• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7a60d9212b5dd202bb6ab70af3564433' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u20260/banner.gif\" height=\"245\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/47354\"><img border=\"0\" width=\"90\" src=\"/files/u20260/91.gif\" height=\"31\" /></a><a href=\"/node/47373\"><img border=\"0\" width=\"90\" src=\"/files/u20260/92.gif\" height=\"31\" /></a><a href=\"/node/47382\"><img border=\"0\" width=\"90\" src=\"/files/u20260/93.gif\" height=\"31\" /></a><a href=\"/node/47393\"><img border=\"0\" width=\"90\" src=\"/files/u20260/94.gif\" height=\"31\" /></a><a href=\"/node/47434\"><img border=\"0\" width=\"90\" src=\"/files/u20260/95.gif\" height=\"31\" /></a><a href=\"/node/47398\"><img border=\"0\" width=\"90\" src=\"/files/u20260/96.gif\" height=\"31\" /></a><a href=\"/node/47461\"><img border=\"0\" width=\"90\" src=\"/files/u20260/97.gif\" height=\"31\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u20260/k5.gif\" height=\"70\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"><u>2.1.3.4 เลนส์ถ่ายภาพไกลช่วงพิเศษ (Super Long Telephoto lens)</u>  มีความยาวโฟกัสระหว่าง 800-2,000 มม.  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">มุมองศาในการรับภาพจะแคบลงอยู่ระหว่าง 3-1 องศาเท่านั้น  สำหรับภาพที่ต้องการกำลังขยายมาก  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">เช่น  ภาพถ่ายทางดาราศาสตร์  ภาพถ่ายบนตึกสูง  เป็นต้น  เลนส์พวกนี้จะน้ำหนักมากเป็นพิเศษ  ควรใช้ขาตั้งกล้องช่วยในการถ่ายภาพ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"257\" src=\"/files/u20260/07usin7.jpg\" height=\"131\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n[ <a href=\"http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin7.jpg\">http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin7.jpg</a> ]\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\"><strong><u>เลนส์ถ่ายภาพไกลช่วงพิเศษ (Super Long Telephoto lens) ขนาด 1,000 มม.</u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"><strong>2.1.4. เลนส์ถ่ายภาพต่างระยะ (Zoom lens)</strong> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">เลนส์ถ่ายภาพต่างระยะ (Zoom lens) หรือที่นิยมเรียกกันสั้นๆ ว่า  เลนส์ซูม  เลนส์ชนิดนี้เป็นที่นิยมอย่างมากเพราะใช้สะดวก  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">มีเลนส์รวมกันอยู่หลายชนิดในตัวเดียว  สามารถเปลี่ยนทางยาวโฟกัสได้ในตัวด้วยการเลื่อนกระ-บอกเลนส์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"> (สำหรับเลนส์แบบวงแหวนเดียว)  หรือการหมุนวงแหวนปรับระยะ  (สำหรับเลนส์แบบสองวงแหวน)  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">ไม่ต้องคอยเปลี่ยนเลนส์บ่อยๆ  เหมือนกับเลนส์ชนิดความยาวโฟกัสคงที่  แต่เนื่องจากเลนส์ชนิดนี้มีชิ้นเลนส์มาก  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"> จึงทำให้ความคมชัดลดลงเล็กน้อย  จึงไม่เหมาะสำหรับภาพที่ต้องการขยายใหญ่มากๆ  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">แต่ก็เป็นเลนส์ที่มีผู้นิยมใช้กันมากตามเหตุผลที่ได้กล่าวมา  เลนส์ถ่ายภาพต่างระยะหรือเลนส์ซูมนี้มีหลายขนาดให้เลือกใช้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">  โดยแบ่งออกเป็นหลายประเภท  คือ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"><u>2.1.4.1 เลนส์ซูมช่วงมุมกว้าง (Wide angle Zoom)</u>  มีช่วงขนาดความยาวโฟกัสสั้น  รับภาพได้มุมกว้าง  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">เช่นขนาด 20 -35 มม. 24-35 มม. 24-50 มม.  