• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:33ad3eb7d0372481c655aff97d7fcde5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div tyle=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #2b3220\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"380\" width=\"380\" src=\"/files/u31712/Ch-B-H.jpg\" border=\"0\" />    \n</div>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/78380\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-G.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/72866\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-T.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/74804?page=0%2C0\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-BBC.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/72895\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-O.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/76193\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Dy.jpg\" border=\"0\" /></a><br />\n<a href=\"/node/78042\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-N.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/79404\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Ci.jpg\" border=\"0\" /></a><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Qu.jpg\" border=\"0\" /><a href=\"/node/79405\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-m.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n</div>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/76193\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Dy.jpg\" border=\"0\" /></a> \n</p>\n</div>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"/node/75328\"><strong>ยุคราชวงศ์ฉิน</strong></a>   <a href=\"/node/75349\"><strong>ยุคราชวงศ์ฮั่น</strong></a>  <a href=\"/node/75426\"><strong>ยุคสามก๊ก</strong></a>  <a href=\"/node/75451\"><strong>ยุคราชวงศ์จิ้น</strong></a>  <a href=\"/node/75467\"><strong>ยุคราชวงศ์เหนือใต้</strong></a>  <a href=\"/node/75446\"><strong>ยุคราชวงศ์สุย</strong></a>  <a href=\"/node/75642\"><strong>ยุคราชวงศ์ถัง</strong></a> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/76058\"><strong>5 ราชวงศ์ 10 แคว้น</strong></a>  <a href=\"/node/75649\"><strong>ยุคราชวงศ์ซ่ง</strong></a>  <a href=\"/node/76074\"><strong>ยุคราชวงศ์หยวน</strong></a>  <a href=\"/node/76079\"><strong>ยุคราชวงศ์หมิง</strong></a>  <a href=\"/node/76105\"><strong>ยุคราชวงศ์ชิง</strong></a>  \n</p>\n</div>\n<p></p></span>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>&quot;เผยโฉมสุดยอดมัมมี่จีนอายุกว่า 2,000 ปี&quot;</strong></span>\n</p>\n<p>\n                  ใครจะคาดคิดว่า ชาวจีนก็มีการเก็บรักษาศพ หรือที่ทั่วโลกรู้จักกันดีว่า ‘มัมมี่’ ของอียิปต์ แต่วิธีการเก็บรักษาศพของชาวจีนโบราณนี้แตกต่างจากมัมมี่อย่างสิ้นเชิง และทุกวันนี้ความลี้ลับของ ‘มัมมี่จีน’ ก็ยังคงเป็นปริศนาอยู่ว่า พวกเขาทำได้อย่างไร<br />\n      <br />\n           แต่เมื่อเร็วๆนี้นักวิทยาศาสตร์จีนได้ประสบความสำเร็จขั้นหนึ่งในการเก็บรักษาศพร่างหนึ่งที่ขุดพบเมื่อ 30 กว่าปีก่อน ให้คงอยู่ในสภาพเหมือนเมื่อครั้งยังขุดพบใหม่ๆ หลังจากได้เปิดเผยโฉมหน้าของเจ้าของร่างอันไร้วิญญาณนี้มาแล้ว<br />\n          หลักฐานทางโบราณคดีชิ้นสำคัญนี้ คือศพของ<span style=\"color: #ff6600\"><strong>ท่านหญิงซินจุย</strong></span>  ภรรยาเจ้าที่ดินศักดินา แห่งราชวงศ์ฮั่นตะวันตก( 202 ปีก่อนคริสคศักราช - ค.ศ.8 ) ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑ์มณฑลหูหนัน และยังเป็นสุดยอดโบราณวัตถุชิ้นมีค่าของพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ ที่ถูกพบในช่วงสมัยปลายทศวรรษที่ 70<br />\n      <br />\n      ราวปีค.