น</strong></a>  <a href=\"/node/75649\"><strong>ยุคราชวงศ์ซ่ง</strong></a>  <a href=\"/node/76074\"><strong>ยุคราชวงศ์หยวน</strong></a>  <a href=\"/node/76079\"><strong>ยุคราชวงศ์หมิง</strong></a>  <a href=\"/node/76105\"><strong>ยุคราชวงศ์ชิง</strong></a>  \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p></strong>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>ราชวงศ์ชิง  (ปีคริสตศักราช 1616 – ปีคริสตศักราช 1911)</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"> จักรพรรดิหนุ่ม</span><br />\n      <strong>จักรพรรดิคังซี</strong>ได้ขึ้นครองราชย์เมื่อมีพระชนมายุได้ 8 พรรษา ตอนนั้น <strong>เอ๋าไป้</strong> กุมอำนาจในวัง วันหนึ่งฆ่าขุนนางฝ่ายบุ๋นอีกวันฆ่าคนนางฝ่ายบู๊ตามอำเภอใจ ไม่เห็นฮ่องเต้อยู่ในสายตา และหวังว่าสักวันหนึ่งตนจะได้ขึ้นเป็นจักรพรรดิแทน มีอยู่วันหนึ่งเอ๋าไป้กำลังคิดจะฆ่าขุนนางอีกคนหนึ่ง แต่จักรพรรดิคังซีมิทรงเห็นชอบด้วย เค้าโมโหมากเดินขึ้นไปที่ราชบัลลังก์จับฉลองพระองค์ขององค์จักรพรรดิคังซีเอาไว้ แล้วตะโกนว่า “ ข้าพระองค์สั่งให้ประหาร ก็ต้องประหารได้ ฝ่าบาทยังทรงพระเยาว์ จะมารู้เรื่องอันใด” เมื่อทูลจบเค้าก็เดินออกมาจากท้องพระโรง เมื่อกลับมาถึงจวนก็ได้มีคำสั่งให้ประหารขุนนางผู้นั้นเสีย<br />\n     เมื่อคังซีฮ่องเต้ทรงทราบข่าวก็กริ้วอย่างยิ่ง ทรงครุ่นคิดว่าจะใช้วิธีการใดกำจัดเอ๋าไป้เสีย พระองค์คิดจะหลอกเอ๋าไป้ให้เข้าวังก่อน หลังจากนั้นหาวิธีคุมตัวให้ได้ แต่พระองค์ไม่สามารถสั่งการทหารได้ เพราะทั้งนอกและในพระราชวังเต็มไปด้วยสายของเอ๋าไป้ ในพระราชวัง จักรพรรดิได้ทรงชุบเลี้ยงขันทีเด็กประมาณ 10 กว่าคน พวกเค้าไม่รู้หนังสือ ฝึกวรยุทธ์ตั้งแต่เล็ก เป็นองครักษ์รักษาพระองค์ ทุกวันพวกเขาจะฝึกยุทธ์ร่วมกับคังซีฮ่องเต้ และพระองค์ทรงบอกแผนการของพระองค์ต่อพวกเขาซึ่งรักกันดังเช่นพี่น้องร่วมสายโลหิต<br />\n     วันรุ่งขึ้น คังซีฮ่องเต้มีพระราชโองการให้เอ๋าไป้เข้าเฝ้าเล่นหมากรุกด้วยกัน เนื่องจากเอ๋าไป้ไม่เคยเห็นพระองค์อยู่ในสายตาอยู่แล้ว จึงมิได้ระแวงสงสัยแม้แต่น้อย แม้แต่ผู้ติดตามก็ไม่นำมา เมื่อเอ๋าไป้มาถึง ขันทีเด็ก 10 กว่าคนลงมือพร้อมกัน จักรพรรดิคังซีรับสั่งเสียงดังว่า “เอ๋าไป้ วันนี้เป็นวันตายของเจ้าแล้ว ยังมิเข้าใจอีกหรือ ” ซึ่งกว่าจะรู้ตัวก็สายไปเสียแล้ว <br />\n     เมื่อคังซีฮ่องเต้กำจัดเอ๋าไป้สำเร็จ ก็ทรงโปรดให้มีราชโองการให้จับกุมครอบครัวและบริวารของเอ๋าไป้ทั้งหมดเอาไว้ ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ทั้งหลายต่างเกรงกลัว และเลื่อมใสในพระปรีชาของพระองค์ ซึ่งตอนนั้นจักรพรรดิคังซีมีพระชนมายุแค่เพียง 16 พรรษา\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><strong>ยุครุ่งเรืองของสมัยจักรพรรดิคังซี และเฉียงหลง</strong></span><br />\n       สมัยจักรพรรดิคังซี หย่งเจิ้น และเฉียงหลง เป็นยุคที่รุ่งเรืองมากที่สุดในราชวงศ์ชิง คังซีฮ่องเต้ได้ปราบปรามการกบฏที่ชินเจียง และรวมประเทศให้เป็นปึกแผ่น ทำให้ราชวงศ์ชิงมีอาณาจักรที่กว้างใหญ่ไพศาลและมั่นคง <br />\n       จักรพรรดิคังซีทรงให้ความสำคัญกับการเกษตร