• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ceeb9306fd6a2675115fc8ca0b292fca' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<strong>\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"380\" width=\"380\" src=\"/files/u31712/Ch-B-H.jpg\" border=\"0\" />    \n</div>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/78380\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-G.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/72866\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-T.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/74804?page=0%2C0\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-BBC.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/72895\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-O.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/76193\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Dy.jpg\" border=\"0\" /></a><br />\n<a href=\"/node/78042\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-N.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/79404\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Ci.jpg\" border=\"0\" /></a><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Qu.jpg\" border=\"0\" /><a href=\"/node/79405\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-m.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n</div>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/76193\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Dy.jpg\" border=\"0\" /></a> \n</p>\n</div>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"/node/75328\"><strong>ยุคราชวงศ์ฉิน</strong></a>   <a href=\"/node/75349\"><strong>ยุคราชวงศ์ฮั่น</strong></a>  <a href=\"/node/75426\"><strong>ยุคสามก๊ก</strong></a>  <a href=\"/node/75451\"><strong>ยุคราชวงศ์จิ้น</strong></a>  <a href=\"/node/75467\"><strong>ยุคราชวงศ์เหนือใต้</strong></a>  <a href=\"/node/75446\"><strong>ยุคราชวงศ์สุย</strong></a>  <a href=\"/node/75642\"><strong>ยุคราชวงศ์ถัง</strong></a> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/76058\"><strong>5 ราชวงศ์ 10 แคว้น</strong></a>  <a href=\"/node/75649\"><strong>ยุคราชวงศ์ซ่ง</strong></a>  <a href=\"/node/76074\"><strong>ยุคราชวงศ์หยวน</strong></a>  <a href=\"/node/76079\"><strong>ยุคราชวงศ์หมิง</strong></a>  <a href=\"/node/76105\"><strong>ยุคราชวงศ์ชิง</strong></a>  \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p></strong>\n</div>\n<p>\n <strong><span style=\"color: #ff6600\">พลิกโฉมการปกครองภายใน</span></strong> <br />\n          