เหมาะสำหรับการใช้งานในการถ่ายภาพมุมกว้าง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"182\" src=\"/files/u20260/07usin8.jpg\" height=\"138\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n[ <a href=\"http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin8.jpg\">http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin8.jpg</a> ]\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\"><strong><u>ภาพเลนส์ซูมช่วงมุมกว้าง (Wide angle Zoom) ขนาดความยาวโฟกัส 20-35 มม</u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"><u>2.1.4.2 เลนส์ซูมช่วงสั้น (Short Zoom)</u>  เป็นเลนส์ที่มีความยาวโฟกัสตั้งแต่ขนาดสั้นถึงปานกลาง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">  โดยจะมีเลนส์ขนาดมาตรฐานรวมอยู่ด้วย  เป็นเลนส์ซูมที่มีผู้นิยมใช้มากที่สุด  ราคาค่อนข้างถูกเมื่อเทียบกับเลนส์ซูมขนาดอื่นๆ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">กล้องถ่ายภาพของบางบริษัทจะใช้เลนส์ซูมประเภทนี้แทนเลนส์มาตรฐาน  มีช่วงความยาวโฟกัสที่นิยมใช้  คือ  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">ขนาด 35-70 มม.  35-105 มม.  35-135 มม.  เป็นต้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"198\" src=\"/files/u20260/07usin9.jpg\" height=\"149\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n[ <a href=\"http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin9.jpg\">http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin9.jpg</a> ]\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\"><strong><u>เลนส์ซูมช่วงสั้น (Short Zoom) ขนาดความยาวโฟกัส 35-70 มม.</u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"><u>2.1.4.3 เลนส์ซูมช่วงไกล (Telephoto Zoom)</u>  เป็นเลนส์ซูมที่มีความยาวโฟกัสสูงกว่าเลนส์สองประเภทที่ได้กล่าวมา  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">โดยมีขนาดที่นิยมใช้  คือ  80-200 มม.  100-300 มม.  สำหรับใช้งานแทนเลนส์ถ่ายภาพระยะไกล  เลนส์ประเภทนี้จะมีน้ำหนักมาก  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"> ผู้ใช้ต้องอาศัยทักษะและความชำนาญในการใช้ เพราะอาจทำให้กล้องสั่นไหวได้ง่าย </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"265\" src=\"/files/u20260/07usin10.jpg\" height=\"143\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n [ <a href=\"http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin10.jpg\">http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin10.jpg</a> ]\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\"><strong><u>เลนส์ซูมช่วงไกล (Telephoto Zoom) ขนาดความยาวโฟกัส 80-200 มม.</u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"><u>2.1.4.4 เลนส์ซูมช่วงไกลพิเศษ (Super Telephoto Zoom)</u>  เป็นเลนส์ซูมที่มีช่วงความยาวโฟกัสสูงมาก  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">เหมาะสำหรับผู้ที่ถ่ายภาพเฉพาะด้าน  เช่น  ช่างภาพที่ถ่ายภาพกีฬาบางประเภท  นักถ่ายภาพสารคดี  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">หรือนักถ่ายภาพทางดาราศาสตร์ก็นิยมใช้เลนส์ประเภทนี้  เลนส์ซูมประเภทนี้มีขนาดช่วงความยาวโฟกัสที่นิยมใช้  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"> คือ  80-400 มม. 400-800 มม. 360-1200 มม.  เป็นต้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"265\" src=\"/files/u20260/07usin11.jpg\" height=\"171\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n[ <a href=\"http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin11.jpg\">http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin11.jpg</a> ]\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\"><strong><u>เลนส์ซูมช่วงไกลพิเศษ (Super Telephoto Zoom) ขนาดความยาวโฟกัส 80-400 มม.</u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">นอกจากเลนส์ซูมทั้ง 4 ประเภทที่ได้กล่าวมาแล้ว  บางบริษัทยังได้ผลิตเลนส์ซูมประเภทอื่นๆ อีก  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"> เช่น  มาโครซูม (Macro Zoom) สำหรับถ่ายภาพระยะใกล้  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">หรือเลนส์ซูมที่เป็นเลนส์รวมตั้งแต่เลนส์มุมกว้างถึงเลนส์ถ่ยภาพระยะไกลปานกลาง  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"> เช่น  ขนาดความยาวโฟกัส 28-20 มม. 35-200 มม.  