img1.gif 

Postest

 

Homeผู้จัดทำPretestไฟฟ้าสถิตประจุไฟฟ้ากฎของคูลอมบ์สนามไฟฟ้า,จุดสะเทินEletrostaticsสนามไฟฟ้างานเคลื่อนประจุศักย์ของตัวนำการใช้ประโยชน์Postest

 

 

1. แท่งแก้วจะมีประจุ ไฟฟ้าบวก เมื่อแท่งแก้วถูกับผ้าไหม การที่แท่งแก้วเกิดประจุไฟฟ้าเพราะ

    ก.  ได้รับโปรตอน
    ข.  
    ได้รับอิเล็กตรอน
    ค.  
    สูญสียอิเล็กคตรอน
    ง.  
    ได้รับอิเล็กตรอนหรือสูญเสียอิเลคตรอน
     
2. เมื่อนำแท่งแก้วเข้าใกล้จานอิเล็กโตรสโคปแบบแผ่นโลหะ แผ่นโลหะจะกางออกจากกัน
    ก.  แท่งแก้วมีประจุบวก ประจุบนอิเล็กโตรสโคปเป็นประจุลบ
    ข.  
    แท่งแก้วมีประจุเป็นลบ ประจุบนอิเล็กโตรสโคปเป็นบวก
    ค.  
    แท่งแก้วมีประจุบวก ประจุบนอิเล็กโตรสโคปเป็นบวก
    ง.  
    แท่งแก้วไม่มีประจุ  ประจุบนอิเล็กโตรสโคปเป็นบวก
     
3. ทรงกลมโลหะ P มีประจุไฟฟ้าเป็น -4  หน่วยประจุ นำมาสัมผัสกับทรงกลมโลหะ Q ซึ่งมีประจุไฟฟ้า  +4  หน่วยประจุ  เมื่อนำทรงกลม  P  และ  Q  แยกออกจากกัน  จะเกิดประจุอะไรขึ้นที่ทรงกลมทั้งสอง

    ก.  P ประจุลบ Q ประจุบวก
    ข.  
    P ประจุลบ Q ประจุลบ
    ค.  
    P และ Q ประจุเป็นกลาง
    ง.  
    P ประจุบวก Q ประจุบวก
     

4. นำแท่งประจุลบมาวางใกล้แท่งโลหะ แต่ไม่สัมผัส ข้อความใดต่อไปนี้ ใช้อธิบายการเคลื่อนที่ประจุไฟฟ้าได้ดีที่สุด

    ก.  อิเล็กตรอนจากแท่งประจุลบกระโดดเข้าช่องว่างเข้าสู่แท่งโลหะ
    ข.  
    อิเล็กตรอนจากแท่งโลหะเคลื่อนที่จากปลาย P ไปยัง Q
    ค.  
    ประจุบวกในแท่งโลหะเคลื่อนที่จากปลาย Q ไปปลาย P
    ง.  
    ประจุบวกในแท่งโลหะเคลื่อนที่จากปลาย P ไปยัง Q
     

5. ประจุลบ 2 ประจุ วางห่างกันระยะหนึ่ง เมื่อเปลี่ยนประจุหนึ่งเป็นประจุบวก โดยขนาดของประจุไฟฟ้าเท่าเดิม ขนาดของแรงไฟฟ้าจะเป็นเท่าใด

    ก.  มากขึ้น
    ข.  
    เท่าเดิม
    ค.  
    น้อยลง
    ง.  
    เป็นศูนย์
     

6. จากการถูแก้วกับผ้าขนสัตว์ อิเล็กตรอนจากผ้าขนสัตว์ออกไป 105 อนุภาค ผ้าขนสัตว์จะมีประจุไฟฟ้าเป็นเท่าใด

    ก.  +1.6 X 10-24   คูลอมบ์
    ข.  
    -1.6  X  10-24  คูลอมบ์
    ค.  
    +1.6 X 10-14   คูลอมบ์
    ง.  
    -1.6   X  10-14  คูลอมบ์
     

7. อนุภาคโปรตอนและอนุภาคอิเลคตรอนอยู่ห่างกัน 2.0  เซนติเมตร สนามไฟฟ้าที่จุดห่างจากประจุทั้งสอง 1 เซนติเมตร มีค่าเป็นนิวตันต่อคูลอมบ์ได้เท่ากับ

    ก.  0.0
    ข.  
    1.44 X 10-5
    ค.  
    7.2 X 10-6
    ง.  
    3.6  X  10-6
     