ศ.1972 ขณะคนงานกำลังขุดหลุมหลบภัยจากการโจมตีทางอากาศ ใกล้เมือง<strong>ฉางซา</strong> (เมืองเอกในหูหนัน) พวกเขาพบหลุมศพสมัยราชวงศ์ฮั่นขนาดมหึมา ซึ่งต่อมากลายเป็นแหล่งโบราณคดี ‘หม่าหวังตุยฮั่น’ ในปัจจุบัน ภายในบรรจุประดิษฐ์กรรมฝีมือมนุษย์ที่ถูกเก็บรักษาอย่างดีกว่า 1,000 ชิ้น รวมทั้งศพที่ถูกรักษาอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ที่สุดเท่าที่เคยขุดพบมาก่อน<br />\n      ศพผู้หญิงถูกสืบทราบภายหลังว่า เป็นของท่านหญิงซินจุย ซึ่งเสียชีวิตเมื่อปี 186 ก่อนคริสต์ศักราช เมื่อเธออายุได้ 50 ปี และเป็นเรื่องน่าประหลาดอย่างที่สุด คือ ศพที่มีอายุมากกว่า 2,200 ปี ถูกพบหลังความตายมาหลายศตวรรษ ยังคงสภาพดีราวกับว่าเพิ่งเสียชีวิตใหม่ๆ<br />\n      <br />\n      บันทึกของนักโบราณคดีระบุข้อมูลที่น่าเหลือเชื่อว่า ร่างของท่านหญิงซินจุย มีความสูง 154 เซนติเมตร น้ำหนัก 34.3 กิโลกรัม สภาพภายนอกเมื่อขุดพบอยู่ในสภาพสมบูรณ์ ทั่วร่างกายชุ่มชื้น กล้ามเนื้ออ่อนนุ่ม ผิวหนังคงความยืดหยุ่น อวัยวะภายในอยู่ในสภาพสมบูรณ์ครบถ้วน ข้อต่อและกระดูกยังจับเคลื่อนไหวได้ สุขภาพกระดูกแข็งแรงกว่าคนอายุ 60 ปี แม้แต่กระดูกอ่อนก็ยังสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า<br />\n      ข้อมูลทางกายวิภาคยังชี้ว่า ผู้ตายมีอาการของโรคหลอดเลือดหรือเส้นเลือดใหญ่แข็งตัว มีการตรวจพบเมล็ดแตงหวานในกระเพาะอาหาร คาดว่าเสียชีวิตอย่างกะทันหันภายหลังการรับประทานลูกแตงหวาน<br />\n      <br />\n      ผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่า สภาพของศพมีการเก็บรักษาที่สมบูรณ์ และพบได้ยากมาก แตกต่างจากมัมมี่ของอียิปต์ และการรักษาศพโดยการฟอกถ่านเลน จึงได้ตั้งชื่อว่า ‘ศพแห่งเนินหม่าหวัง’ ตามสถานที่ขุดพบ\n</p>\n<p>\nหลังการค้นพบ 30 ปี พิพิธภัณฑ์หูหนันได้ทำการเปิดเผย ‘โฉมหน้า’ ของท่านหญิงซินจุย ในวัย 50 ปี 30 ปี และ 18 ปี เมื่อเดือนเมษายน 2002 โดยการศึกษาและจำลองแบบของศาสตราจารย์เจ้าเฉิงเหวิน ผู้เชี่ยวชาญด้านอาชญาวิทยา แห่งมหาวิทยาลัยตำรวจอาชญาวิทยาแห่งชาติเสิ่นหยัง มณฑลเหลียวหนิง<br />\n      <br />\n      ศาสตราจารย์เจ้ายังสเก็ตภาพที่เป็นไปได้ของเธอ ในวัยต่างๆ เพื่อสร้างมิติของการเจริญเติบโตให้ซินจุยได้กลับมามีตัวตนอีกครั้งด้วย ในครั้งนั้นได้สร้างความตื่นเต้นให้กับผู้ที่รู้จักท่านหญิง ในฐานะที่เป็น ‘หลักฐานที่เหลืออยู่’ ของบุคคลคนหนึ่งอย่างมาก<br />\n      และเมื่อเดือนที่แล้ว พิพิธภัณฑ์หูหนันร่วมกับสถาบันแพทยศาสตร์เซียงหย่า แห่งมหาวิทยาลัยจงหนัน เปิดเผยถึงรายงานผลการทดลองจากห้องแล็บ ต่อการศึกษาสภาพการเก็บรักษาศพในโลงแก้ว จากการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของน้ำยารักษาศพ และการเปลี่ยนแปลงของศพทางกายวิภาคศาสตร์ พยาธิวิทยา ประสาท เนื้อเยื่อ ฯลฯ<br />\n      <br />\n      โดยศึกษาเปรียบเทียบตั้งแต่เมื่อศพถูกขุดพบครั้งแรกกับสภาพในปัจจุบันผลการทดลองชี้ว่า ลักษณะทั้งภายในและภายนอกส่วนใหญ่ยังคงสภาพเดิม สีผิวและสภาพทั่วไปเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย โครงสร้างกระดูกอยู่ในระดับปกติ ผิวหนังยังคงความยืดหยุ่น ซึ่งถือว่าเป็นความสำเร็จของแนวทางการเก็บรักษาศพในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา ของวงการวิทยาศาสตร์และการแพทย์จีนเลยทีเดียว<br />\n      <br />\n      ความสำเร็จก้าวเล็กๆนี้ อาจนำไปสู่คำตอบในอนาคต ที่ว่า ชาวจีนโบราณเก็บรักษาศพให้คงสภาพดั้งเดิมมายาวนานข้ามศตวรรษได้ด้วยวิธีใด <br />\n      <br />\n      ปัจจุบันศพของท่านหญิงซินจุย ถูกเก็บรักษาอย่างดี โดยบรรจุอยู่ภายในโลงแก้ว ซึ่งตั้งอยู่ใน ‘ห้องนอนใต้ดิน’ อยู่ลึกจากพื้นดิน 8 เมตร ภายในพิพิธภัณฑ์มณฑลหูหนัน ซึ่งตั้งอยู่ที่เลขที่ 28 ถนนตงเฟิง เมืองฉางซา มณฑลหูหนัน ทางตอนกลางของจีน\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/70565\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-H.jpg\" border=\"0\" /></a> \n</p>\n<p>\nแหล่งอ้างอิงhttp://www.thaichinese.net/History/Imperial/imperial.html#Han <a href=\"http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-9.shtml\">http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-9.shtml</a> <a href=\"http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-10.shtml\">http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-10.shtml</a> <a href=\"http://forum.mthai.com/view_topic.php?table_id=1&amp;cate_id=34&amp;post_id=45615\">http://forum.mthai.com/view_topic.php?table_id=1&amp;cate_id=34&amp;post_id=45615</a>\n</p>\n', created = 1720472644, expire = 1720559044, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:33ad3eb7d0372481c655aff97d7fcde5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ยุคราชวงศ์ฮั่น

