• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:750ce100608083c8e6b0958c2f3fb0cc' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>                                                    <img height=\"44\" width=\"109\" src=\"/files/u50096/305.gif\" border=\"0\" />     <strong>ชนิดของกาแล็กซี</strong><br />\n        <strong>ฮับเบิล(Hubble)</strong> นักดาราศาสตร์แห่งหอสังเกตการณ์เมาท์วิลสัน (Mount Wilson Observatory) ได้ศึกษาและจำแนกออกเป็น 3 ประเภท คือ<br />\n       <strong>1. กาแล็กซีแบบทรงรี (Elliptical Galaxy) </strong>กาแล็กซีที่พบจำนวนมากนั้น นักดาราศาสตร์พบว่ามีรูปร่างแบบทรงรี ซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดมีมวลประมาณ 1013 เท่าของมวลของดวงอาทิตย์ และมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 105 พาร์เซก กาแล็กซีแบบทรงรีขนาดยักษ์ (Giant Elliptical)ดังกล่าวนี้ <br />\nค่อนข้างจะหายาก แต่ที่พบมากที่สุดได้แก่ กาแล็กซีขนาดเล็ก (Dwarf Elliptical)  ซึ่งมีมวลประมาณ 2.3 ล้านเท่าของดวงของดวงอาทิตย์ <br />\nและมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2000 พาร์เซค <br />\n                                                             <img height=\"107\" width=\"200\" src=\"/files/u50096/014.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 263px; height: 133px\" /><br />\n                                                    ที่มา : <a href=\"http://www.mwit.ac.th/~astronomy/astro_m4/lesson7.ppt\">www.mwit.ac.th/~astronomy/astro_m4/lesson7.ppt</a>         <br />\n<strong>             2. กาแล็กซีแบบกังหัน (Spiral Galaxy) </strong>กาแล็กซีแบบนี้ พบว่าประกอบด้วย บริเวณใจกลางที่มีดาวอยู่รวมกันหนาแน่น เรียกว่า<br />\n ”นิวเคลียส (Nucleus)” และมีแขนยื่นม้วนออกไปในลักษณะกังหัน (Spiral) ทั้งนิวเคลียส และแขนกังหัน ประกอบขึ้นจากดาวฤกษ์ ฝุ่นและก๊าซ<br />\n                                                              <img height=\"118\" width=\"250\" src=\"/files/u50096/015.jpg\" border=\"0\" /><br />\n                                                  ที่มา : <a href=\"http://static.howstuffworks.com/gif/milky-way-galaxy-400×360.jpg\">http://static.howstuffworks.com/gif/milky-way-galaxy-400×360.jpg</a><br />\n<strong>     3. กาแล็กซีแบบรูปร่างไม่ปกติ (Irregular Galaxy)</strong><br />\n          กาแล็กซีแบบรูปร่างไม่ปกติ (Irregular Galaxy)กาแล็กซีที่ค้นพบทั้งหมด พบว่ามีจำนวนประมาณ 2.3 % ที่มีรูปร่างไม่แน่นอน ซึ่งไม่อาจ<br />\nจัดได้ว่าเป็นแบบทรงรีหรือแบบกังหันปกติได้ <br />\n                                                        <img height=\"291\" width=\"350\" src=\"/files/u50096/016.jpg\" border=\"0\" /><br />\n                                                    ที่มา : <a href=\"http://static.howstuffworks.com/gif/milky-way-galaxy-400×360.jpg\">http://static.howstuffworks.com/gif/milky-way-galaxy-400×360.jpg</a><br />\n            <img height=\"27\" width=\"324\" src=\"/files/u50096/222.gif\" border=\"0\" /><img height=\"27\" width=\"324\" src=\"/files/u50096/222.gif\" border=\"0\" /></p>\n', created = 1715332346, expire = 1715418746, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:750ce100608083c8e6b0958c2f3fb0cc' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดาราศาสตร์

                                                         ชนิดของกาแล็กซี
        ฮับเบิล(Hubble) นักดาราศาสตร์แห่งหอสังเกตการณ์เมาท์วิลสัน (Mount Wilson Observatory) ได้ศึกษาและจำแนกออกเป็น 3 ประเภท คือ
       1. กาแล็กซีแบบทรงรี (Elliptical Galaxy) กาแล็กซีที่พบจำนวนมากนั้น นักดาราศาสตร์พบว่ามีรูปร่างแบบทรงรี ซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดมีมวลประมาณ 1013 เท่าของมวลของดวงอาทิตย์ และมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 105 พาร์เซก กาแล็กซีแบบทรงรีขนาดยักษ์ (Giant Elliptical)ดังกล่าวนี้
ค่อนข้างจะหายาก แต่ที่พบมากที่สุดได้แก่ กาแล็กซีขนาดเล็ก (Dwarf Elliptical)  ซึ่งมีมวลประมาณ 2.3 ล้านเท่าของดวงของดวงอาทิตย์
และมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2000 พาร์เซค
                                                            
                                                    ที่มา : www.mwit.ac.th/~astronomy/astro_m4/lesson7.ppt         
             2. กาแล็กซีแบบกังหัน (Spiral Galaxy) กาแล็กซีแบบนี้ พบว่าประกอบด้วย บริเวณใจกลางที่มีดาวอยู่รวมกันหนาแน่น เรียกว่า
 ”นิวเคลียส (Nucleus)” และมีแขนยื่นม้วนออกไปในลักษณะกังหัน (Spiral) ทั้งนิวเคลียส และแขนกังหัน ประกอบขึ้นจากดาวฤกษ์ ฝุ่นและก๊าซ
                                                             
                                                  ที่มา : http://static.howstuffworks.com/gif/milky-way-galaxy-400×360.jpg
     3. กาแล็กซีแบบรูปร่างไม่ปกติ (Irregular Galaxy)
          กาแล็กซีแบบรูปร่างไม่ปกติ (Irregular Galaxy)กาแล็กซีที่ค้นพบทั้งหมด พบว่ามีจำนวนประมาณ 2.3 % ที่มีรูปร่างไม่แน่นอน ซึ่งไม่อาจ
จัดได้ว่าเป็นแบบทรงรีหรือแบบกังหันปกติได้
                                                       
                                                    ที่มา : http://static.howstuffworks.com/gif/milky-way-galaxy-400×360.jpg
           

สร้างโดย: 
ดรุณี เสมอภาค / พัชรี วิเศษชาติ

สุดยอด

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 337 คน กำลังออนไลน์