ดังนั้น  การเลือกใช้เลนส์ชนิดนี้จึงควรคำนึงถึงความจำเป็นในการใช้งาน  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">และสะดวกเป็นสำคัญ  เพราะเลนส์ที่มีช่วงความยาวโฟกัสห่างกันมากเท่าใด  ก็จะมีน้ำหนักมากขึ้น  และราคาก็จะสูงขึ้นไปด้วย</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"><strong>2.1.5 เลนส์ภาพถ่ายใกล้ (Macro lens)</strong> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">เลนส์ถ่ายภาพใกล้หรือที่เรียกว่ามาโครเลนส์  เป็นเลนส์ชนิดที่สามารถถ่ายภาพในระยะใกล้ๆ ได้มากเป็นพิเศษ  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">ให้อัตราขยายของภาพได้ดีกว่าเลนส์ชนิดอื่นๆ  เหมาะสำหรับถ่ายภาพวัตถุที่มีขนาดเล็ก  เช่น  แมลง  ดอกไม้  เครื่องประดับ  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"> หรือวัตถุอื่นๆ ที่ต้องการความคมชัดและให้เห็นรายละเอียดมาก  ซึ่งเลนส์ชนิดอื่นทำไม่ได้  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"> และยังสามารถใช้ถ่ายภาพทั่วๆ ไปได้เช่นเดียวกับเลนส์ชนิดอื่นๆ ที่มีขนาดความยาวโฟกัสเท่ากัน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">เลนส์มาโครมีขนาดความยาวโฟกัสหลายขนาด  ที่ใช้ทั่วไปมีตั้งแต่ 50 มม. 55 มม. 85 มม. 105 มม.  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">โดยมีอัตราขยายของภาพมีอัตราส่วน  คือ  1:2 (ขนาดภาพที่ปรากฏบนฟิล์มจะมีขนาดครึ่งเท่าของวัตถุ)  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">หรือ 1:1 (ขนาดภาพที่ปรากฏบนฟิล์มจะมีขนาดกันกับวัตถุ)</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"133\" src=\"/files/u20260/07usin12.jpg\" height=\"100\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n[ <a href=\"http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin12.jpg\">http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin12.jpg</a> ]\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\"><strong><u>เลนส์มาโคร ขนาด 55 มม.</u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"350\" src=\"/files/u20260/07usin13.gif\" height=\"238\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n[ <a href=\"http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin13.gif\">http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin13.gif</a> ]\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\"><strong><u>ภาพที่ถ่ายด้วยเลนส์มาโคร</u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">จากเลนส์ทั้ง 5 ชนิดที่ได้กล่าวมา  เป็นเลนส์ที่นิยมใช้กันทั่วไป  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"> อีกทั้งยังได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเลนส์ให้มีความทันสมัย  และมีความสะดวกขึ้น  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">เช่น  มีการปรับระยะชัดแบบอัตโนมัติ (Auto focus)  การปรับเพิ่ม-ลดรูรับแสงอัตโนมัติ  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">การนำเอาระบบสะท้อนด้วยกระจกมาใช้เพื่อลดความยาวของเลนส์ถ่ายภาพระยะไกลที่มีความยาวโฟกัสสูงๆ ให้มีขนาดสั้นลง  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"> หรือเลนส์มุมกว้างที่มีการแก้ระนาบภาพเอียง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"350\" src=\"/files/u20260/07usin14.jpg\" height=\"241\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n[ <a href=\"http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin14.jpg\">http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin14.jpg</a> ]\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\"><strong><u>ภาพถ่ายด้วยเลนส์มุมกว้าง 24 มม.</u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"344\" src=\"/files/u20260/07usin15.jpg\" height=\"227\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n[ <a href=\"http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin15.jpg\">http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin15.jpg</a> ]\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\"><u><strong>ภาพถ่ายด้วยเลนส์มาตรฐาน 50 มม.