• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:250346690b1b2a97e5779be9a895ef27' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div tyle=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #2b3220\">\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"380\" width=\"380\" src=\"/files/u31712/Ch-B-H.jpg\" border=\"0\" />    \n</div>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/78380\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-G.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/72866\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-T.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/74804?page=0%2C0\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-BBC.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/72895\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-O.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/76193\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Dy.jpg\" border=\"0\" /></a><br />\n<a href=\"/node/78042\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-N.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/79404\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Ci.jpg\" border=\"0\" /></a><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Qu.jpg\" border=\"0\" /><a href=\"/node/79405\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-m.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n</div>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/76193\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Dy.jpg\" border=\"0\" /></a> \n</p>\n</div>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"/node/75328\"><strong>ยุคราชวงศ์ฉิน</strong></a>   <a href=\"/node/75349\"><strong>ยุคราชวงศ์ฮั่น</strong></a>  <a href=\"/node/75426\"><strong>ยุคสามก๊ก</strong></a>  <a href=\"/node/75451\"><strong>ยุคราชวงศ์จิ้น</strong></a>  <a href=\"/node/75467\"><strong>ยุคราชวงศ์เหนือใต้</strong></a>  <a href=\"/node/75446\"><strong>ยุคราชวงศ์สุย</strong></a>  <a href=\"/node/75642\"><strong>ยุคราชวงศ์ถัง</strong></a> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/76058\"><strong>5 ราชวงศ์ 10 แคว้น</strong></a>  <a href=\"/node/75649\"><strong>ยุคราชวงศ์ซ่ง</strong></a>  <a href=\"/node/76074\"><strong>ยุคราชวงศ์หยวน</strong></a>  <a href=\"/node/76079\"><strong>ยุคราชวงศ์หมิง</strong></a>  <a href=\"/node/76105\"><strong>ยุคราชวงศ์ชิง</strong></a>  \n</p>\n</div>\n<p></p></span>\n</div>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก [206 ก่อน ค.ศ. ถึง ค.ศ. 9]</span><br />\n</strong>          ราชวงศ์ฮั่นสถาปนาโดย<strong>หลิวปัง</strong>  หรือปฐมกษัตริย์ฮั่นเกาจู่  ซึ่งถือเป็นจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่องค์ที่ 2 ของชนชาติจีนที่สามารถรวมประเทศจีนเป็นปึกแผ่นอีกครั้งหนึ่ง ราชวงศ์ฮั่นแบ่งเป็น2ช่วง ราชวงศ์ฮั่นตอนต้นมีเมืองหลวงตั้งอยู่ที่นครฉางอัน  จึงได้รับการขนานนามว่าฮั่นตะวันตก เมื่อถึงสมัยราชวงศ์ฮั่นตอนปลายได้ย้ายเมืองหลวงมายังนครลั่วหยาง  เรียกว่าฮั่นตะวันออก\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><span style=\"color: #ff6600\">ยุครุ่งเรืองของราชวงศ์ฮั่นตะวันตก</span></strong> <br />\n        ในสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันตกนี้ นอกจากในยุคสมัยของจักรพรรดิองค์แรกพระเจ้าฮั่นเกาจู่ (หลิวปัง) จักรพรรดิที่มีชื่อเสียงอีกพระองค์หนึ่งคือ พระเจ้าฮั่นอู่ตี้ และยังนับว่าพระองค์นี้ยังผลงานที่เหนือกว่าพระเจ้าฮั่นเกาจู่เสียอีกด้วย ใน<strong>รัชสมัยฮั่นอู่ตี้นับเป็นยุคที่รุ่งเรื่องที่สุดของราชวงศ์ฮั่นตะวันตก</strong> ได้ มีการกำหนด<span style=\"color: #ff9900\"><strong>เหรียญกษาปณ์</strong></span>ขึ้นใช้ภายในประเทศ มีข้อห้ามในการหลอมสร้างเหรียญกษาปณ์เป็นส่วนตัว ธุรกิจหลอมเหล็กกลายเป็นกิจการของรัฐ มีการตรากฎหมายการขนส่งลำเลียง วางข้อกฎหมายระเบียบใบอนุญาตต่าง ๆ ทำให้รายได้ท้องพระคลังเพิ่มขึ้นอย่างมาก ด้วยเหตุนี้ ฮั่นอู่ตี้จึงหันไปสนใจนโยบายต่อต่างแดน เช่น ชนเผ่าซงหนู  ที่คอยรบกวนอยู่ทางชายแดนภาคเหนือมาเป็นเวลานาน ฮั่นอู่ตี้ก็ได้ยกทัพออกปราบถึง 3 ครั้งครา ขับไล่ชนเผ่าซงหนูให้ถอยร่นกลับเข้าไปยังดินแดนทะเลทรายทางตอนเหนือ นำสันติสุขมายังดินแดนชายขอบตะวันตกของจีน นอกจากนี้พระองค์ได้ทรงก่อตั้งโรงเรียนรัฐขึ้นมา มีชื่อว่า ไท่เสวีย ทำให้สามัญชนมีโอกาสเข้ารับราชการได้ด้วย อีกทั้งยังบุกเบิกพื้นที่ทำไร่นาในแถบดินแดนทางตะวันตกเฉียงเหนือ ซ่อมแซมกำแพงเมืองจีน จัดตั้งระบบไฟสัญญาณแจ้งเหตุตามชายแดน และยังส่งจางเชียน  ไปเป็นทูตสันถวไมตรียังดินแดนตะวันตก เพื่อเปิดเส้นทางการค้าออกไปยังดินแดนเอเชียกลาง อันเป็นที่รู้จักกันในนามของ <span style=\"color: #ff0000\"><strong>&quot;เส้นทางสายไหม \'&quot;</strong></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"283\" width=\"400\" src=\"/files/u31712/silk-road3.