ส่งเสริมการขยายพื้นที่ทำกินก่อสร้างการชลประทาน ลดภาษีชาวนา ทำให้ทุกคนมีกิน เท่าที่พอจะสำรวจได้ ในสมัยของจักรพรรดิคังซี ได้มีการลดหย่อนการเสียภาษีทั้งหมดกว่า 500 ครั้ง นอกจากนี้พระองค์ยังทรงโปรดให้มีการรวบรวมสมุด หนังสือ<span style=\"color: #ff0000\"><strong> “กู่จินถูซูจี๋เฉิง ”</strong></span> (สมุดรวมหนังสือโบราณและปัจจุบัน) <strong>หนังสือรวมบทกวีราชวงศ์ถังและพจนานุกรมจักรพรรดิคังซี</strong> เป็นต้น<br />\n    \n</p>\n<p>\n         เล่ากันว่าจักรพรรดิเฉียนหลงไม่ใช่พระโอรสของจักรพรรดิหย่งเจิ้น แต่เป็นบุตรชายของเศรษฐีแซ่เฉินในเมืองไห่หนิง วันที่พระสนมเอกขององค์ชายหย่งเจิ้นมีพระประสูติการพระราชธิดาองค์หนึ่ง พอดีภรรยาของเศรษฐ๊เฉินได้คลอดบุตรชายคนหนึ่ง เมื่อหย่งเจิ้นทราบก็ทรงมีราชโองการลับสั่งให้เศรษฐีเฉินอุ้มลูกเข้าเฝ้า และอ้างว่าพระสนมทรงอยากเห็ยหน้าบุตรของเศรษฐีเฉิน แล้วจึงให้ขันทีอุ้มบุตรของเศรษฐีเฉินเข้าวังฝ่ายใน หลังจากนั้นได้ทำการสับเปลี่ยนเอาพระราชธิดาให้กับเศรษฐีเฉินแทน ต่อมาเศรษฐีเฉินรู้ความจริง แต่มิกล้าขัดพระประสงค์ คาดไม่ถึงว่าบุตรชายคนนี้ของเค้าฉลาดมาตั้งแต่เกิด จึงเป็นที่โปรดปรานของจักรพรรดิคังซี และองค์ชายหย่งเจิ้น ในที่สุดได้กลายเป็นจักรพรรดิที่ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่งในประวัติศาสตร์จีน ว่ากันว่าตอนที่จักรพรรดิเฉียนหลงเสร็จภาคใต้เป็นครั้งที่ 6 ก็ได้แอบไปเยี่ยมญาติที่เมืองไห่หนิง <br />\n       <strong>จักรพรรดิเฉียนหลงเป็นจักรพรรดิที่มีพระปรีชาสามารถทางด้านการทหาร และทางศิลปะที่หายากในประวัติศาสตร์จีน</strong> นอกจากนี้พระองค์ยังทรงเป็นนักสะสมโบราณวัตถุชั้นเยี่ยม ได้มีพระราชโองการให้จัดทำ <strong>ซื่อคู่เฉวียนซู (หนังสือชุดรวม 4 ด้าน)</strong> <span style=\"color: #800080\">ได้รวบรวมหนังสือทั้งหมด 3503 ชนิด 79337 หมวด 36304 เล่ม จำนวนหมวดของหนังสือเป็น 3 เท่าของหย่งเล่อต้าเตี่ยน เป็นที่รวบรวมมรดกทางวัฒนธรรม และแนวคิดโบราณของประเทศจีน <br />\n</span>      แต่จักรพรรดิเฉียนหลงโปรดความยิ่งใหญ่อลังการ และโปรดความเป็นอยู่ที่หรูหรา พระองค์ทรงแต่งตั้ง<strong>เหอเซิน</strong>เป็นเสนาบดีนานถึง 20 ปี เหอเซินผู้นี้เป็นขุนนางกังฉินที่ฉ้อราษฏร์บังหลวงมากที่สุดในประวัติศาสตร์จีน ในช่วงระยะเวลา 20 ปีที่ดำรงตำแหน่งเสนาบดี ขุนนางทั้งใหญ่น้อยต่างก็โกงกินกันทั้งสิ้น ทำให้บ้านเมืองไม่สงบ ราชวงศ์ชิงที่เคยรุ่งเรืองที่สุดกลับเสื่อมลงสู่ความพินาศ\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff6600\">จักรพรรดิองค์สุดท้าย</span></strong> <br />\n    เดือนพฤษจิกายน ปี ค.ศ.1908 ก่อนที่พระนางซูสีสวรรคต์เพียงวันเดียว พระนางได้โปรดแต่งตั้ง<strong>จักรพรรดิปูยี</strong>เป็นจักรพรรดิองค์ต่อไป ซึ่งจักรพรรดิปูยีคือจักรพรรดิองค์สุดท้ายของราชวงศ์ชิง <br />\n     ค.ศ.1911<strong> ซุนจงซาน</strong>ได้<span style=\"color: #ff0000\">ก่อการปฏิวัติซินไห้</span> ในวันที่ 12 เดือนกุมภาพันธ์ ปีถัดมาจักรพรรดิปูยีมีพระราชโองการสละราชบัลลังก์ โดยยังอาศัยอยู่ในพระราชวังซึ่งเป็น<span style=\"color: #ff0000\"><strong>การประกาศว่าราชวงศ์ชิงได้สิ้นสุดลง ระบบกษัตริย์ที่มีมายาวนานกว่า 4000 ปีก็ได้สิ้นสุดลงไปด้วย</strong></span> <br />\n   ในวันที่ 5 พฤษจิกายน ค.