</strong></u></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"243\" src=\"/files/u20260/07usin16.jpg\" height=\"164\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n[ <a href=\"http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin16.jpg\">http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin16.jpg</a> ]\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\"><strong><u>ภาพถ่ายด้วยเลนส์ถ่ายระยะไกล 135 มม.</u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"243\" src=\"/files/u20260/07usin17.jpg\" height=\"164\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n[ <a href=\"http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin17.jpg\">http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin17.jpg</a> ]\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\"><strong><u>ภาพถ่ายด้วยเลนส์ถ่ายระยะไกล 200 มม.</u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"><strong><u>2.2 ความไวแสงของเลนส์ (Lens Speed)</u></strong> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">ความไวแสงของเลนส์  หมายถึง  ขนาดความกว้างของรูรับแสงเมื่อเปิดรูรับแสงกว้างที่สุด  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">เลนส์ที่สามารถเปิดรูรับแสงได้กว้างกว่า  แสดงว่าเลนส์ตัวนั้นมีความไวแสงมากกว่า  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">ซึ่งจะมีข้อได้เปรียบในการถ่ายภาพในที่ที่มีแสงน้อย  และสามารถปรับความเร็วชัตเตอร์ได้เร็วกว่าเลนส์ที่มีความไวแสงน้อย  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"> แต่เลนส์ยิ่งมีค่าความไวแสงมาก  ราคาของเลนส์ก็จะสูงขึ้นไปด้วย  ดังนั้นจึงควรเลือกใช้เท่าที่จำเป็นและงบประมาณที่มี </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">ความกว้างของรูรับแสงจะมีตัวเลขบอกค่าไว้ที่กระบอกเลนส์  เรียกว่า  เอฟ/สต็อป (f/stop) หรือ เอฟ/นัมเบอร์ (f/number) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">ซึ่งมีค่ากำหนดไว้  เช่น 1.2  1.4  4  5.6  8  11  22  ตัวเลขยิ่งมากเท่าใดรูรับแสงยิ่งแคบลง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u20260/07usin18.gif\" height=\"90\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n[ <a href=\"http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin18.gif\">http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin18.gif</a> ]\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\"><strong><u>ภาพแสดงความกว้างของรูรับแสงและค่า เอฟ/สต็อป ของเลนส์ถ่ายภาพ</u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">นอกจากนี้  ผู้ศึกษาการถ่ายภาพควรศึกษาอุปกรณ์ชนิดอื่นๆ เพิ่มเติม  เช่น  ไฟแฟลช  แว่นกรองแสง  ฟิล์ม  ขาตั้งกล้อง  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">เพื่อให้เข้าใจและพัฒนาทักษะในการถ่ายภาพต่อไป</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"><img border=\"0\" width=\"291\" src=\"/files/u20260/line26.gif\" height=\"27\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43465\"><img border=\"0\" align=\"left\" width=\"84\" src=\"/files/u20260/back.gif\" height=\"100\" /></a> \n</p>\n<p align=\"center\">\n                                                               <a href=\"/node/47382\"><img border=\"0\" align=\"right\" width=\"112\" src=\"/files/u20260/ment0199.gif\" height=\"38\" /></a>     <a href=\"/node/47385\"></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1728281922, expire = 1728368322, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7a60d9212b5dd202bb6ab70af3564433' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ส่วนประกอบกล้องถ่ายรูป 2

