• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ดาราศาสตร์', 'node/93382', '', '52.15.160.43', 0, 'f70ad5b8e603e8f381f2c327aef5d2ae', 138, 1716220711) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ce02c5241c64218a431da2f32474f639' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<blockquote style=\"text-align: center\"><p style=\"text-align: center\">\n <strong>อารยธรรมอินเดียโบราณ</strong>\n </p>\n<p style=\"text-align: center\">\n Ancient India Civilization\n </p>\n</blockquote>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u40192/00.jpg\" height=\"548\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p><a href=\"/node/70047\"></a></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/81727\"><img border=\"0\" width=\"125\" src=\"/files/u40192/00_0.jpg\" height=\"50\" /></a><a href=\"/node/89253\"><img border=\"0\" width=\"125\" src=\"/files/u31050/1.jpg\" height=\"50\" /></a><a href=\"/node/89254\"><img border=\"0\" width=\"125\" src=\"/files/u31050/2_.jpg\" height=\"50\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/89255\"><img border=\"0\" width=\"125\" src=\"/files/u31050/3.jpg\" height=\"50\" /></a><a href=\"/node/89262\"><img border=\"0\" width=\"125\" src=\"/files/u31050/1_2_0.jpg\" height=\"50\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nขอขอบคุณ ภาพสวยๆ จาก  <a href=\"http://images.north40commerce.com/TheAncientWeb/pop/9788854401679.jpg\">http://images.north40commerce.com/TheAncientWeb/pop/9788854401679.jpg</a>   \n</div>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<hr id=\"null\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<strong> <img border=\"0\" width=\"250\" src=\"/files/u40192/02.jpg\" height=\"100\" /></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>ลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตร์</strong>\n</p>\n<p>\n          ประเทศอินเดียประกอบขึ้นด้วยอาณาบริเวณที่กว้างใหญ่ไพศาล มีเนื้อที่ทั้งหมดเท่ากับทวีปยุโรปที่นับรวมรัสเซีย ด้วยเหตุนี้ ลักษณะภูมิประเทศและดินฟ้าอากาศที่แตกต่างกันมาก บริเวณภูเขาสูงทางตอนเหนือ รวมทั้งเทือกเขาหิมาลัย ซึ่งมียอดเขาสูงที่สุดในโลกอย่างยอดเอเวอร์เรส ยาวขนานไปกับพรมแดนด้านเหนือเป็นระยะทางถึง 1,600 ไมล์ ซึ่งมีหิมะปกคลุดตลอดทั้งปี ที่แตกต่างกับบริเวณที่มีอากาศหนาวจัด คือ บริเวณทะเลทรายที่ร้อนระอุและแห้งแล้ง เช่น ทะเลทรายธราร์(Thar) ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ นอกจากนี้ยังมีบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำอันอุดมสมบูรณ์ เช่นที่ราบลุ่มแม่น้ำคงคา และที่ราบลุ่มแม่น้ำสินธุ\n</p>\n<p>\n          อินเดียเป็นอีกประเทศหนึ่งในสมัยโบราณที่สภาพภูมิศาสตร์มีอิทธิพลเป็นอย่างมากต่อความเป็นไปทางประวัติศาสตร์ อินเดียมีแม่น้ำสายลึกๆ มีเทือกเขาที่ปกคลุมด้วยป่าทึบเต็มไปด้วยสัตว์ร้ายและโรคภัยไข้เจ็บ มีทะเลทรายร้อนระอุ สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยทางธรรมชาติสำคัญที่ทำให้อินเดียแบ่งออกเป็นเขตใหญ่น้อย ขาดการติดต่อ เจริญขึ้นมาเป็นหน่วยทางการเมืองและสังคมที่มีลักษณะโดดเดี่ยว ขาดความสัมพันธ์ยั่งยืนถาวรระหว่างกันและกัน\n</p>\n<p>\n<strong>                           เทือกเขาหิมาลัย                                 ทะเลทรายธาร์                             ดินดอนปากแม่น้ำคงคา</strong> \n</p>\n<p>\n                <img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u40192/7.jpg\" height=\"375\" style=\"width: 190px; height: 117px\" /><img border=\"0\" width=\"311\" src=\"/files/u40192/8.jpg\" height=\"219\" style=\"width: 202px; height: 116px\" /><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u40192/9.jpg\" height=\"450\" style=\"width: 189px; height: 116px\" />\n</p>\n<p>\nภาพจาก <a