เจ้าควงอิ้นและเจ้ากวงอี้สองพี่น้องที่ได้ผ่านพบความวุ่นวุ่นวายแตกแยกของบ้านเมืองที่เกิดขึ้นจากการแย่งชิงอำนาจของเหล่าขุนศึก อีกทั้งประสบการณ์ความพลิกผันทางการเมืองของตน ทราบว่า เป็นเพราะเหล่าขุนศึกมีทั้งกำลังทหารและกำลังทรัพย์อยู่ในมือ ทั้งได้รับการสนับสนุนจากประชาชนในท้องถิ่น ดังนั้น เพื่อเป็นการลิดรอนอำนาจของเหล่าแม่ทัพรักษาชายแดน ราชสำนักได้จัดส่งขุนนางฝ่ายบุ๋นออกไปทำหน้าที่ปกครองในส่วนท้องถิ่นโดยตรง มีการคัดเลือกทหารฝีมือดีจากท้องถิ่นเข้าสู่ส่วนกลางเพื่อทำหน้าที่กองกำลังรักษาวังหลวง ทั้งให้มีการสับเปลี่ยนโยกย้ายตำแหน่งประจำการทุกสามปี ส่วนด้านการเงิน ก็กำหนดให้รายรับรายจ่ายของท้องถิ่น(ภาษี เงินปี เบี้ยบำเหน็จ บำนาญข้าราชการ) ต้องจัดรวบรวมและแจกจ่ายจากส่วนกลาง <br />\n          การปฏิรูปดังกล่าว เป็นการเสริมสร้างอำนาจการปกครองส่วนกลางให้เข้มแข็งขึ้นอย่างไม่มียุคใดเทียบได้ พร้อมกับได้สลายขุมกำลังท้องถิ่นลงอย่างราบคาบ ตลอดราชวงศ์ไม่มีขุมกำลังอื่นใดในแผ่นดินสามารถท้าทายราชอำนาจของกษัตริย์ได้อีก อย่างไรก็ตาม นโยบายดังกล่าวส่งผลให้กองทัพอ่อนแอลง ทำให้ราชสำนักซ่งต้องตกเป็นฝ่าย “ตั้งรับ ” ในยุคสมัยที่รอบข้างเต็มไปด้วยชนเผ่านักรบจากนอกด่านที่ทวีความแข็งกล้าขึ้น ดูจะไม่ใช่เวลาที่เหมาะสมนัก\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff6600\">การปฏิรูปที่ไร้ผล</span></strong> <br />\n         ปี 1022 ซ่งเจินจง  ล้มป่วยสิ้นพระชนม์ ซ่งเหยินจง  ( 1022 – 1063) ราชโอรสขึ้นครองราชย์ด้วยวัยเพียง 13 ปี ดังนั้นจึงมีหลิวไทเฮาคอยดูแลให้คำปรึกษาราชกิจ ต่อเมื่อ หลิวไทเฮาสิ้นพระชนม์ในปี 1033 ซ่งเหยินจงจึงเริ่มบริหารราชกิจด้วยตนเอง จากนั้นไม่นาน ราชสำนักซ่งเปิดศึกกับซีเซี่ยอีกครั้ง แต่ทัพซ่งก็ต้องแพ้พ่ายเสียหายกลับมา เป็นเหตุให้ซ่งเหยินจงมีดำริที่จะปรับปรุงกองทัพและการคลังครั้งใหญ่ <br />\n         ปี 1043 ทรงแต่งตั้งฟ่านจ้งเยียน  และคณะให้ดำเนินการปฏิรูประบบการปกครองภายใน แต่นโยบายปฏิรูปของฟ่านจ้งเยียนทำให้บรรดาขุนนางและกลุ่มตระกูลสูงศักดิ์เสียผลประโยชน์ เป็นเหตุให้เกิดเสียงคัดค้านมากมาย สุดท้าย การปฏิรูปดังกล่าวดำเนินการไปได้เพียงปีเศษก็ต้องล้มเลิกไป คณะทำงานปฏิรูปของฟ่านจ้งเยียนต่างทยอยถูกปลดจากตำแหน่ง <br />\n         ปลายรัชกาลซ่งเหยินจง <strong>หวังอันสือ</strong>  ที่เพิ่งเข้ารับตำแหน่งทางราชการไม่นาน ได้นำเสนอแนวทางการปฏิรูปแบบใหม่ โดยเสนอให้เร่งสร้างบุคลากรที่มีความสามารถ ปรับปรุงระเบียบข้อกำหนดกฎหมาย และจัดการบริหารการคลังเสียใหม่ เป็นต้น แนวคิดของหวังอันสือแม้ว่าจะเป็นที่ชื่นชมอย่างมากในหมู่ปัญญาชน แต่ซ่งเหยินจงไม่ได้ดำเนินการแต่อย่างใด <br />\n         จวบจนปี 1963 ซ่งเหยินจง ล้มป่วยสิ้นพระชนม์ลง ซ่งอิงจง  สืบราชบัลลังก์ต่อมาได้เพียง 4 ปี ก็สิ้น โอรสของซ่งอิงจงขึ้นครองราชย์ต่อมาพระนามว่า ซ่งเสินจง  โดยมีบทบาทสำคัญในการให้การสนับหนุนแนวคิดการปฏิรูปกฎหมายของหวังอันสือ <br />\n        