ศ. 1924 จักรพรรดิปูยีเดินทางออกจากพระราชวังและลี้ภัยไปที่ประเทศญี่ปุ่น หลังจากเดินทางได้ไม่นานก็ไปถึงเทียนสินภายใต้การคุ้มครองของญี่ปุ่น วันที่ 1 มีนาคม ค.ศ.1932 ด้วยการวางแผนของญี่ปุ่น จักรพรรดิปูยีได้ขึ้นมาเป็นจักรพรรดิราชอาณาจักรหม่านโจว ตกเป็นหุ่นเชิดของญี่ปุ่นในการรุกรานภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน <br />\n    หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง ญี่ปุ่นยอมจำนน จักรพรรดิปูยีถูกคุมขังในฐานะเชลยศึก ต่อมาได้รับการปล่อยตัวให้เป็นอิสระและถูกถอดให้เป็นสามัญชนธรรมดา ซึ่งจักรพรรดิผปูยีนับเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายในประวัติศาสตร์จีน  \n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/70565\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-H.jpg\" border=\"0\" /></a> \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">แหล่งอ้างอิง <a href=\"http://www.thaichinese.net/History/Imperial/Imperial2/Imperial3/imperial3.html#Qing\">http://www.thaichinese.net/History/Imperial/Imperial2/Imperial3/imperial3.html#Qing</a> <a href=\"http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-23.shtml\">http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-23.shtml</a>  <a href=\"http://www.oknation.net/blog/print.php?id=236556\">http://www.oknation.net/blog/print.php?id=236556</a></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div style=\"text-align: center\">\n<strong>\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"380\" width=\"380\" src=\"/files/u31712/Ch-B-H.jpg\" border=\"0\" />    \n</div>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/78380\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-G.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/72866\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-T.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/74804?page=0%2C0\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-BBC.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/72895\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-O.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/76193\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Dy.jpg\" border=\"0\" /></a><br />\n<a href=\"/node/78042\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-N.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/79404\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Ci.jpg\" border=\"0\" /></a><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Qu.jpg\" border=\"0\" /><a href=\"/node/79405\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-m.