รูปภาพของ sss27520

"เผยโฉมสุดยอดมัมมี่จีนอายุกว่า 2,000 ปี"

                  ใครจะคาดคิดว่า ชาวจีนก็มีการเก็บรักษาศพ หรือที่ทั่วโลกรู้จักกันดีว่า ‘มัมมี่’ ของอียิปต์ แต่วิธีการเก็บรักษาศพของชาวจีนโบราณนี้แตกต่างจากมัมมี่อย่างสิ้นเชิง และทุกวันนี้ความลี้ลับของ ‘มัมมี่จีน’ ก็ยังคงเป็นปริศนาอยู่ว่า พวกเขาทำได้อย่างไร
     
           แต่เมื่อเร็วๆนี้นักวิทยาศาสตร์จีนได้ประสบความสำเร็จขั้นหนึ่งในการเก็บรักษาศพร่างหนึ่งที่ขุดพบเมื่อ 30 กว่าปีก่อน ให้คงอยู่ในสภาพเหมือนเมื่อครั้งยังขุดพบใหม่ๆ หลังจากได้เปิดเผยโฉมหน้าของเจ้าของร่างอันไร้วิญญาณนี้มาแล้ว
          หลักฐานทางโบราณคดีชิ้นสำคัญนี้ คือศพของท่านหญิงซินจุย  ภรรยาเจ้าที่ดินศักดินา แห่งราชวงศ์ฮั่นตะวันตก( 202 ปีก่อนคริสคศักราช - ค.ศ.8 ) ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑ์มณฑลหูหนัน และยังเป็นสุดยอดโบราณวัตถุชิ้นมีค่าของพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ ที่ถูกพบในช่วงสมัยปลายทศวรรษที่ 70
     
      ราวปีค.ศ.1972 ขณะคนงานกำลังขุดหลุมหลบภัยจากการโจมตีทางอากาศ ใกล้เมืองฉางซา (เมืองเอกในหูหนัน) พวกเขาพบหลุมศพสมัยราชวงศ์ฮั่นขนาดมหึมา ซึ่งต่อมากลายเป็นแหล่งโบราณคดี ‘หม่าหวังตุยฮั่น’ ในปัจจุบัน ภายในบรรจุประดิษฐ์กรรมฝีมือมนุษย์ที่ถูกเก็บรักษาอย่างดีกว่า 1,000 ชิ้น รวมทั้งศพที่ถูกรักษาอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ที่สุดเท่าที่เคยขุดพบมาก่อน
      ศพผู้หญิงถูกสืบทราบภายหลังว่า เป็นของท่านหญิงซินจุย ซึ่งเสียชีวิตเมื่อปี 186 ก่อนคริสต์ศักราช เมื่อเธออายุได้ 50 ปี และเป็นเรื่องน่าประหลาดอย่างที่สุด คือ ศพที่มีอายุมากกว่า 2,200 ปี ถูกพบหลังความตายมาหลายศตวรรษ ยังคงสภาพดีราวกับว่าเพิ่งเสียชีวิตใหม่ๆ
     