ในเวลานั้น ปัญหาความขัดแย้งในสังคมและวิกฤตทางการเงินยิ่งทวีความรุนแรงขึ้น หน่วยงานราชการของราชสำนักซ่งมีขนาดใหญ่โตขึ้นกว่าเมื่อครั้งต้นราชวงศ์ถึงกว่าสิบเท่า เพียงค่าใช้จ่ายแต่ละปีของกองทัพก็ครอบคลุมรายได้กว่าครึ่งจากท้องพระคลัง ดังนั้น ซ่งเสินจงขึ้นครองราชย์ได้ไม่นานก็ทรงแต่งตั้งให้<strong>หวังอันสือ</strong>เป็น <strong><span style=\"color: #000000\">ผู้นำคณะปฏิรูปกฎหมายการปกครองใหม่</span></strong> <br />\n         ระเบียบกฎหมายใหม่ของหวังอันสือมุ่งเน้นการเก็บกวาดรายได้จากบรรดาพ่อค้า ข้าราชการ และเจ้าที่ดินเข้าสู่ท้องพระคลัง <span style=\"color: #800080\">ลดการผูกขาดอำนาจและอภิสิทธิ์ของกลุ่มตระกูลขุนนางชั้นสูง</span> ขณะที่กลุ่มชาวนาและราษฎรทั่วไปลดภาระในการแบกรับภาษีและการเกณฑ์แรงงาน อีกทั้งมีการ<span style=\"color: #993366\">ปรับปรุงระบบชลประทาน</span> ทำให้กำลังการผลิตของสังคมโดยรวมพัฒนาขึ้นในระดับหนึ่ง มีเงินเข้าท้องพระคลังเพิ่มขึ้น<br />\n        อย่างไรก็ตาม ระเบียบกฎหมายใหม่ยังต้องเผชิญกับกระแสการคัดค้านจากผู้เสียผลประโยชน์ ภายหลังซ่งเสินจงสิ้นในปี 1085 โอรสวัยสิบขวบขึ้นครองราชย์ต่อมา พระนามว่า ซ่งเจ๋อจง  มีเกาไทเฮาเป็นที่ปรึกษาราชกิจ ซึ่งให้การสนับสนุนกลุ่มแนวคิดอนุรักษ์แบบเก่านำโดยซือหม่ากวง  ไม่นานนัก กลุ่มปฏิรูปของหวังอันสือก็ถูกขับไล่ออกจากศูนย์กลางอำนาจ ระเบียบกฎหมายใหม่ถูกยกเลิกไป การปฏิรูปของหวังอันสือจึงจบสิ้นลงพร้อมกับการสิ้นพระชนม์ของซ่งเสินจง <br />\n         ต่อเมื่อเกาไทเฮาสิ้นในปี 1093 ซ่งเจ๋อจงก็หันมาให้การสนับสนุนฝ่ายนำการปฏิรูปอีกครั้ง แต่ภายในกลุ่มปฏิรูปเองเกิดแตกความคิดเห็นเป็นหลายฝ่าย กลายเป็นการแก่งแย่งช่วงชิงคานอำนาจกันเอง จวบจนซ่งเจ๋อจงสิ้นในปี 1100 ซ่งฮุยจง  ขึ้นครองราชย์ต่อมา ให้การสนับสนุนกลุ่มขุนนางไช่จิง  และพวก ที่แอบอ้างการผลักดันกฎหมายใหม่ มาใช้ในการโกงกินและขยายอำนาจในหมู่พรรคพวกเดียวกัน อันนำมาซึ่งยุคแห่งความมืดมนฟอนเฟะของราชวงศ์ซ่ง <br />\n    ระบบราชการที่ล้มเหลว เป็นเหตุให้ราษฎรทยอยลุกฮือขึ้นก่อการต่อต้านราชสำนัก อาทิ กบฏฟางล่า (1120) กบฏซ่งเจียง (1118) อันเป็นที่มาของเรื่องราวในตำนาน <span style=\"color: #ff9900\"><strong>“วีรบุรุษเขาเหลียงซาน ”</strong></span>  ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ยอดวรรณดีของจีน เป็นต้น แต่สุดท้ายยังคงต้องพ่ายแพ้แก่ราชสำนักซ่งในที่สุด\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/70565\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-H.jpg\" border=\"0\" /></a> \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">แหล่งอ้างอิง</span> <a href=\"http://www.thaichinese.net/History/Imperial/Imperial2/imperial2.html#Song\">http://www.thaichinese.net/History/Imperial/Imperial2/imperial2.html#Song</a> <a