• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '18.224.62.105', 0, '6d9148a1bcb11ef7c36df49e05dd45e1', 125, 1716063532) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:24567dc368e1766100f0c698d05160bd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<p>\n<br />\n<strong>การละครและวัฒนธรรมในกรุงโรม</strong> <br />\n                เมื่อเริ่มมีการละครนั้นชาวโรมันได้รับอิทธิพลอย่างมากจากกรีกเหมือนอย่างที่ได้รับในงานแขนงอื่นๆ เช่น งานสถาปัตยกรรมและรูปปั้นชาวโรมันได้ขอยืมลักษณะละครของกรีกมาใช้อย่างอิสระ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสุขนาฏกรรมแบบใหม่  (New Comedy) จากนี้ก็ได้พัฒนาไปสู่ลักษณะละครสุขนาฏกรรมชาวบ้าน (Popular Comedy) ในแบบเฉพาะของตัวเองในเวลาต่อมา\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"492\" width=\"336\" src=\"/files/u27201/A396p1x2.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 226px; height: 317px\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>สุขนาฏกรรมชาวบ้าน (Popular Comedy) ในกรุงโรม</strong> <br />\n                แม้ว่าในยุคสมัยของโรมันนั้นจะไม่ได้เป็นต้นกำเนิดของละครชั้นยอด ถึงกระนั้นชาวโรมันก็ได้พัฒนาสุขนาฏกรรมชาวบ้าน (Popular Comedy) มากมายหลากหลายประเภท ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการปรับมาจากการแสดงของชาวกรีก  สุขนาฏกรรมชาวบ้านนี้ได้รับความสนใจอย่างแพร่ หลายในทุกระดับสังคม ชั้น วรรณะ  นักประวัติศาสตร์หลายคนกล่าวไว้ว่า วัฒนธรรมของอเมริกันในช่วงศตวรรษที่ 20 ซึ่งมีการเติบโตอย่างสูงของสุขนาฏกรรมชาวบ้านไม่ว่าจะเป็น ภาพยนตร์ โทรทัศน์ คอนเสิร์ตนั้น มีความคล้ายกันอย่างมากกับวัฒนธรรมของชาวโรมัน ความบันเทิงของชาวโรมันมีความคล้ายคลึงกับปัจจุบัน เช่น การแข่งรถศึก (Chariot Racing) ขี่ม้า (Equestrian Performances) การต่อสู้ (Acrobatics)  มวยปล้ำ(Wrestling) สำหรับสถานที่ชมชาวโรมันได้สร้างสิ่งก่อสร้างพิเศษ คล้ายกับสนามฟุตบอลหรือเบสบอลในปัจจุบัน 600 ปีก่อนคริสกาล เดอร์ ซอร์คัส แมกซิมุส The Circus Maximus  สร้างที่โรมเพื่อการแข่งรถศึกแล้วก็มีการปรับรูปลักษณ์จนสามารถจุคนได้ถึง 60,000 ที่นั่ง โรงละครที่มีชื่อเป็นที่รู้จักของโรมคือ โคโลสเซียม (Colosseum) เป็นโรงละคร (Amphitheater) ที่สร้างขึ้นโดยชาวโรมันในศตวรรษที่ 80\n</p>\n<p>\n<br />\n                ชาวโรมันพัฒนาสุขนาฏกรรมชาวบ้านที่มีพื้นฐานมาจากละคร เช่น โรมันมาม คล้ายกับกรีกมาม เป็นการรวมกายกรรม เพลง และการเต้นเข้าไว้ด้วยกัน เป็นบทตลกสั้นๆที่ส่วนใหญ่สองแง่สองง่าม การแสดงที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของชาวโรมันที่เกิดขึ้นคือ แพนโทมาม (Pantomime) โรมันแพนโทมามนั้นต่างกันอย่างชัดเจนกับมามในยุคกรีก  โรมันมามใช้นักเต้นคนเดียว คอรัสคนเดียว ร่วมไปกับดนตรี