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n</div>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/76193\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Dy.jpg\" border=\"0\" /></a> \n</p>\n</div>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"/node/75328\"><strong>ยุคราชวงศ์ฉิน</strong></a>   <a href=\"/node/75349\"><strong>ยุคราชวงศ์ฮั่น</strong></a>  <a href=\"/node/75426\"><strong>ยุคสามก๊ก</strong></a>  <a href=\"/node/75451\"><strong>ยุคราชวงศ์จิ้น</strong></a>  <a href=\"/node/75467\"><strong>ยุคราชวงศ์เหนือใต้</strong></a>  <a href=\"/node/75446\"><strong>ยุคราชวงศ์สุย</strong></a>  <a href=\"/node/75642\"><strong>ยุคราชวงศ์ถัง</strong></a> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/76058\"><strong>5 ราชวงศ์ 10 แคว้น</strong></a>  <a href=\"/node/75649\"><strong>ยุคราชวงศ์ซ่ง</strong></a>  <a href=\"/node/76074\"><strong>ยุคราชวงศ์หยวน</strong></a>  <a href=\"/node/76079\"><strong>ยุคราชวงศ์หมิง</strong></a>  <a href=\"/node/76105\"><strong>ยุคราชวงศ์ชิง</strong></a>  \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p></strong>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>สตรีที่โลกไม่ลืม ซูสีไทเฮา ราชินีหลังม่าน เหนือมังกร</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong></strong></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><img height=\"600\" width=\"432\" src=\"/files/u31712/sushi3.jpg\" border=\"0\" /></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มาของรูปภาพ <a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/8/80/Empress-Dowager-Cixi2.jpg\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/8/80/Empress-Dowager-Cixi2.jpg</a>\n</div>\n<p>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"></span></p>\n<p>\n<br />\n      <span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\">พระนางซูสีไทเฮา เกิดวันที่ 29 พฤศจิกายน 1835 เดิมชื่อ<strong> เยโฮนาลา</strong> ครอบครัวเป็นคนชั้นกลางชาวแมนจู บิดาเป็นขุนนางท้องถิ่นเล็กๆ (บางแหล่งว่า เป็นทหารรักษาพระราชวังต้องห้าม) เมื่ออายุ 17 ปี ได้ถวายตัวเป็นนางสนมของ ฮ่องเต้เสียนเฟิง ต่อมานางตั้งครรภ์และได้ให้พระโอรส เหตุการณ์นี้ทำให้นางได้เลื่อนขั้นเป็น กุ้ยเฟย (สนมชั้นสูงสุด)<br />\n      เนื่องจากฮ่องเต้เสียนเฟิง มีอายุสั้นเพียง 30 ปี สวรรคตไปเมื่อปี 1861 (2404 )  พระโอรสเพียงพระองค์เดียวที่กำเนิดโดยสนมกุ้ยเฟย ( ซูสีไทเฮา )จึงได้ขึ้นครองราชย์สืบมา ทรงพระนาม ถงจือ ตามประเพณีของราชวงศ์ชิง คณะผู้สำเร็จราชการต้องเฉลิมพระนามแด่พระราชินี และนางเยโฮนาลาว่าเป็นพระราชินีหม้าย (Empress Dowager) นางเยโฮนาลาได้พระนามว่า &quot;&quot;ซูสีแปลว่า พระมารดาแห่งความเจริญรุ่งเรือง&quot;&quot;</span> </span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\nคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในพระนามาภิไธยสมเด็จพระจักรพรรดิได้ประกาศเฉลิมพระนามาภิไธยของพระชายาทั้งสอง\n</p>\n<p>\n<br />\n         โดยสมเด็จพระจักรพรรดินีเจินในพระชนมายุยี่สิบเจ็ดพรรษาเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีฉืออัน พระพันปีหลวง ( 慈安皇太后 ซูอันไทเฮา)  และซูสีไทเฮาในตำแหน่งพระอัครชายา พระชันษายี่สิบห้าชันษา เป็น สมเด็จพระจักรพรรดินีฉือสี พระพันปีหลวง ( 慈禧太后)   ว่าราชการหลังม่าน จนถึงปี 1873 ที่ฮ่องเต้เติบโตขึ้นจนสามารถว่าราชการเองได้  ที่โดยฮ่องเต้ถงจื้อเป็นคนเสเพลและโปรดการเที่ยวซ่องโสเภณี  และว่ากันว่าพระองค์สวรรคตด้วยโรคซิฟิลิต  เมื่อปี 1875<br />\n     ซูสีไทเฮาฝ่าฝืนกฎการสืบสันตติวงศ์โดยนำหลายชาย ( ลูกน้องสาว) นามกวางซวี หรือ กวางสู อายุเพียง 3 ขวบ ขึ้นมาเป็นจักรพรรดิองค์ต่อไป\n</p>\n<p>\n       ฮองเฮาทั้ง 2 พระองค์ก็ยังคงดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระจักรพรรดิเช่นเดิม จนเมื่อฉืออันไทเฮาสิ้นพระชนม์ในค.ศ. 1881 ( ในหนังว่าพระนางซูสี เป็นผู้วางยา ) ซูสีไทเฮาจึงได้ขึ้นมีอำนาจเต็มเหนือแผ่นดินจีน<br />\n       ฮ่องเต้กวางสู  ถึงพระชนมายุที่สามารถขึ้นมีพระราชอำนาจได้ พระนางก็วางมือจากการบริหารราชสำนัก ถึงกระนั้นก็ยังส่งสายลับของพระนางเข้าไปเป็นเครือข่ายในราชสำนักอยู่ดี<br />\n     \n</p>\n<p>\n       ฮ่องเต้กวางสู ซึ่งเป็นฮ่องเต้หุ่นเชิดของพระนางซูสีไทเฮา ฮ่องเต้กวางสูเมื่อเติบใหญ่  พยายามจะปฏิรูปราชการให้ทันสมัย  ( การปฏิรูป 100 วัน )  แต่ไปกระทบกับอำนาจของขุนนางเก่า  ทำให้ พวกขุนนางไปเข้ากับฝ่ายของซูสีไทเฮา ซึ่งอนุรักษ์นิยม การแข็งกร้าวเพื่อต่อต้านอำนาจของซูสีไทเฮา แต่ล้มเหลวในที่สุด  ฮ่องเต้ กวางสูถูกจองจำในตำหนักฤดูร้อน  และพวกปฏิรูปถูกจับ ประหารถึง 6 คน<br />\n    ใ นปีต่อมา ซูสีไทเฮาได้หนุนหลังกลุ่มจลาจลหลายกลุ่ม ทั้งกลุ่มที่ต่อต้านการปฏิรูปและต่อต้านชาวต่างชาติ ต่อมา กองกำลังทหารต่างชาติได้บุกเข้าพระราชวังต้องห้ามและยึดกรุงปักกิ่งไว้ได้ ทำให้ซูสีไทเฮาต้องยอมรับข้อตกลงสงบศึก<br />\n      \n</p>\n<p>\n        ว่ากันว่า ต่อมา พระนางก็วางยาปลงพระชนม์ฮ่องเต้กวางสู ก่อนที่พระนางจะเสียชีวิตได้ไม่นานนัก<br />\n  \n</p>\n<p>\n             มีผู้กล่าวไว้ว่า พระราชอำนาจของพระนางซูสีไทเฮามีเทียบเท่ากับสมเด็จพระบรมราชินีนาถวิกตอเรียในสมัยเดียวกัน อย่างไรก็ตาม นอกจากด้านการเมืองแล้ว พระนางทรงสร้างคุณประโยชน์ให้เป็นที่จดจำ <br />\n   โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านศิลปวัฒนธรรม ที่นางเป็น<strong>ผู้อุปถัมภ์ค้ำชูงิ้ว</strong> ถึงขนาดในพระราชวังของนางมีโรงงิ้วที่ดี และกลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวในปัจจุบัน รวมทั้งในสมัยของซูสีไทเฮา นางยังได้<strong>ก่อตั้งสวนสัตว์วิทยาปักกิ่งในปี 1906</strong> ซึ่งต่อมาสวนสัตว์วิทยาแห่งนี้ กลายเป็นสถาบันแรกที่ได้ทำการขยายพันธุ์หมีแพนด้าสำเร็จ<br />\n     จักพรรดิปูยีครองราชย์ได้ไม่นาน ซูสีไทเฮาก็สิ้นพระชนม์ลงในวันที่ 15 พฤศจิกายน 1908     รวมพระชนพรรษา  73 ปี\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/70565\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-H.jpg\" border=\"0\" /></a> \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">แหล่งอ้างอิง <a href=\"http://www.thaichinese.net/History/Imperial/Imperial2/Imperial3/imperial3.html#Qing\">http://www.thaichinese.net/History/Imperial/Imperial2/Imperial3/imperial3.html#Qing</a> <a href=\"http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-23.shtml\">http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-23.shtml</a>  <a href=\"http://www.oknation.net/blog/print.php?id=236556\">http://www.oknation.net/blog/print.php?id=236556</a></span>\n</p>\n', created = 1720198565, expire = 1720284965, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4a7d77e7497919610fd36a81626256ac' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1f349a0162e6e58881e2062da45cea3e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<strong>\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"380\" width=\"380\" src=\"/files/u31712/Ch-B-H.jpg\" border=\"0\" />    \n</div>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/78380\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-G.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/72866\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-T.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/74804?page=0%2C0\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-BBC.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/72895\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-O.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/76193\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Dy.jpg\" border=\"0\" /></a><br />\n<a href=\"/node/78042\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-N.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/79404\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Ci.jpg\" border=\"0\" /></a><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Qu.jpg\" border=\"0\" /><a href=\"/node/79405\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-m.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n</div>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/76193\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Dy.jpg\" border=\"0\" /></a> \n</p>\n</div>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"/node/75328\"><strong>ยุคราชวงศ์ฉิน</strong></a>   <a href=\"/node/75349\"><strong>ยุคราชวงศ์ฮั่น</strong></a>  <a href=\"/node/75426\"><strong>ยุคสามก๊ก</strong></a>  <a href=\"/node/75451\"><strong>ยุคราชวงศ์จิ้น</strong></a>  <a href=\"/node/75467\"><strong>ยุคราชวงศ์เหนือใต้</strong></a>  <a href=\"/node/75446\"><strong>ยุคราชวงศ์สุย</strong></a>  <a href=\"/node/75642\"><strong>ยุคราชวงศ์ถัง</strong></a> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/76058\"><strong>5 