• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '3.135.212.67', 0, 'd31672fbf930ef1a67fa6e85341e5619', 124, 1717426486) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:008f3661ac72c09c0d0a4f60e8637ee2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong><span style=\"color: #cc99ff\"></span></strong><strong><span style=\"color: #cc99ff\"></span></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #00ccff\"><a href=\"/node/89439\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/1.jpg\" alt=\"ฉบับที่1\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/89441\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/2.jpg\" alt=\"ฉบับที่2\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/89442\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/03.jpg\" alt=\"ฉบับที่3\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75747\"></a><a href=\"/node/89444\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/04.jpg\" alt=\"ฉบับที่4\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75742\"></a></span></span><span style=\"color: #000000\"> </span>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #00ccff\"><a href=\"/node/75747\"><span style=\"color: #000000\"></span></a></span></span><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #00ccff\"></span></span><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #00ccff\"></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/75754\"><span style=\"color: #000000\"></span></a><a href=\"/node/89447\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/05.jpg\" alt=\"ฉบับที่5\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/89448\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u44341/06.jpg\" alt=\"ฉบับที่6\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/75759\"></a> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"14\" width=\"364\" src=\"/files/u44341/f86.gif\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p>\n</p></div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"83\" width=\"309\" src=\"/files/u44341/4-2.jpg\" alt=\"ฉบับที่4\" border=\"0\" />\n</div>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\">ฉบับที่ 4 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490</span></strong>\n</p>\n<p>\n    <span style=\"color: #ffcc00\"> <strong>ด้วยคณะรัฐประหารอ้างว่า ประเทศชาติตกอยู่ในภาวะวิกฤติการณ์ ประชาชนได้รับความเดือดร้อน เพราะเครื่องอุปโภคบริโภคมีราคาสูงขึ้นเป็นอันมาก เป็นเหตุให้เกิดความเสื่อมโทรมในศีลธรรมอย่างไม่เคยมีมาแต่ก่อน รัฐบาลและรัฐสภาไม่สามารถแก้ไขให้กลับสู่ภาวะปกติได้จึงจำต้องให้เลิกใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489 และประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2490 ขึ้นแทน เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2490 รวมจำนวน 98 มาตรา โดยมีลักษณะเป็นรัฐธรรมนูญชั่วคราว และต่อมา รัฐธรรมนูญฉบับนี้ก็ถูกยกเลิกอย่าง&quot;สันติ&quot; เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2492 โดยการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ รวมอายุการประกาศและบังคับใช้ 1 ปี 4 เดือน 14 วัน ระหว่าง 1 ปี 4 เดือน 14 วัน</strong></span>\n</p>\n<p>\n<strong>     <span style=\"color: #00ccff\">รัฐธรรมนูญของคณะรัฐประหารฉบับนี้ มีอีกชื่อหนึ่งว่ารัฐธรรมนูญฉบับ &quot;ใต้ตุ่ม&quot; หรือ &quot;ตุ่มแดง&quot; เนื่องจากก่อนหน้านั้น พลโท หลวงกาจสงคราม (กาจ เก่งระดมยิง) รองหัวหน้าคณะรัฐประหาร ซึ่งมีส่วนอย่างสำคัญในการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้แล้วนำไปเก็บซ่อนไว้ใต้ตุ่มน้ำเพราะเกรงว่าความจะแตกถ้าหากมีใครมาพบเข้า</span></strong>\n</p>\n<p>\n        \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"337\" width=\"250\" src=\"/files/u44341/Keng.jpg\" alt=\"พลโท หลวงกาจสงคราม\" border=\"0\" style=\"width: 212px; height: 200px\" /> \n</div>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\">พลโท หลวงกาจสงคราม</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #99cc00\">ที่มา : <a href=\"http://www.rta.mi.th/21000u/aboutus/history_commanders/09.HTM\"><span style=\"color: #99cc00\"><u>http://www.rta.mi.th/21000u/aboutus/history_commanders/09.HTM</u></span></a></span></strong><br />\n<strong>   </strong>\n</p>\n<p>\n<strong>  <span style=\"color: #ff99cc\">หลักการสำคัญ<br />\n </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 1) มี คณะอภิรัฐมนตรี จำนวน 5 คน ทำหน้าที่บริหารราชการในพระองค์ และถวายคำปรึกษาแก่พระมหากษัตริย์ โดยตั้งใจจะให้เป็นผู้ควบคุมคณะรัฐมนตรีอีกชั้นหนึ่ง</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 2) ยกเลิกเสรีภาพในการจัดตั้งพรรคการเมือง</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 3) ใช้ระบบ 2 สภา โดย วุฒิสภา (ถูกนำมาใช้เป็นครั้งแรก เพื่อแทนคำว่า พฤฒสภา) ประกอบด้วยสมาชิกที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง โดยไม่ห้ามข้าราชการประจำเป็นสมาชิกวุฒิสภา ซึ่งมีกำหนดวาระ 6 ปี และโดย สภาผู้แทน มาจากการเลือกตั้งโดยตรง แบบรวมเขตจังหวัด คือถือเอาเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง มีกำหนดวาระ 4 ปี อันมีสมาชิกจำนวนเท่ากันทั้งสองสภา </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 4) เพิ่มอำนาจวุฒิสภา โดยให้สมาชิกวุฒิสภาเสนอร่างพระราชบัญญัติได้ แต่ต้องเสนอต่อสภาผู้แทนก่อน และในกรณีที่มีการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ให้ประธานวุฒิสภาเป็นประธานของที่ประชุม และให้ประธานสภาผู้แทนเป็นรองประธาน</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 5) คณะรัฐมนตรี ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีอีก 15-25 คน รัฐมนตรีผู้ได้รับการแต่งตั้งให้ว่าการกระทรวง ต้องรับผิดชอบในหน้าที่ของตนต่อรัฐสภา และต้องรับผิดชอบร่วมกันในนโยบายทั่วไปของคณะรัฐมนตรีด้วย </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 6) นโยบายของคณะรัฐมนตรีแต่ละคนที่ได้ดำเนินมาจะเสร็จลง หรือ ที่ดำเนินการอยู่เพียงใดก็ตาม คณะรัฐมนตรีที่จะเข้าบริหารราชการแผ่นดินภายหลังจะเลิกล้ม หรือ แก้ไขให้เป็นไปอย่างอื่นมิได้ เว้นแต่จะเสนอขอรับพระบรมราชวินิจฉัย และได้รับพระบรมราชานุญาตแล้วเท่านั้นทั้งนี้เพื่อจะให้เป็นอำนาจของคณะอภิรัฐมนตรีในการถวายคำปรึกษา</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 7) รัฐมนตรีทั้งคณะต้องลาออกจากตำแหน่งเมื่อมีพระบรมราชโองการ โดยไม่บัญญัติว่าใครเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 8) ไม่มีบทบัญญัติถึงคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 9) กำหนดให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร สภาร่างรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วยสมาชิก 40 คน ซึ่งรัฐสภาเลือกตั้งจากสมาชิกวุฒิสภา 10 คน จากสมาชิกสภาผู้แทน 10 คน จากผู้มีคุณสมบัติต่างๆ กัน 4 ประเภทๆ ละ 5 คน ทำการร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน 180 วัน</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>     <span style=\"color: #99cc00\">เนื่องจากรัฐธรรมนูญฉบับนี้ แก้ไขได้โดยง่าย โดยอาศัยเสียงข้างมากของรัฐสภา ฉะนั้น ภายหลังจากที่ประกาศใช้ไม่ถึง 1 ปี จึงถูกแก้ไขเพิ่มเติมถึง 3 ครั้ง กล่าวคือ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2490 แก้ไขคุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกตั้ง โดยกำหนดอายุผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ไม่ต่ำกว่า 35 ปี และให้พระบรมวงศานุวงศ์สามารถสมัครรับเลือกตั้งได้ ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2491 แก้ไขกำหนดเวลา ในการประกาศใช้ รัฐธรรมนูญ ฉบับถาวรและวิธีการร่างรัฐธรรมนูญโดยกำหนดให้มีการจัดตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญ และร่างให้แล้วเสร็จภายใน 180 วัน นับแต่วันเลือกตั้งสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญเสร็จสิ้น ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2491 แก้ไขให้สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ มีเอกสิทธิ์และคุ้มกันเช่นเดียวกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</span></strong>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/84777\"></a></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"82\" width=\"150\" src=\"/files/u31262/icon_home.jpg\" alt=\"หน้าแรก\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n', created = 1717426536, expire = 1717512936, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:008f3661ac72c09c0d0a4f60e8637ee2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฉบับที่4