 

 

 

2.1.3.4 เลนส์ถ่ายภาพไกลช่วงพิเศษ (Super Long Telephoto lens)  มีความยาวโฟกัสระหว่าง 800-2,000 มม. 

มุมองศาในการรับภาพจะแคบลงอยู่ระหว่าง 3-1 องศาเท่านั้น  สำหรับภาพที่ต้องการกำลังขยายมาก 

เช่น  ภาพถ่ายทางดาราศาสตร์  ภาพถ่ายบนตึกสูง  เป็นต้น  เลนส์พวกนี้จะน้ำหนักมากเป็นพิเศษ  ควรใช้ขาตั้งกล้องช่วยในการถ่ายภาพ

http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin7.jpg ]

เลนส์ถ่ายภาพไกลช่วงพิเศษ (Super Long Telephoto lens) ขนาด 1,000 มม.

 

2.1.4. เลนส์ถ่ายภาพต่างระยะ (Zoom lens)

เลนส์ถ่ายภาพต่างระยะ (Zoom lens) หรือที่นิยมเรียกกันสั้นๆ ว่า  เลนส์ซูม  เลนส์ชนิดนี้เป็นที่นิยมอย่างมากเพราะใช้สะดวก 

มีเลนส์รวมกันอยู่หลายชนิดในตัวเดียว  สามารถเปลี่ยนทางยาวโฟกัสได้ในตัวด้วยการเลื่อนกระ-บอกเลนส์

 (สำหรับเลนส์แบบวงแหวนเดียว)  หรือการหมุนวงแหวนปรับระยะ  (สำหรับเลนส์แบบสองวงแหวน) 

ไม่ต้องคอยเปลี่ยนเลนส์บ่อยๆ  เหมือนกับเลนส์ชนิดความยาวโฟกัสคงที่  แต่เนื่องจากเลนส์ชนิดนี้มีชิ้นเลนส์มาก 

 จึงทำให้ความคมชัดลดลงเล็กน้อย  จึงไม่เหมาะสำหรับภาพที่ต้องการขยายใหญ่มากๆ 

แต่ก็เป็นเลนส์ที่มีผู้นิยมใช้กันมากตามเหตุผลที่ได้กล่าวมา  เลนส์ถ่ายภาพต่างระยะหรือเลนส์ซูมนี้มีหลายขนาดให้เลือกใช้

  โดยแบ่งออกเป็นหลายประเภท  คือ

2.1.4.1 เลนส์ซูมช่วงมุมกว้าง (Wide angle Zoom)  มีช่วงขนาดความยาวโฟกัสสั้น  รับภาพได้มุมกว้าง 

เช่นขนาด 20 -35 มม. 24-35 มม. 24-50 มม.  เหมาะสำหรับการใช้งานในการถ่ายภาพมุมกว้าง

http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin8.jpg ]

ภาพเลนส์ซูมช่วงมุมกว้าง (Wide angle Zoom) ขนาดความยาวโฟกัส 20-35 มม

 

2.1.4.2 เลนส์ซูมช่วงสั้น (Short Zoom)  เป็นเลนส์ที่มีความยาวโฟกัสตั้งแต่ขนาดสั้นถึงปานกลาง

  โดยจะมีเลนส์ขนาดมาตรฐานรวมอยู่ด้วย  เป็นเลนส์ซูมที่มีผู้นิยมใช้มากที่สุด  ราคาค่อนข้างถูกเมื่อเทียบกับเลนส์ซูมขนาดอื่นๆ

กล้องถ่ายภาพของบางบริษัทจะใช้เลนส์ซูมประเภทนี้แทนเลนส์มาตรฐาน  มีช่วงความยาวโฟกัสที่นิยมใช้  คือ 

ขนาด 35-70 มม.  35-105 มม.  35-135 มม.  เป็นต้น

http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin9.jpg ]

เลนส์ซูมช่วงสั้น (Short Zoom) ขนาดความยาวโฟกัส 35-70 มม.