ซึ่งสามารถกล่าวได้ว่าคล้ายๆกับบัลเล่ย์ในยุคปัจจุบัน นักแสดงโรมันแพนโทมามนี้ได้รับการสนับสนุนจากจักรพรรดิ์หรือขุนนางชั้นสูง\n</p>\n<p>\n<strong><br />\nสุขนาฏกรรมของโรมัน </strong>\n</p>\n<p>\n<br />\nสุขนาฏกรรมของโรมันเป็นต้นแบบอย่างชัดเจนของละครตลกตามสถานการณ์ของตะวันตก (Western Situation Comedy) แม้ว่าการละครของโรมันจะรุ่งเรืองยาวนานเกือบ 7 ศตวรรษ แต่มีงานเขียนของนักเขียนบทแค่สามคนที่เหลือรอดมาจนปัจจุบันคือ นักเขียนบทละครสุขนาฏกรรม เพลาตุส (Plautus) และเทอเรนส์ (Terance)  และโศกนาฏกรรมของเซเนกา (Tragedies of Seneca)\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>เพลาตุส (Plautus) และเทอเรนส์ (Terance) </strong><br />\n                เพลาตุสเป็นคนที่มีชื่อเสียงที่สุดในบรรดานักเขียนบทสุขนาฏกรรมของโรมัน  จนได้รับสมญานามว่าเป็นปรมาจารณ์ของสุขนาฏกรรม (Master of Comedy) งานเขียนของเพลาตุสส่วนใหญ่นั้นได้พื้นมาจากสุขนาฏกรรมใหม่ของกรีก คือ ไม่มีคอรัส ไม่ใช่เรื่องที่เกี่ยวกันการเมืองปัจจุบันหรือปัญหาสังคม แต่เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ภายในครอบครัว ส่วนใหญ่เป็นปัญหาในเรื่องความรัก ตัวละครเป็นแบบตายตัวจดจำได้ง่าย สุขนาฏกรรมของเพลาตุสเป็นแบบตลกจากสถานการณ์ (Farce) เช่น การผิดฝาผิดตัว ความเข้าใจผิดจากสถานการณ์ ไม่ใช่จากการพัฒนาตัวละคร บทสนทนาส่วนใหญ่มีไว้เพื่อร้อง  บทละครที่มีชื่อเสียงของเขาคือ The Menaechmi เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการเข้าใจผิด ที่เกิดขึ้นกับฝาแฝดคู่หนึ่ง ซึ่งเป็นลักษณะพื้นฐานที่พบในงานสุขนาฏกรรมของเขา\n</p>\n<p>\n<br />\n                หลังจากเพลาตุสนักเขียนสุขนาฏกรรมโรมันคนสำคัญต่อมาคือ เทอเรนส์ เหมือนกับเพลาตุสงานของเขาส่วนใหญได้รับต้นแบบมาจากกรีก แม้ว่าละครของเขาจะมีโครงเรื่องที่ซับซ้อนเหมือนกับของเพลาตุส แต่โครงเรื่องของเขาจัดวางอย่างระมัดระวังมากกว่าและบ่อยครั้งที่มีสองโครงเรื่องในบทเดียว แนวการเขียนของเขาเป็นอิสระ มีภาษาที่ดี มีความละเอียดอ่อนในการแสดงความรู้สึกมากกว่าของเพลาตุส  และไม่ได้ขยายจนเกินจริงเท่าเพลาตุส อาจกล่าวได้ว่าละครของเพลาตุสมีความเป็นละครมากกว่าของเทอเรนส์  อีกนัยหนึ่งก็คือละครของเพลาตุสก็เหมาะที่จะร้องในขณะที่บทละครของเทอเรนส์เหมาะที่จะพูดออกมา \n</p>\n<p>\n<br />\nในยุคกลาง (Middle Age) และยุคเรเนซองซ์ (Renaissance) บทละครของเทอเรนส์ได้รับการยกย่องมากกว่านักเขียนคนใดใดในยุคกรีกและโรมัน  จึงทำให้ละครของเขาเป็นต้นแบบในการเขียน  นอกจากนี้รูปแบบการเขียนละตินและเนื้อหาที่แฝงศีลธรรมทำให้งานเขียนของเขาเป็นที่ชื่นชอบในหมู่ครู อาจารย์ ตลอดจนนักวิชาการ </p>\n', created = 1716063552, expire = 1716149952, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:24567dc368e1766100f0c698d05160bd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ละครกรีก

