• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d8b88620040e393dcbc4aec31d41e018' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"441\" src=\"/files/u19951/KA.jpg\" height=\"73\" />\n</div>\n<p>\n<a href=\"/node/42651\"><img border=\"0\" width=\"102\" src=\"/files/u19951/8.jpg\" alt=\"Home\" height=\"105\" /></a><a href=\"/node/44749\"><img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u19951/7.jpg\" alt=\"kingdom animalia\" height=\"73\" /></a><a href=\"/node/51309\"><img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u19951/an1.jpg\" alt=\"Phylum Porifera\" height=\"73\" /></a><a href=\"/node/51313\"><img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u19951/an2.jpg\" alt=\"Phylum Coelenterata\" height=\"73\" /></a><a href=\"/node/51314\"><img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u19951/an3.jpg\" alt=\"Phylum Plathyhelminthes\" height=\"73\" /></a>      \n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/51316\">            <img border=\"0\" align=\"left\" width=\"176\" src=\"/files/u19951/Ani9.jpg\" height=\"145\" />   </a>           <a href=\"/node/51316\"><img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u19951/an4_0.jpg\" alt=\"Phylum Nemathelminthes\" height=\"73\" /></a><a href=\"/node/51319\"><img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u19951/an5.jpg\" alt=\"Phylum Annilida\" height=\"73\" /></a><a href=\"/node/51321\"><img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u19951/an6_0.jpg\" alt=\"Phylum Arthropoda\" height=\"73\" /></a><a href=\"/node/51322\"><img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u19951/an7.jpg\" alt=\"Phylum Mollusca\" height=\"73\" /></a>\n</p>\n<p>\n                                        <a href=\"/node/51323\"><img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u19951/an8.jpg\" alt=\"Phylum Echinodermata\" height=\"73\" /></a><a href=\"/node/51324\"><img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u19951/an9.jpg\" alt=\"Phylum Chordata\" height=\"73\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u19951/Elephant_Family.jpg\" alt=\"ที่มาภาพ http://hq.dpics.org/21__White_Horse.htm\" height=\"450\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<strong>Phylum Chordata</strong>\n</p>\n<p>\n- มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น (Triploblastica animal) <br />\n- มีสมมาตรแบบ Bilateral symmetry <br />\n- มีทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ (Complete digestive tract) <br />\n- มีช่องว่างในลำตัวแบบแท้จริง (True coelom)<br />\n- มีระบบหมุนเวียนเลือดและเป็นแบบวงจรปิด (Close Circulatory System) <br />\n- มี Notochord เป็นแกนพยุงร่างกายซึ่งอาจจะมีในระยะตัวอ่อนหรือตลอดชีวิตก็ได้ <br />\n- มีกระดูกสันหลังมาแทนที่คือ มีไขสันหลัง (Nerve cord หรือ Spinal cord) <br />\n- ซึ่งเป็นเส้นประสาทอยู่ในหลอดกลวงของกระดูกสันหลัง <br />\n- ดังนั้นไฟลัมนี้จึงเป็นพวก Endoskeloton มีโครงร่างแข็งอยู่ภายใน<br />\n- มีระบบประสาทอยู่ด้านหลัง (Dorsal) อยู่เหนือทางเดินอาหาร <br />\n- มีช่องเหงือก (Gill slit) เป็นคู่ ๆ อยู่บริเวณคอหอย <br />\n     จะเห็นได้ชัดในระยะเอมบริโอ ในระยะต่อมาจะมีส่วนที่มาปิดช่องเหงือก ยกเว้นพวกปลา <br />\n     จะยังคงเห็นช่องเหงือกอยู่ แต่ปลาส่วนใหญ่ก็มีแผ่นแก้มมาปิดแต่ก็ยังคงมีช่องเหงือกอยู่ <br />\n- มีหัวใจอยู่ทางด้านท้อง (Ventral)\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u19951/142007_Urochordata.jpg\" height=\"372\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #008080\">ที่มาภาพ </span></strong><a href=\"http://www.mun.ca/biology/scarr/142007_Urochordata.jpg\"><strong><span style=\"color: #008080\">http://www.mun.ca/biology/scarr/142007_Urochordata.jpg</span></strong></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>สัตว์ในไฟลัมนี้สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มได้แก่</strong>\n</p>\n<p>\n- พวกที่ไม่มีกระดูกสันหลัง เรียกว่า Protochordata<br />\n     ๐ Sub-Phylum Urochordata มีลักษณะคือ ตัวอ่อนมี Notochord <br />\n        เป็นแกนของร่างกายอยู่บริเวณหาง และมีช่องเหงือก <br />\n     ๐ Sub-Phylum Cephalochordata สัตว์จำพวกนี้มี Notochord <br />\n        ยาวตลอดลำตัว และยาวเลยไปถึงหัวด้วย และจะมีอยู่ตลอดชีวิต <br />\n- พวกที่มีกระดูกสันหลัง ได้แก่ Sub-Phylum Vetebrata มีลักษณะสำคัญดังนี้<br />\n      เป็นสัตว์ชั้นสูงมีจำนวนมาก มี Notochord ในระยะเอมบริโอ ต่อมามีกระดูกสันหลังมาแทนที่ (ยกเว้นปลาปากกลม) <br />\n      มีรยางค์ 2คู่(ยกเว้นปลาปากกลม) มีเม็ดเลือดแดง มีช่องเหงือกบริเวณคอหอย <br />\n      ในระยะตัวอ่อนแต่เมื่เจริญเติบโตขึ้นช่องเหงือกจะปิด และมีปอดขึ้นมาแทน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"599\" src=\"/files/u19951/Little_crocodile_1_.jpg\" height=\"447\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #008080\">ที่มาภาพ wallpaper.org/backgrounds/dogs/White_puppy_with_cute_tongue.jpg</span></strong>\n</p>\n', created = 1719412092, expire = 1719498492, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d8b88620040e393dcbc4aec31d41e018' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