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มาของรูปภาพ <a href=\"http://2.bp.blogspot.com/_xqz-ZTTNASo/SzO63fgX6HI/AAAAAAAACAo/_mSzaoCgvk0/s400/silk+road.gif\">http://2.bp.blogspot.com/_xqz-ZTTNASo/SzO63fgX6HI/AAAAAAAACAo/_mSzaoCgvk0/s400/silk+road.gif</a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"250\" width=\"600\" src=\"/files/u31712/silk-road2.jpg\" border=\"0\" /> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n ที่มาของรูปภาพ <a href=\"http://www.2how.com/board/picture/0710/01mua090.jpg\">http://www.2how.com/board/picture/0710/01mua090.jpg</a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n            การบุกเบิกเส้นทางสายไหม<span style=\"color: #ff9900\">นำมาซึ่งการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมระหว่างตะวันออกและตะวันตก</span> ด้วยเส้นทางการค้าทางบก ฮั่นอู่ตี้รับฟังความคิดเห็นของต่งจงซู  เชิดชูแนวคิดขงจื้อละทิ้งปรัชญาแนวคิดสำนักอื่น ศึกษาคัมภีร์อู่จิง  ซึ่งเป็นตำราว่าด้วยการประพฤติปฏิบัติตนของปัญญาชน ในการอยู่ร่วมกันในสังคม เป็นเหตุให้แนวคิดขงจื้อ ได้รับการเผยแพร่สู่สาธารณชนอย่างแพร่หลายในเวลาต่อมา ขณะเดียวกัน ก็ได้มี<span style=\"color: #ff9900\"><strong>การจัดสร้างหอสมุดแห่งชาติ</strong></span> เพื่อจัดเก็บแผนภาพและตำรับตำรา อันเป็นแหล่งบ่มเพาะทางความรู้ และมีความเจริญทางวัฒนธรรมอย่างมากตามมา ดังเช่นที่นักวิชาการทางประวัติศาสตร์จีนซือหม่าเชียน  ได้จัดทำบันทึกประวัติศาสตร์  ซึ่งใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงที่มาของชนชาติจีนจนถึงปัจจุบัน <br />\n           ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก ถือว่าเป็นช่วงเวลาที่มีความเจริญรุ่งเรืองที่สุดยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์ชนชาติจีน เป็นยุคสมัยที่ก่อเกิดศูนย์รวมทางจิตใจของความเป็นชนชาติจีน หรือที่ต่อมาเรียกกันว่าชาวฮั่น หลังจากฉินสื่อหวงหรือจิ๋นซีฮ่องเต้ปฐมกษัตริย์จีนที่สามารถรวมแผ่นดินจีนเป็นหนึ่งแล้ว ในสมัยจ้านกั๋ว (จั้นกว๋อ) การสู้รบระหว่างแว่นแคว้นต่าง ๆ ได้ทำให้เกิดการหล่อหลอมวัฒนธรรมของชนชาติต่าง ๆเข้าด้วยกัน เมื่อถึงสมัยฮั่นตะวันตก ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบการปกครอง ภาษาอักษร การศึกษาวัฒนธรรม ขนบประเพณีต่างก็ได้รับการกลืนกลายเป็นหนึ่งเดียว เกิดเป็นวัฒนธรรมร่วมกันที่เรียกว่า ‘ วัฒนธรรมของชนชาติฮั่น \' นับแต่นั้นมา ชนชาติฮั่นซึ่งมีความเจริญมากกว่า จึงมักได้รับการยอมรับให้เป็นกลุ่มผู้นำในดินแดนแถบนี้ และนี่คือผลแห่งวิวัฒนาการทางประวัติศาสตร์และการหลอมกลืนโดยธรรมชาติ ในภายหลังยุคสมัยฮั่นต่อมา แม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงผู้ปกครองหรือราชวงศ์อีกมากมาย แต่กลุ่มผู้นำยังคงเป็นชาวฮั่นตลอดมา\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/70565\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-H.jpg\" border=\"0\" /></a> \n</p>\n<p>\nแหล่งอ้างอิง <a href=\"http://www.thaichinese.net/History/Imperial/imperial.html#Han\">http://www.thaichinese.net/History/Imperial/imperial.html#Han</a> <a href=\"http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-9.shtml\">http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-9.shtml</a> <a href=\"http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-10.shtml\">http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-10.shtml</a> <a href=\"http://forum.mthai.com/view_topic.php?table_id=1&amp;cate_id=34&amp;post_id=45615\">http://forum.mthai.com/view_topic.php?table_id=1&amp;cate_id=34&amp;post_id=45615</a>\n</p>\n', created = 1720467629, expire = 1720554029, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:250346690b1b2a97e5779be9a895ef27' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ยุคราชวงศ์ฮั่น

