• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('อาการ', 'node/49305', '', '18.117.102.6', 0, '38453a0a8629c03fd43e620a8b2aecc5', 140, 1716070331) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d9ae5b193d4f2c81e6fff72e27cf1848' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<p>\n<br />\n<strong>ละคร เสียดสี (Satyr Plays) และสุขนาฏกรรมแบบเก่า (Old Comedy)</strong>\n</p>\n<p>\nในเทศกาลละคร City Dionysia ทั้งเจ็ดวัน จะมีการจัดแสดงละครโศกนาฏกรรม 3  เรื่องจากผู้เขียนคนเดียวกันและหลังจากการแสดงทั้งสามเรื่องจบลงจะมีการแสดงขั้นเรื่องสั้นๆจากผู้เขียนคนเดียวกันซึ่งเนื้อหาจะเกี่ยวข้องกับละครโศกนาฏกรรมหรือเป็นอิสระจากกันก็ได้เราเรียกว่าละครเสียดสี (Satyr Plays) ซึ่งเป็นละครสุขนาฏกรรมที่มีกลุ่มคอรัสที่เรียกว่า Satyr เป็นสัตว์ประหลาดครึ่งคนครึ่งแพะ โครงสร้างคล้ายโศกนาฏกรรมกรีกแต่มีลักษณะล้อเลียนสิ่งที่เป็นที่ยกย่องของกรีกเช่นวีรบุรุษ ศาสนา อย่างหยาบโลน มีละครเรื่องเดียวเท่านั้นที่มีความสมบูรณ์ตกทอดมาจนถึงปัจจุบันคือ เดอร์ไซคลอบส์ (The Cyclops)  ของ ยูริพิดีส \n</p>\n<p>\n<br />\n                ละครประเภทที่สามที่แสดงในเทศกาลคือสุขนาฏกรรม ซึ่งในสมัยนั้นเรียกว่า ละครสุขนาฏกรรมแบบเก่า  (Old Comedy) นักเขียนบทแนวนี้ที่เป็นที่ร้จักเป็นอย่างดีในยุคทองของกรีก (Greek golden age) คือ อริสโตเฟนิส (Aristophanes) ละครเขียนในแบบสุขนาฏกรรมแบบเก่า (Old Comedy) สะท้อนสังคม การเมืองในเอเธนส์ช่วงที่ใกล้สูญสิ้นอำนาจตอนปลายก่อนคริสตศตวรรษที่ 5\n</p>\n<p>\n                ละครแนวนี้ส่วนใหญ่ไม่ได้มีโครงสร้างเป็นไปตามแบบของโศกนาฏกรรม  Crisis Drama  เวลาในเรื่องไม่ได้จบในหนึ่งวัน ไม่ได้เกิดขึ้นในสถานที่เดียว มีนักแสดงหลายคน และเรื่องที่แสดงเป็นการล้อเลียน สังคมการเมือง วัฒนธรรม ตัวละครมีลักษณะร่วมสมัยง่ายแก่การจดจำ ละครแนวนี้ใช้ลักษณะเกินจิงมาใช้ภายใต้การเสียดสีสังคม เช่นเรื่อง ลีสิสตราตา (Lysistrata) ของ อริสโตเฟนิส (Aristophanes) ลักษณะการแสดงละครสุขนาฏกรรมแบบเก่ามีการดำเนินเรื่องคล้ายๆกับการแสดงโศกนาฏกรรม คือมี Prologue  Parodos  Episode สลับกับ Stasimom และ Exodos แต่ก็มีลักษณะเป็นเอกลักษณ์อยู่สองประการใน Episode คือมี Agon เป็นฉากโต้คารมกันระหว่างสองฝ่ายที่ตรงข้ามกันในละครซึ่งต่างฝ่ายต่างนำเสนอปัญหาทางการเมืองและสังคมที่ต่างกัน อีกอย่างหนึ่งคือ Parabasis  ซึ่งเป็นการแสดงช่วงที่ที่คอรัสพูดโดยตรงกับคนดู โดยการแสดงจะมีลักษณะล้อเลียน เสียดสี หรือโจมตี กล่าวคือเมื่อถึงช่วง  Parabasis  คอรัสจะเลือกหนึ่งในผู้ที่มาชมการแสดง ส่วนใหญ่แล้วผู้ที่คอรัสจะเลือกพวกเจ้าหน้าที่ นักการเมือง พวกเคร่งศาสนา ที่มาชมการแสดงในเทศกาล เพราะส่วนใหญ่คนเหล่านี้มักจะนั่งอยู่บริเวณแถวหน้า จึงทำให้เป็นเป้าให้บรรดากลุ่มคอรัส ล้อเลียน หรือเสียดสีเสมอ ซึ่งถ้าเทียบกับปัจจุบันก็จะเหมือนกับการแสดงที่เรียกว่า  สแตนอัพ คอมเมดี้ Stand-up Comedy \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1716070341, expire = 1716156741, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d9ae5b193d4f2c81e6fff72e27cf1848' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ละครกรีก

