• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:bf123201f409c56ee0c583dd1fb52ce7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40564/k5.gif\" width=\"404\" height=\"400\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40564/pro.gif\" width=\"498\" height=\"70\" /> \n</p>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #800080\">สมัยบาโรก  Baroque” มาจากคำว่า “Barroco” ในภาษาโปรตุเกสซึ่งหมายถึง “ ไข่มุกที่มี</span><br />\n<span style=\"color: #800080\"><br />\nสัณฐานเบี้ยว” (Irregularly shaped pearl)</span><br />\n</span>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u40564/5111.jpg\" width=\"214\" height=\"309\" /><span style=\"color: #800080\"> <br />\n</span>\n</div>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\">Jacob Burckhardt เป็นคนแรกที่ใช้คำนี้เรียกสไตล์ของงานสถาปัตยกรรมและจิตรกรรมใน<br />\nคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่เต็มไปด้วยการตกแต่งประดับประดาและให้ความรู้สึกอ่อนไหว<br />\n( ไขแสง ศุขวัฒนะ,2535:96)\n<p>ในด้านดนตรี ได้มีผู้นำคำนี้มาใช้เรียกสมัยของดนตรีที่เกิดขึ้นในยุโรป เริ่มตั้งแต่ต้นคริสต์<br />\nศตวรรษที่ 17 และมาสิ้นสุดลงราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเป็นเวลาร่วม 150 ปี เนื่องจาก<br />\nสมัยบาโรกเป็นสมัยที่ยาวนานรูปแบบของเพลงจึงมีการเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา อย่างไรก็<br />\nตามรูปแบบของเพลงที่สามารถกล่าวได้ว่าเป็นลักษณะเด่นที่สุดของดนตรี<br />\nบาโรกได้ปรากฏในบทประพันธ์ของ เจ. เอส. บาคและยอร์ช ฟริเดริค เฮนเดล ซึ่งคีตกวีทั้ง<br />\nสองนี้ได้แต่งขึ้นในช่วงเวลาครึ่งแรกของศตวรรษที่ 18 ในตอนต้นสมัยบาโรกคีตกวีส่วนมากได้<br />\nเลิกนิยมสไตล์โพลี่โฟนี (Polyphony) ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ซึ่งแนวขับร้องแต่ละแนวในบท<br />\nเพลงต่างมีความสำคัญทัดเทียมกันและหันมาสนใจสไตล์โมโนดี (Monody) ซึ่งในบทเพลงจะ<br />\nมีแนวขับร้องเพียงแนวเดียวดำเนินทำนอง และมีแนวสำคัญที่เรียกในภาษาอิตาเลี่ยนว่า “ เบส<br />\nโซคอนตินิวโอ (Basso Continuo)” ทำหน้าที่เสียงคลอเคลื่อนที่ตลอดเวลาประกอบ ทำให้เกิด<br />\nคอร์ดขึ้นมา อย่างไรก็ตามคีตกวีรุ่นต่อมาก็มิได้เลิกสไตล์โฟลี่โฟนีเสียเลยทีเดียวหากยังให้ไป<br />\nปรากฏในดนตรีคีย์บอร์ดในแบบแผนของฟิวก์ (Fugue) ออร์แกนโคราล (Organchorale)<br />\nตลอดจนทอคคาตา (Toccata) ซึ่งแต่งโดยใช้เทคนิค เคาน์เตอร์พอยท์ (Counterpoint)<br />\nในสมัยบาโรก ดนตรีศาสนาในแบบแผนต่าง ๆ เช่น ออราทอริโอ แมส พาสชัน คันตาตา<br />\nในศาสนา (Church Cantata) คีตกวีก็นิยมแต่งกันไว้มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ แมสใน บี ไม<br />\nเนอร์” ของ เจ. เอส. บาค และออราทอริโอ เรื่อง “The Messiah” ของเฮนเดล จัดได้ว่าเป็น<br />\nดนตรีศาสนาที่เด่นที่สุดของสมัยนี้<br />\nลักษณะสำคัญอีกอย่างหนึ่งของดนตรีสมัยบาโรกคือ การทำให้เกิด “ ความตัดกัน”<br />\n(Contrasting) เช่น ในด้าน ความเร็ว – ความช้า ความดัง – ความค่อย การบรรเลงเดี่ยว –<br />\nการบรรเลงร่วมกัน วิธีเหล่านี้พบในงานประเภท ตริโอโซนาตา (Trio Sonata) คอนแชร์โต<br />\nกรอซโซ (Concerto Grosso) ซิมโฟเนีย (Simphonia) และคันตาตา (Cantata) ตลอดสมัย<br />\nนี้คีตกวีมิได้เขียนบทบรรเลงส่วนใหญ่ของเขาขึ้นอย่างครบบริบูรณ์ ทั้งนี้เพราะเขาต้องการให้<br />\nผู้บรรเลงมีโอกาสแสดงความสามารถการเล่นโดยอาศัยคีตปฏิภาณหรือการด้นสด<br />\n(Improvisation) และการประดิษฐ์เม็ดพราย (Ornamentation) ในแนวของตนเอง<br />\nในสมัยบาโรกนี้การบันทึกตัวโน้ตได้รับการพัฒนามาจนเป็นลักษณะการบันทึกตัวโน้ตที่ใช้ใน<br />\nปัจจุบัน คือการใช้บรรทัด 5 เส้น การใช้กุญแจซอล (G Clef) กุญแจฟา (F Clef) กุญแจอัลโต<br />\nและกุญแจเทเนอร์ (C Clef) มีการใช้สัญลักษณ์ตัวโน้ตและตัวหยุดแทนความยาวของจังหวะ<br />\nและตำแหน่งของตัวโน้ตบรรทัด 5 เส้น แทนระดับเสียงและยังมีตัวเลขบอกอัตราจังหวะมีเส้น<br />\nกั้นห้องและสัญลักษณ์อื่น ๆ เพื่อใช้บันทึกลักษณะของเสียงดนตรี ดังนี้<br />\n( ณรุทธ์ สุทธจิตต์,2535: 147)</p></span>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u40564/5222.gif\" width=\"519\" height=\"467\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><br />\n<br />\nอย่างไรก็ตามลักษณะทั่วไปของดนตรีสมัยบาโรก สามารถสรุปกว้าง ๆ ได้ดังนี้</span><br />\n<span style=\"color: #800080\"><br />\n( อนรรฆ จรัณยานนท์ , ม . ป . ป . :56)</span></p>\n<p>1. เริ่มนิยมใช้สื่อที่ต่างกันตอบโต้กัน เช่น เสียงนักร้องกับเครื่องดนตรี<br />\nการบรรเลงเดี่ยวตอบโต้กับการบรรเลงเป็นกลุ่ม<br />\n2. นิยมใช้เบสเป็นทั้งทำนองและแนวประสาน เรียกว่า Basso Continuo<br />\nและมีวิธีบันทึกเรียกว่า Figured bass<br />\n3. เริ่มมีการประสานเสียงแบบ Homophony ซึ่งเป็นการประสานเสียงแบบอิงคอร์ด<br />\nและหลายแนวหนุนแนวเดียวให้เด่น<br />\n4. นิยมใช้บันไดเสียงเมเจอร์ (Major) และไมเนอร์ (Minor) แทนโมด (Mode)<br />\n5. เคาน์เตอร์พอยท์ (Counterpoint) ยังคงเป็นคุณลักษณะเด่นของสมัยนี้อยู่ โฮโมโฟนี<br />\n(Homophony) มีบทบาทหนุนส่งให้ เคาน์เตอร์พอยท์ สมบูรณ์ยิ่งขึ้น<br />\n6. มีการระบุความเร็ว – ช้า และหนัก – เบา ลงไปในผลงานบ้าง เช่น adagio, andante และ allegro เป็นต้น<br />\n7. เทคนิคของการ Improvisation ได้รับความนิยมสูงสุด<br />\n8. มีคีตลักษณ์ (Form) ใหม่ ๆ เกิดขึ้นหลายแบบ<br />\n9. มีการจำแนกหมวดหมู่ของคีตนิพนธ์ และบัญญัติศัพท์ไว้เรียกชัดเจน<br />\n10. อุปรากร (Opera) ได้กำเนิดและพัฒนาขึ้นในสมัยนี้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u40564/5333.gif\" width=\"357\" height=\"436\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u40564/sk.gif\" width=\"587\" height=\"34\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/89229\"><img src=\"/files/u40564/b11.jpg\" width=\"291\" height=\"61\" /></a><a href=\"/node/89233\"><img src=\"/files/u40564/22.jpg\" width=\"291\" height=\"61\" /></a>\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/89234\"><img src=\"/files/u40564/33.jpg\" width=\"291\" height=\"61\" /></a><a href=\"/node/89235\"><img src=\"/files/u40564/44.jpg\" width=\"291\" height=\"61\" /></a>\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/86668\"><img src=\"/files/u40564/hh_0.jpg\" width=\"291\" height=\"61\" /></a><a href=\"/node/89238\"><img src=\"/files/u40564/b66.jpg\" width=\"291\" height=\"61\" /></a>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/89241\"><img src=\"/files/u40564/b77.jpg\" width=\"291\" height=\"61\" /></a><a href=\"/node/89244\"><img src=\"/files/u40564/b88.jpg\" width=\"291\" height=\"61\" /></a>\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/89246\"><img src=\"/files/u40564/99.jpg\" width=\"291\" height=\"61\" /></a><a href=\"/node/89247\"><img src=\"/files/u40564/100.jpg\" width=\"291\" height=\"61\" /></a>\n</p>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n', created = 1715865580, expire = 1715951980, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:bf123201f409c56ee0c583dd1fb52ce7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สมัยบาโรก