href=\"http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-19.shtml\">http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-19.shtml</a>  <a href=\"http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-20.shtml\">http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-20.shtml</a>\n</p>\n', created = 1720463041, expire = 1720549441, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ceeb9306fd6a2675115fc8ca0b292fca' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ยุคราชวงศ์ซ่ง

รูปภาพของ sss27520

 พลิกโฉมการปกครองภายใน
          เจ้าควงอิ้นและเจ้ากวงอี้สองพี่น้องที่ได้ผ่านพบความวุ่นวุ่นวายแตกแยกของบ้านเมืองที่เกิดขึ้นจากการแย่งชิงอำนาจของเหล่าขุนศึก อีกทั้งประสบการณ์ความพลิกผันทางการเมืองของตน ทราบว่า เป็นเพราะเหล่าขุนศึกมีทั้งกำลังทหารและกำลังทรัพย์อยู่ในมือ ทั้งได้รับการสนับสนุนจากประชาชนในท้องถิ่น ดังนั้น เพื่อเป็นการลิดรอนอำนาจของเหล่าแม่ทัพรักษาชายแดน ราชสำนักได้จัดส่งขุนนางฝ่ายบุ๋นออกไปทำหน้าที่ปกครองในส่วนท้องถิ่นโดยตรง มีการคัดเลือกทหารฝีมือดีจากท้องถิ่นเข้าสู่ส่วนกลางเพื่อทำหน้าที่กองกำลังรักษาวังหลวง ทั้งให้มีการสับเปลี่ยนโยกย้ายตำแหน่งประจำการทุกสามปี ส่วนด้านการเงิน ก็กำหนดให้รายรับรายจ่ายของท้องถิ่น(ภาษี เงินปี เบี้ยบำเหน็จ บำนาญข้าราชการ) ต้องจัดรวบรวมและแจกจ่ายจากส่วนกลาง
          การปฏิรูปดังกล่าว เป็นการเสริมสร้างอำนาจการปกครองส่วนกลางให้เข้มแข็งขึ้นอย่างไม่มียุคใดเทียบได้ พร้อมกับได้สลายขุมกำลังท้องถิ่นลงอย่างราบคาบ ตลอดราชวงศ์ไม่มีขุมกำลังอื่นใดในแผ่นดินสามารถท้าทายราชอำนาจของกษัตริย์ได้อีก อย่างไรก็ตาม นโยบายดังกล่าวส่งผลให้กองทัพอ่อนแอลง ทำให้ราชสำนักซ่งต้องตกเป็นฝ่าย “ตั้งรับ ” ในยุคสมัยที่รอบข้างเต็มไปด้วยชนเผ่านักรบจากนอกด่านที่ทวีความแข็งกล้าขึ้น ดูจะไม่ใช่เวลาที่เหมาะสมนัก

การปฏิรูปที่ไร้ผล
         ปี 1022 ซ่งเจินจง  ล้มป่วยสิ้นพระชนม์ ซ่งเหยินจง  ( 1022 – 1063) ราชโอรสขึ้นครองราชย์ด้วยวัยเพียง 13 ปี ดังนั้นจึงมีหลิวไทเฮาคอยดูแลให้คำปรึกษาราชกิจ ต่อเมื่อ หลิวไทเฮาสิ้นพระชนม์ในปี 1033 ซ่งเหยินจงจึงเริ่มบริหารราชกิจด้วยตนเอง จากนั้นไม่นาน ราชสำนักซ่งเปิดศึกกับซีเซี่ยอีกครั้ง แต่ทัพซ่งก็ต้องแพ้พ่ายเสียหายกลับมา เป็นเหตุให้ซ่งเหยินจงมีดำริที่จะปรับปรุงกองทัพและการคลังครั้งใหญ่
         ปี 1043 ทรงแต่งตั้งฟ่านจ้งเยียน  และคณะให้ดำเนินการปฏิรูประบบการปกครองภายใน แต่นโยบายปฏิรูปของฟ่านจ้งเยียนทำให้บรรดาขุนนางและกลุ่มตระกูลสูงศักดิ์เสียผลประโยชน์ เป็นเหตุให้เกิดเสียงคัดค้านมากมาย สุดท้าย การปฏิรูปดังกล่าวดำเนินการไปได้เพียงปีเศษก็ต้องล้มเลิกไป คณะทำงานปฏิรูปของฟ่านจ้งเยียนต่างทยอยถูกปลดจากตำแหน่ง
         ปลายรัชกาลซ่งเหยินจง หวังอันสือ  ที่เพิ่งเข้ารับตำแหน่งทางราชการไม่นาน ได้นำเสนอแนวทางการปฏิรูปแบบใหม่ โดยเสนอให้เร่งสร้างบุคลากรที่มีความสามารถ ปรับปรุงระเบียบข้อกำหนดกฎหมาย และจัดการบริหารการคลังเสียใหม่ เป็นต้น แนวคิดของหวังอันสือแม้ว่าจะเป็นที่ชื่นชมอย่างมากในหมู่ปัญญาชน แต่ซ่งเหยินจงไม่ได้ดำเนินการแต่อย่างใด