รูปภาพของ uns30382


ละคร เสียดสี (Satyr Plays) และสุขนาฏกรรมแบบเก่า (Old Comedy)

ในเทศกาลละคร City Dionysia ทั้งเจ็ดวัน จะมีการจัดแสดงละครโศกนาฏกรรม 3  เรื่องจากผู้เขียนคนเดียวกันและหลังจากการแสดงทั้งสามเรื่องจบลงจะมีการแสดงขั้นเรื่องสั้นๆจากผู้เขียนคนเดียวกันซึ่งเนื้อหาจะเกี่ยวข้องกับละครโศกนาฏกรรมหรือเป็นอิสระจากกันก็ได้เราเรียกว่าละครเสียดสี (Satyr Plays) ซึ่งเป็นละครสุขนาฏกรรมที่มีกลุ่มคอรัสที่เรียกว่า Satyr เป็นสัตว์ประหลาดครึ่งคนครึ่งแพะ โครงสร้างคล้ายโศกนาฏกรรมกรีกแต่มีลักษณะล้อเลียนสิ่งที่เป็นที่ยกย่องของกรีกเช่นวีรบุรุษ ศาสนา อย่างหยาบโลน มีละครเรื่องเดียวเท่านั้นที่มีความสมบูรณ์ตกทอดมาจนถึงปัจจุบันคือ เดอร์ไซคลอบส์ (The Cyclops)  ของ ยูริพิดีส 


                ละครประเภทที่สามที่แสดงในเทศกาลคือสุขนาฏกรรม ซึ่งในสมัยนั้นเรียกว่า ละครสุขนาฏกรรมแบบเก่า  (Old Comedy) นักเขียนบทแนวนี้ที่เป็นที่ร้จักเป็นอย่างดีในยุคทองของกรีก (Greek golden age) คือ อริสโตเฟนิส (Aristophanes) ละครเขียนในแบบสุขนาฏกรรมแบบเก่า (Old Comedy) สะท้อนสังคม การเมืองในเอเธนส์ช่วงที่ใกล้สูญสิ้นอำนาจตอนปลายก่อนคริสตศตวรรษที่ 5

                ละครแนวนี้ส่วนใหญ่ไม่ได้มีโครงสร้างเป็นไปตามแบบของโศกนาฏกรรม  Crisis Drama  เวลาในเรื่องไม่ได้จบในหนึ่งวัน ไม่ได้เกิดขึ้นในสถานที่เดียว มีนักแสดงหลายคน และเรื่องที่แสดงเป็นการล้อเลียน สังคมการเมือง วัฒนธรรม ตัวละครมีลักษณะร่วมสมัยง่ายแก่การจดจำ ละครแนวนี้ใช้ลักษณะเกินจิงมาใช้ภายใต้การเสียดสีสังคม เช่นเรื่อง ลีสิสตราตา (Lysistrata) ของ อริสโตเฟนิส (Aristophanes) ลักษณะการแสดงละครสุขนาฏกรรมแบบเก่ามีการดำเนินเรื่องคล้ายๆกับการแสดงโศกนาฏกรรม คือมี Prologue  Parodos  Episode สลับกับ Stasimom และ Exodos แต่ก็มีลักษณะเป็นเอกลักษณ์อยู่สองประการใน Episode คือมี Agon เป็นฉากโต้คารมกันระหว่างสองฝ่ายที่ตรงข้ามกันในละครซึ่งต่างฝ่ายต่างนำเสนอปัญหาทางการเมืองและสังคมที่ต่างกัน อีกอย่างหนึ่งคือ Parabasis  ซึ่งเป็นการแสดงช่วงที่ที่คอรัสพูดโดยตรงกับคนดู โดยการแสดงจะมีลักษณะล้อเลียน เสียดสี หรือโจมตี กล่าวคือเมื่อถึงช่วง  Parabasis  คอรัสจะเลือกหนึ่งในผู้ที่มาชมการแสดง ส่วนใหญ่แล้วผู้ที่คอรัสจะเลือกพวกเจ้าหน้าที่ นักการเมือง พวกเคร่งศาสนา ที่มาชมการแสดงในเทศกาล เพราะส่วนใหญ่คนเหล่านี้มักจะนั่งอยู่บริเวณแถวหน้า จึงทำให้เป็นเป้าให้บรรดากลุ่มคอรัส ล้อเลียน หรือเสียดสีเสมอ ซึ่งถ้าเทียบกับปัจจุบันก็จะเหมือนกับการแสดงที่เรียกว่า  สแตนอัพ คอมเมดี้ Stand-up Comedy 

 

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 296 คน กำลังออนไลน์