 

2.1.4.3 เลนส์ซูมช่วงไกล (Telephoto Zoom)  เป็นเลนส์ซูมที่มีความยาวโฟกัสสูงกว่าเลนส์สองประเภทที่ได้กล่าวมา 

โดยมีขนาดที่นิยมใช้  คือ  80-200 มม.  100-300 มม.  สำหรับใช้งานแทนเลนส์ถ่ายภาพระยะไกล  เลนส์ประเภทนี้จะมีน้ำหนักมาก 

 ผู้ใช้ต้องอาศัยทักษะและความชำนาญในการใช้ เพราะอาจทำให้กล้องสั่นไหวได้ง่าย

 [ http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin10.jpg ]

เลนส์ซูมช่วงไกล (Telephoto Zoom) ขนาดความยาวโฟกัส 80-200 มม.

 

2.1.4.4 เลนส์ซูมช่วงไกลพิเศษ (Super Telephoto Zoom)  เป็นเลนส์ซูมที่มีช่วงความยาวโฟกัสสูงมาก 

เหมาะสำหรับผู้ที่ถ่ายภาพเฉพาะด้าน  เช่น  ช่างภาพที่ถ่ายภาพกีฬาบางประเภท  นักถ่ายภาพสารคดี 

หรือนักถ่ายภาพทางดาราศาสตร์ก็นิยมใช้เลนส์ประเภทนี้  เลนส์ซูมประเภทนี้มีขนาดช่วงความยาวโฟกัสที่นิยมใช้ 

 คือ  80-400 มม. 400-800 มม. 360-1200 มม.  เป็นต้น

http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin11.jpg ]

เลนส์ซูมช่วงไกลพิเศษ (Super Telephoto Zoom) ขนาดความยาวโฟกัส 80-400 มม.

 

นอกจากเลนส์ซูมทั้ง 4 ประเภทที่ได้กล่าวมาแล้ว  บางบริษัทยังได้ผลิตเลนส์ซูมประเภทอื่นๆ อีก 

 เช่น  มาโครซูม (Macro Zoom) สำหรับถ่ายภาพระยะใกล้ 

หรือเลนส์ซูมที่เป็นเลนส์รวมตั้งแต่เลนส์มุมกว้างถึงเลนส์ถ่ยภาพระยะไกลปานกลาง 

 เช่น  ขนาดความยาวโฟกัส 28-20 มม. 35-200 มม.  ดังนั้น  การเลือกใช้เลนส์ชนิดนี้จึงควรคำนึงถึงความจำเป็นในการใช้งาน 

และสะดวกเป็นสำคัญ  เพราะเลนส์ที่มีช่วงความยาวโฟกัสห่างกันมากเท่าใด  ก็จะมีน้ำหนักมากขึ้น  และราคาก็จะสูงขึ้นไปด้วย

2.1.5 เลนส์ภาพถ่ายใกล้ (Macro lens)

เลนส์ถ่ายภาพใกล้หรือที่เรียกว่ามาโครเลนส์  เป็นเลนส์ชนิดที่สามารถถ่ายภาพในระยะใกล้ๆ ได้มากเป็นพิเศษ 

ให้อัตราขยายของภาพได้ดีกว่าเลนส์ชนิดอื่นๆ  เหมาะสำหรับถ่ายภาพวัตถุที่มีขนาดเล็ก  เช่น  แมลง  ดอกไม้  เครื่องประดับ 

 หรือวัตถุอื่นๆ ที่ต้องการความคมชัดและให้เห็นรายละเอียดมาก  ซึ่งเลนส์ชนิดอื่นทำไม่ได้ 

 และยังสามารถใช้ถ่ายภาพทั่วๆ ไปได้เช่นเดียวกับเลนส์ชนิดอื่นๆ ที่มีขนาดความยาวโฟกัสเท่ากัน

เลนส์มาโครมีขนาดความยาวโฟกัสหลายขนาด  ที่ใช้ทั่วไปมีตั้งแต่ 50 มม. 55 มม. 85 มม. 105 มม. 