 

สมัยบาโรก  Baroque” มาจากคำว่า “Barroco” ในภาษาโปรตุเกสซึ่งหมายถึง “ ไข่มุกที่มี

สัณฐานเบี้ยว” (Irregularly shaped pearl)

 

 

 

Jacob Burckhardt เป็นคนแรกที่ใช้คำนี้เรียกสไตล์ของงานสถาปัตยกรรมและจิตรกรรมใน
คริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่เต็มไปด้วยการตกแต่งประดับประดาและให้ความรู้สึกอ่อนไหว
( ไขแสง ศุขวัฒนะ,2535:96)

ในด้านดนตรี ได้มีผู้นำคำนี้มาใช้เรียกสมัยของดนตรีที่เกิดขึ้นในยุโรป เริ่มตั้งแต่ต้นคริสต์
ศตวรรษที่ 17 และมาสิ้นสุดลงราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเป็นเวลาร่วม 150 ปี เนื่องจาก
สมัยบาโรกเป็นสมัยที่ยาวนานรูปแบบของเพลงจึงมีการเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา อย่างไรก็
ตามรูปแบบของเพลงที่สามารถกล่าวได้ว่าเป็นลักษณะเด่นที่สุดของดนตรี
บาโรกได้ปรากฏในบทประพันธ์ของ เจ. เอส. บาคและยอร์ช ฟริเดริค เฮนเดล ซึ่งคีตกวีทั้ง
สองนี้ได้แต่งขึ้นในช่วงเวลาครึ่งแรกของศตวรรษที่ 18 ในตอนต้นสมัยบาโรกคีตกวีส่วนมากได้
เลิกนิยมสไตล์โพลี่โฟนี (Polyphony) ในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ซึ่งแนวขับร้องแต่ละแนวในบท
เพลงต่างมีความสำคัญทัดเทียมกันและหันมาสนใจสไตล์โมโนดี (Monody) ซึ่งในบทเพลงจะ
มีแนวขับร้องเพียงแนวเดียวดำเนินทำนอง และมีแนวสำคัญที่เรียกในภาษาอิตาเลี่ยนว่า “ เบส
โซคอนตินิวโอ (Basso Continuo)” ทำหน้าที่เสียงคลอเคลื่อนที่ตลอดเวลาประกอบ ทำให้เกิด
คอร์ดขึ้นมา อย่างไรก็ตามคีตกวีรุ่นต่อมาก็มิได้เลิกสไตล์โฟลี่โฟนีเสียเลยทีเดียวหากยังให้ไป
ปรากฏในดนตรีคีย์บอร์ดในแบบแผนของฟิวก์ (Fugue) ออร์แกนโคราล (Organchorale)
ตลอดจนทอคคาตา (Toccata) ซึ่งแต่งโดยใช้เทคนิค เคาน์เตอร์พอยท์ (Counterpoint)
ในสมัยบาโรก ดนตรีศาสนาในแบบแผนต่าง ๆ เช่น ออราทอริโอ แมส พาสชัน คันตาตา
ในศาสนา (Church Cantata) คีตกวีก็นิยมแต่งกันไว้มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ แมสใน บี ไม
เนอร์” ของ เจ. เอส. บาค และออราทอริโอ เรื่อง “The Messiah” ของเฮนเดล จัดได้ว่าเป็น
ดนตรีศาสนาที่เด่นที่สุดของสมัยนี้
ลักษณะสำคัญอีกอย่างหนึ่งของดนตรีสมัยบาโรกคือ การทำให้เกิด “ ความตัดกัน”
(Contrasting) เช่น ในด้าน ความเร็ว – ความช้า ความดัง – ความค่อย การบรรเลงเดี่ยว –
การบรรเลงร่วมกัน วิธีเหล่านี้พบในงานประเภท ตริโอโซนาตา (Trio Sonata) คอนแชร์โต
กรอซโซ (Concerto Grosso) ซิมโฟเนีย (Simphonia) และคันตาตา (Cantata) ตลอดสมัย
นี้คีตกวีมิได้เขียนบทบรรเลงส่วนใหญ่ของเขาขึ้นอย่างครบบริบูรณ์ ทั้งนี้เพราะเขาต้องการให้
ผู้บรรเลงมีโอกาสแสดงความสามารถการเล่นโดยอาศัยคีตปฏิภาณหรือการด้นสด
(Improvisation) และการประดิษฐ์เม็ดพราย (Ornamentation) ในแนวของตนเอง
ในสมัยบาโรกนี้การบันทึกตัวโน้ตได้รับการพัฒนามาจนเป็นลักษณะการบันทึกตัวโน้ตที่ใช้ใน
ปัจจุบัน คือการใช้บรรทัด 5 เส้น การใช้กุญแจซอล (G Clef) กุญแจฟา (F Clef) กุญแจอัลโต
และกุญแจเทเนอร์ (C Clef) มีการใช้สัญลักษณ์ตัวโน้ตและตัวหยุดแทนความยาวของจังหวะ
และตำแหน่งของตัวโน้ตบรรทัด 5 เส้น แทนระดับเสียงและยังมีตัวเลขบอกอัตราจังหวะมีเส้น
กั้นห้องและสัญลักษณ์อื่น ๆ เพื่อใช้บันทึกลักษณะของเสียงดนตรี ดังนี้
( ณรุทธ์ สุทธจิตต์,2535: 147)