8. โลหะทรงกลมกลวง มีรัศมีภายนอก  5.0 เซนติเมตร รัศมีภายใน  3.0 เซนติเมตร และมีประจุไฟฟ้าอยู่ 100.0 ไมโครคูลอมบ์ จะมีความเข้มสนามไฟฟ้าที่ผิวด้านใน เป็นกี่นิวตันต่อคูลอมบ์

    ก.  0.0
    ข.  
    9.0 X 108
    ค.  
    3.6 X  108
    ง.  
    1.0 X 109
     

9. จากโจทย์ข้อ  8  สนามไฟฟ้าที่ผิวนอกทรงกลมเป็นกี่นิวตันต่อคูลอมบ์

    ก.  0.0
    ข.  
    9.0 X 108
    ค.  
    3.6 X 108
    ง.  
    1.0 X 109
     

10. ทรงกลมเล็กๆ หนัก  นิวตัน ผูกติดกับเชือกเส้นเล็กๆ ยาว 10.0 เซนติเมตร และมีประจุไฟฟ้าขนาด คูลอมบ์ อยู่บนทรงกลมนั้น เมื่อมีสนามไฟฟ้าในแนวระดับขนาดหนี่งปรากฏว่าเชือกทำมุม 45 องศากับแนวดิ่ง ค่าสนามไฟฟ้านั้นเป็นกี่นิวตันต่อคูลอมบ์

    ก.  6.25 X 105
    ข.  
    4.0 X 10-11
    ค.  
    1.6 X 10-6
    ง.   
    8.5 X 106

11. การเคลื่อนที่ประจุไฟฟ้าใดๆ ภายในทรงกลมมีประจุไฟฟ้า งานไฟฟ้าจะมีค่าเท่าใด

    ก.  มากเมื่อเคลื่อนที่ออก
    ข.  
    มากเมื่อเคลื่อนที่เข้า
    ค.  
    เท่ากับศักย์ไฟฟ้า
    ง.  
    เป็นศูนย์
     

12. โลหะทรงกลมรัศมี 2.0 เซนติเมตร มีประจุสุทธิ 150.0 ไมโครคูลอมบ์ นำไปแตะกับวัตถุชิ้นหนึ่ง ซึ่งมีความจุไฟฟ้า 1 X 10-11 ฟารัด มีประจุไฟฟ้าอยู่ -40.0 ไมโครคูลอมบ์ เมื่อแยกวัตถุกับทรงกลมจะเหลือประจุไฟฟ้ากี่ไมโครคูลอมบ์

    ก.  150.0
    ข.  
    110..0
    ค.   
    90.0
    ง.   
    20.0
     

13. เมื่อแผ่นฟิล์มในเครื่องถ่ายเอกสารทำให้บริเวณได้รับแสงมีสภาพทางไฟฟ้าอย่างไร

    ก.  เป็นตัวนำ
    ข.  
    เป็นฉนวน
    ค.  
    เป็นกลาง
    ง.  
    มีประจุไฟฟ้า
     

14. เครื่องกำจัดฝุ่นและเครื่องฟอกอากาศเมื่อใช้งานจะทำให้เกิดสนามไฟฟ้าที่มีความเข้มสูงมาก เพื่อเหตุผลใด

    ก.  เพื่อทำให้ฝุ่นละอองมีประจุเป็นลบ และถูกดูดเข้าไปในถังเก็บฝุ่นโดยประจุบวก
    ข.  
    เพื่อทำให้ฝุ่นละอองมีประจุเป็นบวกและถูกดูดเข้าไปในถังเก็บฝุ่นโดยปาระจุลบ
    ค.  
    เพื่อทำให้อนุภาคเป็นประจุบวกและถูกผลักออกโดยแกนกลางของเครื่องกำจัดฝุ่น
    ง.  
    เพื่อทำให้ฝุ่นละอองมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า

     



 

 

 จำนวนผู้เข้าใช้งาน
ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2550

thaigoodview.com Version 13.0
บริหารและจัดการโดยทีมงานชาวมัธยมศึกษาและประถมศึกษา
e-mail: webmaster@thaigoodview.com

จัดทำโดย ครูสุทธิรัตน์  ศรีสงคราม  ครูกลยุทธ  ทะกอง  ครูนิรมล  เสือเขียว
ภาควิชาฟิสิกส์  มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
Copyright (c) Faculty of Science Naresuan University All rights reserved.