Phylum Chordata

Homekingdom animaliaPhylum PoriferaPhylum CoelenterataPhylum Plathyhelminthes      

                          Phylum NemathelminthesPhylum AnnilidaPhylum ArthropodaPhylum Mollusca

                                        Phylum EchinodermataPhylum Chordata

 

 

 ที่มาภาพ http://hq.dpics.org/21__White_Horse.htm

Phylum Chordata

- มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น (Triploblastica animal)
- มีสมมาตรแบบ Bilateral symmetry
- มีทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ (Complete digestive tract)
- มีช่องว่างในลำตัวแบบแท้จริง (True coelom)
- มีระบบหมุนเวียนเลือดและเป็นแบบวงจรปิด (Close Circulatory System)
- มี Notochord เป็นแกนพยุงร่างกายซึ่งอาจจะมีในระยะตัวอ่อนหรือตลอดชีวิตก็ได้
- มีกระดูกสันหลังมาแทนที่คือ มีไขสันหลัง (Nerve cord หรือ Spinal cord)
- ซึ่งเป็นเส้นประสาทอยู่ในหลอดกลวงของกระดูกสันหลัง
- ดังนั้นไฟลัมนี้จึงเป็นพวก Endoskeloton มีโครงร่างแข็งอยู่ภายใน
- มีระบบประสาทอยู่ด้านหลัง (Dorsal) อยู่เหนือทางเดินอาหาร
- มีช่องเหงือก (Gill slit) เป็นคู่ ๆ อยู่บริเวณคอหอย
     จะเห็นได้ชัดในระยะเอมบริโอ ในระยะต่อมาจะมีส่วนที่มาปิดช่องเหงือก ยกเว้นพวกปลา
     จะยังคงเห็นช่องเหงือกอยู่ แต่ปลาส่วนใหญ่ก็มีแผ่นแก้มมาปิดแต่ก็ยังคงมีช่องเหงือกอยู่
- มีหัวใจอยู่ทางด้านท้อง (Ventral)

ที่มาภาพ http://www.mun.ca/biology/scarr/142007_Urochordata.jpg

 

สัตว์ในไฟลัมนี้สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มได้แก่

- พวกที่ไม่มีกระดูกสันหลัง เรียกว่า Protochordata
     ๐ Sub-Phylum Urochordata มีลักษณะคือ ตัวอ่อนมี Notochord
        เป็นแกนของร่างกายอยู่บริเวณหาง และมีช่องเหงือก
     ๐ Sub-Phylum Cephalochordata สัตว์จำพวกนี้มี Notochord
        ยาวตลอดลำตัว และยาวเลยไปถึงหัวด้วย และจะมีอยู่ตลอดชีวิต
- พวกที่มีกระดูกสันหลัง ได้แก่ Sub-Phylum Vetebrata มีลักษณะสำคัญดังนี้
      เป็นสัตว์ชั้นสูงมีจำนวนมาก มี Notochord ในระยะเอมบริโอ ต่อมามีกระดูกสันหลังมาแทนที่ (ยกเว้นปลาปากกลม)
      มีรยางค์ 2คู่(ยกเว้นปลาปากกลม) มีเม็ดเลือดแดง มีช่องเหงือกบริเวณคอหอย
      ในระยะตัวอ่อนแต่เมื่เจริญเติบโตขึ้นช่องเหงือกจะปิด และมีปอดขึ้นมาแทน

 

ที่มาภาพ wallpaper.org/backgrounds/dogs/White_puppy_with_cute_tongue.jpg

สร้างโดย: 
อาจารย์ สมบูรณ์ กมลาสนางกูร และ น.ส.ศิริลักษณ์ เกริกไกรสกุล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 537 คน กำลังออนไลน์