ราชวงศ์ 10 แคว้น</strong></a>  <a href=\"/node/75649\"><strong>ยุคราชวงศ์ซ่ง</strong></a>  <a href=\"/node/76074\"><strong>ยุคราชวงศ์หยวน</strong></a>  <a href=\"/node/76079\"><strong>ยุคราชวงศ์หมิง</strong></a>  <a href=\"/node/76105\"><strong>ยุคราชวงศ์ชิง</strong></a>  \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p></strong>\n</div>\n<p>\n <span style=\"color: #ff0000\"><strong>ยุคราชวงศ์ชิง 清朝 (ค.ศ. 1644-1911)</strong></span><br />\n      \n</p>\n<p>\n          ถึงแม้<span style=\"color: #ff6600\"><strong>ชาวแมนจู 满洲人</strong></span> จะไม่ใช่ชาวฮั่น และถูกต่อต้านอย่างรุนแรงโดยเฉพาะจากชาวจีนทางใต้ แต่ชาวแมนจูก็ได้ศึกษาและเข้าใจวัฒนธรรมของชาวจีนอย่างดี มีการนำเอาลัทธิข่งจื่อและพิธีการเซ่นไหว้บรรพบุรษมาใช้ ในด้านการปกครองยังคงระบบเดิมของราชวงศ์หมิง และราชวงศ์ก่อน ๆ มาใช้   ระบบการสอบคัดเลือกเข้ารับราชการก็ยังคงใช้อยู่และชาวจีนก็ได้เข้ารับราชการในระดับสูง ยกเว้นตำแหน่งทางทหาร <strong>ลัทธิข่งจื่อแนวใหม่ที่สอนให้เชื่อฟังโดยไม่มีปากมีเสียง ได้เสริมความมั่นคงของรัฐ  การฟื้นฟูวรรณกรรมโบราณได้รับการสนับสนุนจากจักรพรรดิแมนจู</strong>\n</p>\n<p>\n       ความไม่ไว้วางใจกันเป็นไปอย่างกว้างขวาง  ชาวแมนจูกลัวถูกชาวฮั่นกลืนจึงห้ามชาวฮั่นอพยพเข้าไปในเขตแมนจูเรีย และชาวแมนจูก็ถูกห้ามเกี่ยวข้องกับการค้าและฝีมือแรงงาน การแต่งงานระหว่างสองชนเผ่าเป็นสิ่งต้องห้าม  สำหรับตำแหน่งทางราชการหลาย ๆ ตำแหน่งต้องแต่งตั้งคู่กันทั้งคนของแมนจูและคนจีนฮั่น คือคนจีนฮั่นสำหรับทำหน้าที่ขณะที่คนแมนจูมาสอดส่องความจงรักภักดีต่อราชวงศ์ชิง\n</p>\n<p>\n    ราชวงศ์ชิงได้ป้องกันตนเองจากการถูกต่อต้านจากภายในและการรุกรานจากภายนอก หลังจากที่จัดการภายในเรียบร้อยแล้ว แมนจูก็สามารถ<u>เข้ายึดครองมองโกลเลียนอกในศรรตวรรษที่ 17  และในศรรตวรรษที่ 18 สามารถควบคุมเอเชียตอนกลาง จรดเทือกเขาปาเมอร์</u> (Pamir Moutains) <span style=\"color: #800080\">และก่อตั้งรัฐกันชนที่ซีจ้าง 西藏 (ธิเบต)</span> <span style=\"color: #800080\">ไต้หวันซึ่งเป็นดินแดนที่ต่อต้านแมนจูก็ถูกรวมเข้าเป็นแห่งสุดท้าย</span> ทำให้<span style=\"color: #ff9900\"><strong>อาณาจักรภายใต้การปกครองของแมนจูกว้างใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีมา</strong></span>\n</p>\n<p>\n     ภัยคุกคามของจีนไม่ได้มาจากแผ่นดินเหมือนในอดีต   แต่กลับมาจากทางทะเล โดยเริ่มจากฝั่งทะเลทางใต้ เมื่อพ่อค้าชาวตะวันตก นักเผยแพร่ศาสนา ทหารรับจ้างจำนวนมากเข้าสู่แผ่นดินชิง ในศรรตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ชิงไม่สามารถประเมินสถานการณ์ได้อย่างถูกต้อง ต่อการท้าทาย ทำให้นำไปสู่การล่มสลายของราชวงศ์ชิงในที่สุด\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/70565\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-H.jpg\" border=\"0\" /></a> \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">แหล่งอ้างอิง <a href=\"http://www.thaichinese.net/History/Imperial/Imperial2/Imperial3/imperial3.html#Qing\" title=\"http://www.thaichinese.net/History/Imperial/Imperial2/Imperial3/imperial3.html#Qing\">http://www.thaichinese.net/History/Imperial/Imperial2/Imperial3/imperial...