ฉบับที่1ฉบับที่2ฉบับที่3ฉบับที่4 

ฉบับที่5 ฉบับที่6 

 

ฉบับที่4

ฉบับที่ 4 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490

     ด้วยคณะรัฐประหารอ้างว่า ประเทศชาติตกอยู่ในภาวะวิกฤติการณ์ ประชาชนได้รับความเดือดร้อน เพราะเครื่องอุปโภคบริโภคมีราคาสูงขึ้นเป็นอันมาก เป็นเหตุให้เกิดความเสื่อมโทรมในศีลธรรมอย่างไม่เคยมีมาแต่ก่อน รัฐบาลและรัฐสภาไม่สามารถแก้ไขให้กลับสู่ภาวะปกติได้จึงจำต้องให้เลิกใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489 และประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2490 ขึ้นแทน เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2490 รวมจำนวน 98 มาตรา โดยมีลักษณะเป็นรัฐธรรมนูญชั่วคราว และต่อมา รัฐธรรมนูญฉบับนี้ก็ถูกยกเลิกอย่าง"สันติ" เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2492 โดยการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ รวมอายุการประกาศและบังคับใช้ 1 ปี 4 เดือน 14 วัน ระหว่าง 1 ปี 4 เดือน 14 วัน

     รัฐธรรมนูญของคณะรัฐประหารฉบับนี้ มีอีกชื่อหนึ่งว่ารัฐธรรมนูญฉบับ "ใต้ตุ่ม" หรือ "ตุ่มแดง" เนื่องจากก่อนหน้านั้น พลโท หลวงกาจสงคราม (กาจ เก่งระดมยิง) รองหัวหน้าคณะรัฐประหาร ซึ่งมีส่วนอย่างสำคัญในการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้แล้วนำไปเก็บซ่อนไว้ใต้ตุ่มน้ำเพราะเกรงว่าความจะแตกถ้าหากมีใครมาพบเข้า

        

พลโท หลวงกาจสงคราม 

พลโท หลวงกาจสงคราม

ที่มา : http://www.rta.mi.th/21000u/aboutus/history_commanders/09.HTM
   

  หลักการสำคัญ
 

 1) มี คณะอภิรัฐมนตรี จำนวน 5 คน ทำหน้าที่บริหารราชการในพระองค์ และถวายคำปรึกษาแก่พระมหากษัตริย์ โดยตั้งใจจะให้เป็นผู้ควบคุมคณะรัฐมนตรีอีกชั้นหนึ่ง

 2) ยกเลิกเสรีภาพในการจัดตั้งพรรคการเมือง

 3) ใช้ระบบ 2 สภา โดย วุฒิสภา (ถูกนำมาใช้เป็นครั้งแรก เพื่อแทนคำว่า พฤฒสภา) ประกอบด้วยสมาชิกที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง โดยไม่ห้ามข้าราชการประจำเป็นสมาชิกวุฒิสภา ซึ่งมีกำหนดวาระ 6 ปี และโดย สภาผู้แทน มาจากการเลือกตั้งโดยตรง แบบรวมเขตจังหวัด คือถือเอาเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง มีกำหนดวาระ 4 ปี อันมีสมาชิกจำนวนเท่ากันทั้งสองสภา

 4) เพิ่มอำนาจวุฒิสภา โดยให้สมาชิกวุฒิสภาเสนอร่างพระราชบัญญัติได้ แต่ต้องเสนอต่อสภาผู้แทนก่อน และในกรณีที่มีการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ให้ประธานวุฒิสภาเป็นประธานของที่ประชุม และให้ประธานสภาผู้แทนเป็นรองประธาน

 5) คณะรัฐมนตรี ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีอีก 15-25 คน รัฐมนตรีผู้ได้รับการแต่งตั้งให้ว่าการกระทรวง ต้องรับผิดชอบในหน้าที่ของตนต่อรัฐสภา และต้องรับผิดชอบร่วมกันในนโยบายทั่วไปของคณะรัฐมนตรีด้วย

 6) นโยบายของคณะรัฐมนตรีแต่ละคนที่ได้ดำเนินมาจะเสร็จลง หรือ ที่ดำเนินการอยู่เพียงใดก็ตาม คณะรัฐมนตรีที่จะเข้าบริหารราชการแผ่นดินภายหลังจะเลิกล้ม หรือ แก้ไขให้เป็นไปอย่างอื่นมิได้ เว้นแต่จะเสนอขอรับพระบรมราชวินิจฉัย และได้รับพระบรมราชานุญาตแล้วเท่านั้นทั้งนี้เพื่อจะให้เป็นอำนาจของคณะอภิรัฐมนตรีในการถวายคำปรึกษา

 7) รัฐมนตรีทั้งคณะต้องลาออกจากตำแหน่งเมื่อมีพระบรมราชโองการ โดยไม่บัญญัติว่าใครเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ

 8) ไม่มีบทบัญญัติถึงคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ

 9) กำหนดให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร สภาร่างรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วยสมาชิก 40 คน ซึ่งรัฐสภาเลือกตั้งจากสมาชิกวุฒิสภา 10 คน จากสมาชิกสภาผู้แทน 10 คน จากผู้มีคุณสมบัติต่างๆ กัน 4 ประเภทๆ ละ 5 คน ทำการร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายใน 180 วัน

     เนื่องจากรัฐธรรมนูญฉบับนี้ แก้ไขได้โดยง่าย โดยอาศัยเสียงข้างมากของรัฐสภา ฉะนั้น ภายหลังจากที่ประกาศใช้ไม่ถึง 1 ปี จึงถูกแก้ไขเพิ่มเติมถึง 3 ครั้ง กล่าวคือ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2490 แก้ไขคุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกตั้ง โดยกำหนดอายุผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ไม่ต่ำกว่า 35 ปี และให้พระบรมวงศานุวงศ์สามารถสมัครรับเลือกตั้งได้ ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2491 แก้ไขกำหนดเวลา ในการประกาศใช้ รัฐธรรมนูญ ฉบับถาวรและวิธีการร่างรัฐธรรมนูญโดยกำหนดให้มีการจัดตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญ และร่างให้แล้วเสร็จภายใน 180 วัน นับแต่วันเลือกตั้งสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญเสร็จสิ้น ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2491 แก้ไขให้สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ มีเอกสิทธิ์และคุ้มกันเช่นเดียวกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

หน้าแรก

สร้างโดย: 
นายธานินทร์ พร้อมสุข และ นางสาวภาชินี ผลงามเนตรอรุณ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 631 คน กำลังออนไลน์