      บันทึกของนักโบราณคดีระบุข้อมูลที่น่าเหลือเชื่อว่า ร่างของท่านหญิงซินจุย มีความสูง 154 เซนติเมตร น้ำหนัก 34.3 กิโลกรัม สภาพภายนอกเมื่อขุดพบอยู่ในสภาพสมบูรณ์ ทั่วร่างกายชุ่มชื้น กล้ามเนื้ออ่อนนุ่ม ผิวหนังคงความยืดหยุ่น อวัยวะภายในอยู่ในสภาพสมบูรณ์ครบถ้วน ข้อต่อและกระดูกยังจับเคลื่อนไหวได้ สุขภาพกระดูกแข็งแรงกว่าคนอายุ 60 ปี แม้แต่กระดูกอ่อนก็ยังสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
      ข้อมูลทางกายวิภาคยังชี้ว่า ผู้ตายมีอาการของโรคหลอดเลือดหรือเส้นเลือดใหญ่แข็งตัว มีการตรวจพบเมล็ดแตงหวานในกระเพาะอาหาร คาดว่าเสียชีวิตอย่างกะทันหันภายหลังการรับประทานลูกแตงหวาน
     
      ผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่า สภาพของศพมีการเก็บรักษาที่สมบูรณ์ และพบได้ยากมาก แตกต่างจากมัมมี่ของอียิปต์ และการรักษาศพโดยการฟอกถ่านเลน จึงได้ตั้งชื่อว่า ‘ศพแห่งเนินหม่าหวัง’ ตามสถานที่ขุดพบ

หลังการค้นพบ 30 ปี พิพิธภัณฑ์หูหนันได้ทำการเปิดเผย ‘โฉมหน้า’ ของท่านหญิงซินจุย ในวัย 50 ปี 30 ปี และ 18 ปี เมื่อเดือนเมษายน 2002 โดยการศึกษาและจำลองแบบของศาสตราจารย์เจ้าเฉิงเหวิน ผู้เชี่ยวชาญด้านอาชญาวิทยา แห่งมหาวิทยาลัยตำรวจอาชญาวิทยาแห่งชาติเสิ่นหยัง มณฑลเหลียวหนิง
     
      ศาสตราจารย์เจ้ายังสเก็ตภาพที่เป็นไปได้ของเธอ ในวัยต่างๆ เพื่อสร้างมิติของการเจริญเติบโตให้ซินจุยได้กลับมามีตัวตนอีกครั้งด้วย ในครั้งนั้นได้สร้างความตื่นเต้นให้กับผู้ที่รู้จักท่านหญิง ในฐานะที่เป็น ‘หลักฐานที่เหลืออยู่’ ของบุคคลคนหนึ่งอย่างมาก
      และเมื่อเดือนที่แล้ว พิพิธภัณฑ์หูหนันร่วมกับสถาบันแพทยศาสตร์เซียงหย่า แห่งมหาวิทยาลัยจงหนัน เปิดเผยถึงรายงานผลการทดลองจากห้องแล็บ ต่อการศึกษาสภาพการเก็บรักษาศพในโลงแก้ว จากการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของน้ำยารักษาศพ และการเปลี่ยนแปลงของศพทางกายวิภาคศาสตร์ พยาธิวิทยา ประสาท เนื้อเยื่อ ฯลฯ
     
      โดยศึกษาเปรียบเทียบตั้งแต่เมื่อศพถูกขุดพบครั้งแรกกับสภาพในปัจจุบันผลการทดลองชี้ว่า ลักษณะทั้งภายในและภายนอกส่วนใหญ่ยังคงสภาพเดิม สีผิวและสภาพทั่วไปเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย โครงสร้างกระดูกอยู่ในระดับปกติ ผิวหนังยังคงความยืดหยุ่น ซึ่งถือว่าเป็นความสำเร็จของแนวทางการเก็บรักษาศพในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา ของวงการวิทยาศาสตร์และการแพทย์จีนเลยทีเดียว
     
      ความสำเร็จก้าวเล็กๆนี้ อาจนำไปสู่คำตอบในอนาคต ที่ว่า ชาวจีนโบราณเก็บรักษาศพให้คงสภาพดั้งเดิมมายาวนานข้ามศตวรรษได้ด้วยวิธีใด
     
      ปัจจุบันศพของท่านหญิงซินจุย ถูกเก็บรักษาอย่างดี โดยบรรจุอยู่ภายในโลงแก้ว ซึ่งตั้งอยู่ใน ‘ห้องนอนใต้ดิน’ อยู่ลึกจากพื้นดิน 8 เมตร ภายในพิพิธภัณฑ์มณฑลหูหนัน ซึ่งตั้งอยู่ที่เลขที่ 28 ถนนตงเฟิง เมืองฉางซา มณฑลหูหนัน ทางตอนกลางของจีน

 

 

แหล่งอ้างอิงhttp://www.thaichinese.net/History/Imperial/imperial.html#Han http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-9.shtml http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-10.shtml http://forum.mthai.com/view_topic.php?table_id=1&cate_id=34&post_id=45615

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 398 คน กำลังออนไลน์