href=\"http://travelsometimes.com/images/photos/lists/summit_everest.jpg\">http://travelsometimes.com/images/photos/lists/summit_everest.jpg</a>\n</p>\n<p>\n           <a href=\"http://upic.me/i/6l/k2b3d.jpg\">http://upic.me/i/6l/k2b3d.jpg</a>\n</p>\n<p>\n           <a href=\"http://www.thaiforestbooking.com/npark/pictures/np/NP19T3P1552.JPG\">http://www.thaiforestbooking.com/npark/pictures/np/NP19T3P1552.JPG</a>\n</p>\n<p align=\"right\" style=\"text-align: left\">\n           ด้านความสัมพันธ์กับภายนอก เทือกเขาหิมาลัยซึ่งยาวเหยียดไปตลอดแนวพรมแดนด้านเหนือของอินเดีย กับชายฝั่งทะเลที่ยาวเหยียด เป็นปราปารธรรมชาติที่กันอินเดียออกจากส่วนต่างๆของทวีปเอเชีย และช่วยให้อินเดียได้มีโอกาศส้รางสมอารยธรรมที่กันอินเดียให้ปลอดภัยจากการรุกรานภายนอก ปรากฎว่าตั้งแต่สมัยโบราณ อินเดียรับภัยจากผู้รุกรานอยู่เสมอ ผู้รุกรานเหล่านี้ได้อาศัยช่องทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือเป็นช่องทางเข้าสู่อินเดียเช่น ช่องเขาไคเบอร์ (Kyber) และ ช่องเขาโบลัน (Bolan)\n</p>\n<p align=\"right\" style=\"text-align: left\">\n                                          <strong>ช่องเขาไคเบอร์</strong>                                   <strong> ช่องเขาโบลัน </strong>\n</p>\n<p align=\"right\" style=\"text-align: left\">\n                         <img border=\"0\" width=\"350\" src=\"/files/u40192/10.jpg\" height=\"541\" style=\"width: 224px; height: 406px\" /><img border=\"0\" width=\"271\" src=\"/files/u40192/11.jpg\" height=\"400\" />      \n</p>\n<p align=\"right\" style=\"text-align: left\">\nภาพจาก <a href=\"http://www.imagesofasia.com/html/pakistan/images/large/caravans-khyber.jpg\">http://www.imagesofasia.com/html/pakistan/images/large/caravans-khyber.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"right\" style=\"text-align: left\">\n           <a href=\"http://www.britishbattles.com/first-afghan-war/ghuznee/bolan-pass.jpg\">http://www.britishbattles.com/first-afghan-war/ghuznee/bolan-pass.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"right\" style=\"text-align: left\">\n<strong>ตามลักษณะภูมิประเทศ</strong> อินเดียแบ่งออกเป็น 3 ภาค คือ\n</p>\n<p>\n          1. ฮินดูสถาน\n</p>\n<p>\n          2. เดคข่าน\n</p>\n<p>\n          3. เขคทมิฬ\n</p>\n<p>\n          <strong>ฮินดูสถาน</strong> ได้แก่ อินเดียตอนเหนือลงมาจรดแม่น้ำนาร์บาดา (Narbada) เทือกเขาวินธัย(Vindhya) และ สัตปุระ ซึ่งปกคลุมด้วยป่าทึบเต็มไปด้วยสัตว์ร้ายทำความยากลำบากให้แก่ผู้ที่จะรุกรานเข้าไปในเกคข่าน\n</p>\n<p>\n         <strong> เดคข่าน </strong>คือบริเวณที่ราบสูงขนาบด้วยเทือกเขาฆาตตะวันตกตะวันตก และเทือกเขาฆาตตะวันออก ซึ่งขนานไปกับชายฝั่งทะเล เทือกเขาฆาตตะวันออกเป็นเหตุให้แม่น้ำส่วนใหญ่ไหลลงทะเลทางฝั่งตะวันออก\n</p>\n<p>\n          <strong>เขตทมิฬ </strong>ได้แก่บริเวณตอนใต้สุดตั้งแต่แม่น้ำกฤษณา ไปจรดปลายสุดของแผ่นดินส่วนใหญ่เป็นที่อาศัยของชนพื้นเมืองเดิม คือ ดาวิเดียน และเป็นเขตที่ปลอดภัยจากการรุกราน \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u40192/0.gif\" height=\"100\" />\n</div>\n<p align=\"right\" style=\"text-align: left\">\n  \n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/70047\"></a>\n</p>\n<div class=\"field field-type-text field-field-link\">\n<div class=\"field-items\">\n<div class=\"field-item odd\">\n<div class=\"field-label-inline-first\">\n<strong><a href=\"/node/81727\"><img border=\"0\" align=\"right\" width=\"125\" src=\"/files/u40192/00_0.jpg\" height=\"50\" /></a></strong>\n</div>\n</div>\n</div>\n</div>\n', created = 1716220781, expire = 1716307181, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ce02c5241c64218a431da2f32474f639' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของอารยธรรมอินเดีย

รูปภาพของ lenneyuna

 

อารยธรรมอินเดียโบราณ

Ancient India Civilization

 

ขอขอบคุณ ภาพสวยๆ จาก  http://images.north40commerce.com/TheAncientWeb/pop/9788854401679.jpg   

 


 

ลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตร์

          ประเทศอินเดียประกอบขึ้นด้วยอาณาบริเวณที่กว้างใหญ่ไพศาล มีเนื้อที่ทั้งหมดเท่ากับทวีปยุโรปที่นับรวมรัสเซีย ด้วยเหตุนี้ ลักษณะภูมิประเทศและดินฟ้าอากาศที่แตกต่างกันมาก บริเวณภูเขาสูงทางตอนเหนือ รวมทั้งเทือกเขาหิมาลัย ซึ่งมียอดเขาสูงที่สุดในโลกอย่างยอดเอเวอร์เรส ยาวขนานไปกับพรมแดนด้านเหนือเป็นระยะทางถึง 1,600 ไมล์ ซึ่งมีหิมะปกคลุดตลอดทั้งปี ที่แตกต่างกับบริเวณที่มีอากาศหนาวจัด คือ บริเวณทะเลทรายที่ร้อนระอุและแห้งแล้ง เช่น ทะเลทรายธราร์(Thar) ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ นอกจากนี้ยังมีบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำอันอุดมสมบูรณ์ เช่นที่ราบลุ่มแม่น้ำคงคา และที่ราบลุ่มแม่น้ำสินธุ

          อินเดียเป็นอีกประเทศหนึ่งในสมัยโบราณที่สภาพภูมิศาสตร์มีอิทธิพลเป็นอย่างมากต่อความเป็นไปทางประวัติศาสตร์ อินเดียมีแม่น้ำสายลึกๆ มีเทือกเขาที่ปกคลุมด้วยป่าทึบเต็มไปด้วยสัตว์ร้ายและโรคภัยไข้เจ็บ มีทะเลทรายร้อนระอุ สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยทางธรรมชาติสำคัญที่ทำให้อินเดียแบ่งออกเป็นเขตใหญ่น้อย ขาดการติดต่อ เจริญขึ้นมาเป็นหน่วยทางการเมืองและสังคมที่มีลักษณะโดดเดี่ยว ขาดความสัมพันธ์ยั่งยืนถาวรระหว่างกันและกัน

                           เทือกเขาหิมาลัย                                 ทะเลทรายธาร์                             ดินดอนปากแม่น้ำคงคา 

                

ภาพจาก http://travelsometimes.com/images/photos/lists/summit_everest.jpg

           http://upic.me/i/6l/k2b3d.jpg

           http://www.thaiforestbooking.com/npark/pictures/np/NP19T3P1552.JPG

           ด้านความสัมพันธ์กับภายนอก เทือกเขาหิมาลัยซึ่งยาวเหยียดไปตลอดแนวพรมแดนด้านเหนือของอินเดีย กับชายฝั่งทะเลที่ยาวเหยียด เป็นปราปารธรรมชาติที่กันอินเดียออกจากส่วนต่างๆของทวีปเอเชีย และช่วยให้อินเดียได้มีโอกาศส้รางสมอารยธรรมที่กันอินเดียให้ปลอดภัยจากการรุกรานภายนอก ปรากฎว่าตั้งแต่สมัยโบราณ อินเดียรับภัยจากผู้รุกรานอยู่เสมอ ผู้รุกรานเหล่านี้ได้อาศัยช่องทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือเป็นช่องทางเข้าสู่อินเดียเช่น ช่องเขาไคเบอร์ (Kyber) และ ช่องเขาโบลัน (Bolan)

                                          ช่องเขาไคเบอร์                                    ช่องเขาโบลัน

                               

ภาพจาก http://www.imagesofasia.com/html/pakistan/images/large/caravans-khyber.jpg

           http://www.britishbattles.com/first-afghan-war/ghuznee/bolan-pass.jpg

ตามลักษณะภูมิประเทศ อินเดียแบ่งออกเป็น 3 ภาค คือ

          1. ฮินดูสถาน

          2. เดคข่าน

          3. เขคทมิฬ

          ฮินดูสถาน ได้แก่ อินเดียตอนเหนือลงมาจรดแม่น้ำนาร์บาดา (Narbada) เทือกเขาวินธัย(Vindhya) และ สัตปุระ ซึ่งปกคลุมด้วยป่าทึบเต็มไปด้วยสัตว์ร้ายทำความยากลำบากให้แก่ผู้ที่จะรุกรานเข้าไปในเกคข่าน

          เดคข่าน คือบริเวณที่ราบสูงขนาบด้วยเทือกเขาฆาตตะวันตกตะวันตก และเทือกเขาฆาตตะวันออก ซึ่งขนานไปกับชายฝั่งทะเล เทือกเขาฆาตตะวันออกเป็นเหตุให้แม่น้ำส่วนใหญ่ไหลลงทะเลทางฝั่งตะวันออก

          เขตทมิฬ ได้แก่บริเวณตอนใต้สุดตั้งแต่แม่น้ำกฤษณา ไปจรดปลายสุดของแผ่นดินส่วนใหญ่เป็นที่อาศัยของชนพื้นเมืองเดิม คือ ดาวิเดียน และเป็นเขตที่ปลอดภัยจากการรุกราน 

 

  

สร้างโดย: 
น.ส.นภัสสชนก เคหะธูป และ นางพีรทิพย์ สุคันธเมศวร์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 278 คน กำลังออนไลน์