</a> <a href=\"http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-23.shtml\">http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-23.shtml</a>  <a href=\"http://www.oknation.net/blog/print.php?id=236556\">http://www.oknation.net/blog/print.php?id=236556</a></span>\n</p>\n', created = 1720198565, expire = 1720284965, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1f349a0162e6e58881e2062da45cea3e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ยุคราชวงศ์ชิง

รูปภาพของ sss27520

 ยุคราชวงศ์ชิง 清朝 (ค.ศ. 1644-1911)
      

          ถึงแม้ชาวแมนจู 满洲人 จะไม่ใช่ชาวฮั่น และถูกต่อต้านอย่างรุนแรงโดยเฉพาะจากชาวจีนทางใต้ แต่ชาวแมนจูก็ได้ศึกษาและเข้าใจวัฒนธรรมของชาวจีนอย่างดี มีการนำเอาลัทธิข่งจื่อและพิธีการเซ่นไหว้บรรพบุรษมาใช้ ในด้านการปกครองยังคงระบบเดิมของราชวงศ์หมิง และราชวงศ์ก่อน ๆ มาใช้   ระบบการสอบคัดเลือกเข้ารับราชการก็ยังคงใช้อยู่และชาวจีนก็ได้เข้ารับราชการในระดับสูง ยกเว้นตำแหน่งทางทหาร ลัทธิข่งจื่อแนวใหม่ที่สอนให้เชื่อฟังโดยไม่มีปากมีเสียง ได้เสริมความมั่นคงของรัฐ  การฟื้นฟูวรรณกรรมโบราณได้รับการสนับสนุนจากจักรพรรดิแมนจู

       ความไม่ไว้วางใจกันเป็นไปอย่างกว้างขวาง  ชาวแมนจูกลัวถูกชาวฮั่นกลืนจึงห้ามชาวฮั่นอพยพเข้าไปในเขตแมนจูเรีย และชาวแมนจูก็ถูกห้ามเกี่ยวข้องกับการค้าและฝีมือแรงงาน การแต่งงานระหว่างสองชนเผ่าเป็นสิ่งต้องห้าม  สำหรับตำแหน่งทางราชการหลาย ๆ ตำแหน่งต้องแต่งตั้งคู่กันทั้งคนของแมนจูและคนจีนฮั่น คือคนจีนฮั่นสำหรับทำหน้าที่ขณะที่คนแมนจูมาสอดส่องความจงรักภักดีต่อราชวงศ์ชิง

    ราชวงศ์ชิงได้ป้องกันตนเองจากการถูกต่อต้านจากภายในและการรุกรานจากภายนอก หลังจากที่จัดการภายในเรียบร้อยแล้ว แมนจูก็สามารถเข้ายึดครองมองโกลเลียนอกในศรรตวรรษที่ 17  และในศรรตวรรษที่ 18 สามารถควบคุมเอเชียตอนกลาง จรดเทือกเขาปาเมอร์ (Pamir Moutains) และก่อตั้งรัฐกันชนที่ซีจ้าง 西藏 (ธิเบต) ไต้หวันซึ่งเป็นดินแดนที่ต่อต้านแมนจูก็ถูกรวมเข้าเป็นแห่งสุดท้าย ทำให้อาณาจักรภายใต้การปกครองของแมนจูกว้างใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีมา

     ภัยคุกคามของจีนไม่ได้มาจากแผ่นดินเหมือนในอดีต   แต่กลับมาจากทางทะเล โดยเริ่มจากฝั่งทะเลทางใต้ เมื่อพ่อค้าชาวตะวันตก นักเผยแพร่ศาสนา ทหารรับจ้างจำนวนมากเข้าสู่แผ่นดินชิง ในศรรตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ชิงไม่สามารถประเมินสถานการณ์ได้อย่างถูกต้อง ต่อการท้าทาย ทำให้นำไปสู่การล่มสลายของราชวงศ์ชิงในที่สุด

 

แหล่งอ้างอิง http://www.thaichinese.net/History/Imperial/Imperial2/Imperial3/imperial... http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-23.shtml  http://www.oknation.net/blog/print.php?id=236556

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 581 คน กำลังออนไลน์