รูปภาพของ sss27520

ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก [206 ก่อน ค.ศ. ถึง ค.ศ. 9]
          ราชวงศ์ฮั่นสถาปนาโดยหลิวปัง  หรือปฐมกษัตริย์ฮั่นเกาจู่  ซึ่งถือเป็นจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่องค์ที่ 2 ของชนชาติจีนที่สามารถรวมประเทศจีนเป็นปึกแผ่นอีกครั้งหนึ่ง ราชวงศ์ฮั่นแบ่งเป็น2ช่วง ราชวงศ์ฮั่นตอนต้นมีเมืองหลวงตั้งอยู่ที่นครฉางอัน  จึงได้รับการขนานนามว่าฮั่นตะวันตก เมื่อถึงสมัยราชวงศ์ฮั่นตอนปลายได้ย้ายเมืองหลวงมายังนครลั่วหยาง  เรียกว่าฮั่นตะวันออก


ยุครุ่งเรืองของราชวงศ์ฮั่นตะวันตก 
        ในสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันตกนี้ นอกจากในยุคสมัยของจักรพรรดิองค์แรกพระเจ้าฮั่นเกาจู่ (หลิวปัง) จักรพรรดิที่มีชื่อเสียงอีกพระองค์หนึ่งคือ พระเจ้าฮั่นอู่ตี้ และยังนับว่าพระองค์นี้ยังผลงานที่เหนือกว่าพระเจ้าฮั่นเกาจู่เสียอีกด้วย ในรัชสมัยฮั่นอู่ตี้นับเป็นยุคที่รุ่งเรื่องที่สุดของราชวงศ์ฮั่นตะวันตก ได้ มีการกำหนดเหรียญกษาปณ์ขึ้นใช้ภายในประเทศ มีข้อห้ามในการหลอมสร้างเหรียญกษาปณ์เป็นส่วนตัว ธุรกิจหลอมเหล็กกลายเป็นกิจการของรัฐ มีการตรากฎหมายการขนส่งลำเลียง วางข้อกฎหมายระเบียบใบอนุญาตต่าง ๆ ทำให้รายได้ท้องพระคลังเพิ่มขึ้นอย่างมาก ด้วยเหตุนี้ ฮั่นอู่ตี้จึงหันไปสนใจนโยบายต่อต่างแดน เช่น ชนเผ่าซงหนู  ที่คอยรบกวนอยู่ทางชายแดนภาคเหนือมาเป็นเวลานาน ฮั่นอู่ตี้ก็ได้ยกทัพออกปราบถึง 3 ครั้งครา ขับไล่ชนเผ่าซงหนูให้ถอยร่นกลับเข้าไปยังดินแดนทะเลทรายทางตอนเหนือ นำสันติสุขมายังดินแดนชายขอบตะวันตกของจีน นอกจากนี้พระองค์ได้ทรงก่อตั้งโรงเรียนรัฐขึ้นมา มีชื่อว่า ไท่เสวีย ทำให้สามัญชนมีโอกาสเข้ารับราชการได้ด้วย อีกทั้งยังบุกเบิกพื้นที่ทำไร่นาในแถบดินแดนทางตะวันตกเฉียงเหนือ ซ่อมแซมกำแพงเมืองจีน จัดตั้งระบบไฟสัญญาณแจ้งเหตุตามชายแดน และยังส่งจางเชียน  ไปเป็นทูตสันถวไมตรียังดินแดนตะวันตก เพื่อเปิดเส้นทางการค้าออกไปยังดินแดนเอเชียกลาง อันเป็นที่รู้จักกันในนามของ "เส้นทางสายไหม '"