อย่างไรก็ตามลักษณะทั่วไปของดนตรีสมัยบาโรก สามารถสรุปกว้าง ๆ ได้ดังนี้


( อนรรฆ จรัณยานนท์ , ม . ป . ป . :56)

1. เริ่มนิยมใช้สื่อที่ต่างกันตอบโต้กัน เช่น เสียงนักร้องกับเครื่องดนตรี
การบรรเลงเดี่ยวตอบโต้กับการบรรเลงเป็นกลุ่ม
2. นิยมใช้เบสเป็นทั้งทำนองและแนวประสาน เรียกว่า Basso Continuo
และมีวิธีบันทึกเรียกว่า Figured bass
3. เริ่มมีการประสานเสียงแบบ Homophony ซึ่งเป็นการประสานเสียงแบบอิงคอร์ด
และหลายแนวหนุนแนวเดียวให้เด่น
4. นิยมใช้บันไดเสียงเมเจอร์ (Major) และไมเนอร์ (Minor) แทนโมด (Mode)
5. เคาน์เตอร์พอยท์ (Counterpoint) ยังคงเป็นคุณลักษณะเด่นของสมัยนี้อยู่ โฮโมโฟนี
(Homophony) มีบทบาทหนุนส่งให้ เคาน์เตอร์พอยท์ สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
6. มีการระบุความเร็ว – ช้า และหนัก – เบา ลงไปในผลงานบ้าง เช่น adagio, andante และ allegro เป็นต้น
7. เทคนิคของการ Improvisation ได้รับความนิยมสูงสุด
8. มีคีตลักษณ์ (Form) ใหม่ ๆ เกิดขึ้นหลายแบบ
9. มีการจำแนกหมวดหมู่ของคีตนิพนธ์ และบัญญัติศัพท์ไว้เรียกชัดเจน
10. อุปรากร (Opera) ได้กำเนิดและพัฒนาขึ้นในสมัยนี้

 


 

สร้างโดย: 
kazunari

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 298 คน กำลังออนไลน์