         จวบจนปี 1963 ซ่งเหยินจง ล้มป่วยสิ้นพระชนม์ลง ซ่งอิงจง  สืบราชบัลลังก์ต่อมาได้เพียง 4 ปี ก็สิ้น โอรสของซ่งอิงจงขึ้นครองราชย์ต่อมาพระนามว่า ซ่งเสินจง  โดยมีบทบาทสำคัญในการให้การสนับหนุนแนวคิดการปฏิรูปกฎหมายของหวังอันสือ
        ในเวลานั้น ปัญหาความขัดแย้งในสังคมและวิกฤตทางการเงินยิ่งทวีความรุนแรงขึ้น หน่วยงานราชการของราชสำนักซ่งมีขนาดใหญ่โตขึ้นกว่าเมื่อครั้งต้นราชวงศ์ถึงกว่าสิบเท่า เพียงค่าใช้จ่ายแต่ละปีของกองทัพก็ครอบคลุมรายได้กว่าครึ่งจากท้องพระคลัง ดังนั้น ซ่งเสินจงขึ้นครองราชย์ได้ไม่นานก็ทรงแต่งตั้งให้หวังอันสือเป็น ผู้นำคณะปฏิรูปกฎหมายการปกครองใหม่
         ระเบียบกฎหมายใหม่ของหวังอันสือมุ่งเน้นการเก็บกวาดรายได้จากบรรดาพ่อค้า ข้าราชการ และเจ้าที่ดินเข้าสู่ท้องพระคลัง ลดการผูกขาดอำนาจและอภิสิทธิ์ของกลุ่มตระกูลขุนนางชั้นสูง ขณะที่กลุ่มชาวนาและราษฎรทั่วไปลดภาระในการแบกรับภาษีและการเกณฑ์แรงงาน อีกทั้งมีการปรับปรุงระบบชลประทาน ทำให้กำลังการผลิตของสังคมโดยรวมพัฒนาขึ้นในระดับหนึ่ง มีเงินเข้าท้องพระคลังเพิ่มขึ้น
        อย่างไรก็ตาม ระเบียบกฎหมายใหม่ยังต้องเผชิญกับกระแสการคัดค้านจากผู้เสียผลประโยชน์ ภายหลังซ่งเสินจงสิ้นในปี 1085 โอรสวัยสิบขวบขึ้นครองราชย์ต่อมา พระนามว่า ซ่งเจ๋อจง  มีเกาไทเฮาเป็นที่ปรึกษาราชกิจ ซึ่งให้การสนับสนุนกลุ่มแนวคิดอนุรักษ์แบบเก่านำโดยซือหม่ากวง  ไม่นานนัก กลุ่มปฏิรูปของหวังอันสือก็ถูกขับไล่ออกจากศูนย์กลางอำนาจ ระเบียบกฎหมายใหม่ถูกยกเลิกไป การปฏิรูปของหวังอันสือจึงจบสิ้นลงพร้อมกับการสิ้นพระชนม์ของซ่งเสินจง
         ต่อเมื่อเกาไทเฮาสิ้นในปี 1093 ซ่งเจ๋อจงก็หันมาให้การสนับสนุนฝ่ายนำการปฏิรูปอีกครั้ง แต่ภายในกลุ่มปฏิรูปเองเกิดแตกความคิดเห็นเป็นหลายฝ่าย กลายเป็นการแก่งแย่งช่วงชิงคานอำนาจกันเอง จวบจนซ่งเจ๋อจงสิ้นในปี 1100 ซ่งฮุยจง  ขึ้นครองราชย์ต่อมา ให้การสนับสนุนกลุ่มขุนนางไช่จิง  และพวก ที่แอบอ้างการผลักดันกฎหมายใหม่ มาใช้ในการโกงกินและขยายอำนาจในหมู่พรรคพวกเดียวกัน อันนำมาซึ่งยุคแห่งความมืดมนฟอนเฟะของราชวงศ์ซ่ง
    ระบบราชการที่ล้มเหลว เป็นเหตุให้ราษฎรทยอยลุกฮือขึ้นก่อการต่อต้านราชสำนัก อาทิ กบฏฟางล่า (1120) กบฏซ่งเจียง (1118) อันเป็นที่มาของเรื่องราวในตำนาน “วีรบุรุษเขาเหลียงซาน ”  ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ยอดวรรณดีของจีน เป็นต้น แต่สุดท้ายยังคงต้องพ่ายแพ้แก่ราชสำนักซ่งในที่สุด

 

แหล่งอ้างอิง http://www.thaichinese.net/History/Imperial/Imperial2/imperial2.html#Song http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-19.shtml  http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-20.shtml

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 381 คน กำลังออนไลน์