โดยมีอัตราขยายของภาพมีอัตราส่วน  คือ  1:2 (ขนาดภาพที่ปรากฏบนฟิล์มจะมีขนาดครึ่งเท่าของวัตถุ) 

หรือ 1:1 (ขนาดภาพที่ปรากฏบนฟิล์มจะมีขนาดกันกับวัตถุ)

http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin12.jpg ]

เลนส์มาโคร ขนาด 55 มม.

 

http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin13.gif ]

ภาพที่ถ่ายด้วยเลนส์มาโคร

 

จากเลนส์ทั้ง 5 ชนิดที่ได้กล่าวมา  เป็นเลนส์ที่นิยมใช้กันทั่วไป 

 อีกทั้งยังได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเลนส์ให้มีความทันสมัย  และมีความสะดวกขึ้น 

เช่น  มีการปรับระยะชัดแบบอัตโนมัติ (Auto focus)  การปรับเพิ่ม-ลดรูรับแสงอัตโนมัติ 

การนำเอาระบบสะท้อนด้วยกระจกมาใช้เพื่อลดความยาวของเลนส์ถ่ายภาพระยะไกลที่มีความยาวโฟกัสสูงๆ ให้มีขนาดสั้นลง 

 หรือเลนส์มุมกว้างที่มีการแก้ระนาบภาพเอียง

http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin14.jpg ]

ภาพถ่ายด้วยเลนส์มุมกว้าง 24 มม.

 

http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin15.jpg ]

ภาพถ่ายด้วยเลนส์มาตรฐาน 50 มม.

 

http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin16.jpg ]

ภาพถ่ายด้วยเลนส์ถ่ายระยะไกล 135 มม.

 

http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin17.jpg ]

ภาพถ่ายด้วยเลนส์ถ่ายระยะไกล 200 มม.

 

2.2 ความไวแสงของเลนส์ (Lens Speed)

ความไวแสงของเลนส์  หมายถึง  ขนาดความกว้างของรูรับแสงเมื่อเปิดรูรับแสงกว้างที่สุด 

เลนส์ที่สามารถเปิดรูรับแสงได้กว้างกว่า  แสดงว่าเลนส์ตัวนั้นมีความไวแสงมากกว่า 

ซึ่งจะมีข้อได้เปรียบในการถ่ายภาพในที่ที่มีแสงน้อย  และสามารถปรับความเร็วชัตเตอร์ได้เร็วกว่าเลนส์ที่มีความไวแสงน้อย 

 แต่เลนส์ยิ่งมีค่าความไวแสงมาก  ราคาของเลนส์ก็จะสูงขึ้นไปด้วย  ดังนั้นจึงควรเลือกใช้เท่าที่จำเป็นและงบประมาณที่มี

ความกว้างของรูรับแสงจะมีตัวเลขบอกค่าไว้ที่กระบอกเลนส์  เรียกว่า  เอฟ/สต็อป (f/stop) หรือ เอฟ/นัมเบอร์ (f/number)

ซึ่งมีค่ากำหนดไว้  เช่น 1.2  1.4  4  5.6  8  11  22  ตัวเลขยิ่งมากเท่าใดรูรับแสงยิ่งแคบลง

http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g17m2fri/images/05ingredient/07usin18.gif ]

ภาพแสดงความกว้างของรูรับแสงและค่า เอฟ/สต็อป ของเลนส์ถ่ายภาพ

 

นอกจากนี้  ผู้ศึกษาการถ่ายภาพควรศึกษาอุปกรณ์ชนิดอื่นๆ เพิ่มเติม  เช่น  ไฟแฟลช  แว่นกรองแสง  ฟิล์ม  ขาตั้งกล้อง 

เพื่อให้เข้าใจและพัฒนาทักษะในการถ่ายภาพต่อไป

 

 

 

                                                                    

 

 

สร้างโดย: 
นาย วีรศักดิ์ เตชมหนนท์และ นางสาว กัญญารัตน์ ภูมิศิริวิไล โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 398 คน กำลังออนไลน์