รูปภาพของ uns30382


การละครและวัฒนธรรมในกรุงโรม 
                เมื่อเริ่มมีการละครนั้นชาวโรมันได้รับอิทธิพลอย่างมากจากกรีกเหมือนอย่างที่ได้รับในงานแขนงอื่นๆ เช่น งานสถาปัตยกรรมและรูปปั้นชาวโรมันได้ขอยืมลักษณะละครของกรีกมาใช้อย่างอิสระ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสุขนาฏกรรมแบบใหม่  (New Comedy) จากนี้ก็ได้พัฒนาไปสู่ลักษณะละครสุขนาฏกรรมชาวบ้าน (Popular Comedy) ในแบบเฉพาะของตัวเองในเวลาต่อมา

 

 


สุขนาฏกรรมชาวบ้าน (Popular Comedy) ในกรุงโรม 
                แม้ว่าในยุคสมัยของโรมันนั้นจะไม่ได้เป็นต้นกำเนิดของละครชั้นยอด ถึงกระนั้นชาวโรมันก็ได้พัฒนาสุขนาฏกรรมชาวบ้าน (Popular Comedy) มากมายหลากหลายประเภท ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการปรับมาจากการแสดงของชาวกรีก  สุขนาฏกรรมชาวบ้านนี้ได้รับความสนใจอย่างแพร่ หลายในทุกระดับสังคม ชั้น วรรณะ  นักประวัติศาสตร์หลายคนกล่าวไว้ว่า วัฒนธรรมของอเมริกันในช่วงศตวรรษที่ 20 ซึ่งมีการเติบโตอย่างสูงของสุขนาฏกรรมชาวบ้านไม่ว่าจะเป็น ภาพยนตร์ โทรทัศน์ คอนเสิร์ตนั้น มีความคล้ายกันอย่างมากกับวัฒนธรรมของชาวโรมัน ความบันเทิงของชาวโรมันมีความคล้ายคลึงกับปัจจุบัน เช่น การแข่งรถศึก (Chariot Racing) ขี่ม้า (Equestrian Performances) การต่อสู้ (Acrobatics)  มวยปล้ำ(Wrestling) สำหรับสถานที่ชมชาวโรมันได้สร้างสิ่งก่อสร้างพิเศษ คล้ายกับสนามฟุตบอลหรือเบสบอลในปัจจุบัน 600 ปีก่อนคริสกาล เดอร์ ซอร์คัส แมกซิมุส The Circus Maximus  สร้างที่โรมเพื่อการแข่งรถศึกแล้วก็มีการปรับรูปลักษณ์จนสามารถจุคนได้ถึง 60,000 ที่นั่ง โรงละครที่มีชื่อเป็นที่รู้จักของโรมคือ โคโลสเซียม (Colosseum) เป็นโรงละคร (Amphitheater) ที่สร้างขึ้นโดยชาวโรมันในศตวรรษที่ 80


                ชาวโรมันพัฒนาสุขนาฏกรรมชาวบ้านที่มีพื้นฐานมาจากละคร เช่น โรมันมาม คล้ายกับกรีกมาม เป็นการรวมกายกรรม เพลง และการเต้นเข้าไว้ด้วยกัน เป็นบทตลกสั้นๆที่ส่วนใหญ่สองแง่สองง่าม การแสดงที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของชาวโรมันที่เกิดขึ้นคือ แพนโทมาม (Pantomime) โรมันแพนโทมามนั้นต่างกันอย่างชัดเจนกับมามในยุคกรีก  โรมันมามใช้นักเต้นคนเดียว คอรัสคนเดียว ร่วมไปกับดนตรี ซึ่งสามารถกล่าวได้ว่าคล้ายๆกับบัลเล่ย์ในยุคปัจจุบัน นักแสดงโรมันแพนโทมามนี้ได้รับการสนับสนุนจากจักรพรรดิ์หรือขุนนางชั้นสูง