 
 ที่มาของรูปภาพ http://www.2how.com/board/picture/0710/01mua090.jpg

            การบุกเบิกเส้นทางสายไหมนำมาซึ่งการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมระหว่างตะวันออกและตะวันตก ด้วยเส้นทางการค้าทางบก ฮั่นอู่ตี้รับฟังความคิดเห็นของต่งจงซู  เชิดชูแนวคิดขงจื้อละทิ้งปรัชญาแนวคิดสำนักอื่น ศึกษาคัมภีร์อู่จิง  ซึ่งเป็นตำราว่าด้วยการประพฤติปฏิบัติตนของปัญญาชน ในการอยู่ร่วมกันในสังคม เป็นเหตุให้แนวคิดขงจื้อ ได้รับการเผยแพร่สู่สาธารณชนอย่างแพร่หลายในเวลาต่อมา ขณะเดียวกัน ก็ได้มีการจัดสร้างหอสมุดแห่งชาติ เพื่อจัดเก็บแผนภาพและตำรับตำรา อันเป็นแหล่งบ่มเพาะทางความรู้ และมีความเจริญทางวัฒนธรรมอย่างมากตามมา ดังเช่นที่นักวิชาการทางประวัติศาสตร์จีนซือหม่าเชียน  ได้จัดทำบันทึกประวัติศาสตร์  ซึ่งใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงที่มาของชนชาติจีนจนถึงปัจจุบัน
           ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก ถือว่าเป็นช่วงเวลาที่มีความเจริญรุ่งเรืองที่สุดยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์ชนชาติจีน เป็นยุคสมัยที่ก่อเกิดศูนย์รวมทางจิตใจของความเป็นชนชาติจีน หรือที่ต่อมาเรียกกันว่าชาวฮั่น หลังจากฉินสื่อหวงหรือจิ๋นซีฮ่องเต้ปฐมกษัตริย์จีนที่สามารถรวมแผ่นดินจีนเป็นหนึ่งแล้ว ในสมัยจ้านกั๋ว (จั้นกว๋อ) การสู้รบระหว่างแว่นแคว้นต่าง ๆ ได้ทำให้เกิดการหล่อหลอมวัฒนธรรมของชนชาติต่าง ๆเข้าด้วยกัน เมื่อถึงสมัยฮั่นตะวันตก ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบการปกครอง ภาษาอักษร การศึกษาวัฒนธรรม ขนบประเพณีต่างก็ได้รับการกลืนกลายเป็นหนึ่งเดียว เกิดเป็นวัฒนธรรมร่วมกันที่เรียกว่า ‘ วัฒนธรรมของชนชาติฮั่น ' นับแต่นั้นมา ชนชาติฮั่นซึ่งมีความเจริญมากกว่า จึงมักได้รับการยอมรับให้เป็นกลุ่มผู้นำในดินแดนแถบนี้ และนี่คือผลแห่งวิวัฒนาการทางประวัติศาสตร์และการหลอมกลืนโดยธรรมชาติ ในภายหลังยุคสมัยฮั่นต่อมา แม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงผู้ปกครองหรือราชวงศ์อีกมากมาย แต่กลุ่มผู้นำยังคงเป็นชาวฮั่นตลอดมา

 

 

แหล่งอ้างอิง http://www.thaichinese.net/History/Imperial/imperial.html#Han http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-9.shtml http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-10.shtml http://forum.mthai.com/view_topic.php?table_id=1&cate_id=34&post_id=45615

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 340 คน กำลังออนไลน์