สุขนาฏกรรมของโรมัน


สุขนาฏกรรมของโรมันเป็นต้นแบบอย่างชัดเจนของละครตลกตามสถานการณ์ของตะวันตก (Western Situation Comedy) แม้ว่าการละครของโรมันจะรุ่งเรืองยาวนานเกือบ 7 ศตวรรษ แต่มีงานเขียนของนักเขียนบทแค่สามคนที่เหลือรอดมาจนปัจจุบันคือ นักเขียนบทละครสุขนาฏกรรม เพลาตุส (Plautus) และเทอเรนส์ (Terance)  และโศกนาฏกรรมของเซเนกา (Tragedies of Seneca)


เพลาตุส (Plautus) และเทอเรนส์ (Terance) 
                เพลาตุสเป็นคนที่มีชื่อเสียงที่สุดในบรรดานักเขียนบทสุขนาฏกรรมของโรมัน  จนได้รับสมญานามว่าเป็นปรมาจารณ์ของสุขนาฏกรรม (Master of Comedy) งานเขียนของเพลาตุสส่วนใหญ่นั้นได้พื้นมาจากสุขนาฏกรรมใหม่ของกรีก คือ ไม่มีคอรัส ไม่ใช่เรื่องที่เกี่ยวกันการเมืองปัจจุบันหรือปัญหาสังคม แต่เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ภายในครอบครัว ส่วนใหญ่เป็นปัญหาในเรื่องความรัก ตัวละครเป็นแบบตายตัวจดจำได้ง่าย สุขนาฏกรรมของเพลาตุสเป็นแบบตลกจากสถานการณ์ (Farce) เช่น การผิดฝาผิดตัว ความเข้าใจผิดจากสถานการณ์ ไม่ใช่จากการพัฒนาตัวละคร บทสนทนาส่วนใหญ่มีไว้เพื่อร้อง  บทละครที่มีชื่อเสียงของเขาคือ The Menaechmi เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการเข้าใจผิด ที่เกิดขึ้นกับฝาแฝดคู่หนึ่ง ซึ่งเป็นลักษณะพื้นฐานที่พบในงานสุขนาฏกรรมของเขา


                หลังจากเพลาตุสนักเขียนสุขนาฏกรรมโรมันคนสำคัญต่อมาคือ เทอเรนส์ เหมือนกับเพลาตุสงานของเขาส่วนใหญได้รับต้นแบบมาจากกรีก แม้ว่าละครของเขาจะมีโครงเรื่องที่ซับซ้อนเหมือนกับของเพลาตุส แต่โครงเรื่องของเขาจัดวางอย่างระมัดระวังมากกว่าและบ่อยครั้งที่มีสองโครงเรื่องในบทเดียว แนวการเขียนของเขาเป็นอิสระ มีภาษาที่ดี มีความละเอียดอ่อนในการแสดงความรู้สึกมากกว่าของเพลาตุส  และไม่ได้ขยายจนเกินจริงเท่าเพลาตุส อาจกล่าวได้ว่าละครของเพลาตุสมีความเป็นละครมากกว่าของเทอเรนส์  อีกนัยหนึ่งก็คือละครของเพลาตุสก็เหมาะที่จะร้องในขณะที่บทละครของเทอเรนส์เหมาะที่จะพูดออกมา 


ในยุคกลาง (Middle Age) และยุคเรเนซองซ์ (Renaissance) บทละครของเทอเรนส์ได้รับการยกย่องมากกว่านักเขียนคนใดใดในยุคกรีกและโรมัน  จึงทำให้ละครของเขาเป็นต้นแบบในการเขียน  นอกจากนี้รูปแบบการเขียนละตินและเนื้อหาที่แฝงศีลธรรมทำให้งานเขียนของเขาเป็นที่ชื่นชอบในหมู่ครู อาจารย์ ตลอดจนนักวิชาการ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 258 คน กำลังออนไลน์