• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c57e5116d420303c1d8e738043a41949' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40564/k2.gif\" width=\"404\" height=\"400\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40564/pro.gif\" width=\"498\" height=\"70\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\">หลังจากกรีกเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรโรมัน ใน 146 ปี ก่อนคริสตศักราชอาณาจักรโรมัน<br />\nรับเอาวัฒนธรรมการดนตรีของกรีกไปทั้งหมด โดยมิได้มีการพัฒนารูปแบบของดนตรีไปสัก<br />\nเท่าไรนักยังคงใช้รูปแบบการร้องเสียง เดียว (Monophony) ซึ่งเรียกว่า เพลนซอง <br />\n(Plain Song) หรือแชนท์ (Chant) โดยมากแล้วแต่ละแห่งจะคำนึงถึงผลของการปฏิบัติ<br />\nมากกว่าที่จะยึดติดกับรูปแบบ ที่รับมาตายตัว<br />\nนักปราชญ์ทางดนตรีสมัยโรมันยึดทฤษฎีดนตรีของกรีกเป็นหลักแล้วนำมาผสมผสานกับ<br />\nทัศนะแบบ เฮเลนิสติค เช่น โพลตินุส (Plotinus 205-270 A.D.) และศิษย์ของเขาคนหนึ่งชื่อ <br />\nพอร์ฟีรี (Porphyry 233-304 A.D.) ก็ได้เผยแพร่สั่งสอนทฤษฎีแบบเพลโตนิคใหม่ <br />\n(Neo-Platonic) โพลตินุส ได้ย้ำถึงอำนาจที่ดนตรีมีต่อจิตใจและจรรยาธรรมของมนุษย์ <br />\nมีอำนาจในการชำระล้างจิตใจให้บริสุทธิ์ พาใจให้พบความสวยงามและความดีงาม <br />\nและในทางตรงกันข้ามดนตรีอาจมีอำนาจทำลายหากใช้ไปในทางที่ผิด ดังนั้นจึงได้มีความ<br />\nพยายามที่จะอนุรักษ์และกวดขันดนตรีที่ใช้ประกอบพิธีศาสนาและที่บรรเลงสำหรับการทหารในสมัยหลัง ๆ<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u40564/2111.jpeg\" width=\"473\" height=\"223\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\">การดนตรีได้เสื่อมลงมากเพราะถูกนำไปบรรเลงประกอบในโอกาส และสถานที่ซึ่งไม่เหมาะสม<br />\nและการจัดการบรรเลงดนตรีแบบโอ่อ่าก็ไม่เป็นที่สบ อารมณ์หมู่นักปราชญ์ทางดนตรีประเภท<br />\nอนุรักษ์นิยมเท่าใดนักเช่นการจัดแสดง ดนตรีวงมหึมา(Monter concert) ในสมัยของคารินุส<br />\n(Carinus 284 A.D.) ได้มีการบรรเลงดนตรีที่ประกอบด้วยทรัมเปต 100 ชิ้นแตร (Horn)<br />\n100 ชิ้น และเครื่องดนตรีอื่น ๆ อีก 200 ชิ้นถ้าจะกล่าวถึงชีวิตของนักดนตรีในสมัยนั้นก็พูด<br />\nได้ว่าคึกคักมากสมาคม สำหรับนักดนตรีอาชีพได้รับการจัดตั้งกันมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 7 ก่อน<br />\nคริสต์ศักราช มีบทบาทในการเรียกร้องสิทธิ์ให้แก่สมาชิกในรุ่นหลัง ๆ<br />\nเมื่อออกุสตุสได้ขึ้นครองราชย์แล้วก็ได้ตั้งสมาคมสำหรับดนตรีที่บรรเลงเพลงประกอบ<br />\nพิธีศาสนาและสำหรับงานของราชการด้วยนักแต่งเพลงผู้มีฝีมือก็ได้รับการอุปถัมภ์จาก<br />\nจักรพรรดิ เช่น การที่จักรพรรดิ์เนโรประทานวังให้แก่เมเนคราเตส (Menecrates) คีตกวีผู้มีชื่อ<br />\nคนหนึ่งของสมัยนั้น</span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u40564/2222.jpeg\" width=\"435\" height=\"129\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\">โดยสรุปแล้วโรมันเอาความรู้จากกรีกไปเผยแพร่และปรับปรุงดัดแปลงให้เข้า กับสภาพความ<br />\nเป็นจริงในขณะนั้นเพื่อใช้ปลุกใจประชาชนให้เกิดความเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกันซึ่งจะเป็นผลดี<br />\nต่อการปกครองอาณาจักรที่กว้างใหญ่\n<p>จากการค้นพบมรดกทางดนตรีจากแถบตะวันออกของทะเลเมดิเตอเรเนียนเมื่อครั้ง โบราณ <br />\nโดยเฉพาะจากกรีกโบราณผ่านโรมันเข้าสู่ยุโรปเปิดเผยให้เห็นถึงความรู้ดนตรี ที่มีค่ายิ่งเพราะ<br />\nทฤษฎีเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์แห่งเสียง (Acoustic) ที่กรีกปูทางไว้ให้หลายเรื่องเช่น <br />\nการกำหนดคุณสมบัติและจัดระเบียบของเสียง ระบบเสียงที่ก่อให้เกิดบันไดเสียงต่าง ๆ<br />\nหลักในการจัดหมวดหมู่ของลีลาหรือจังหวะ หลักเบื้องต้นในการประดิษฐ์เครื่องดนตรี<br />\nระบบการบันทึกสัญลักษณ์ทางดนตรีรวม ทั้งทำนองเพลงเก่า ๆ ที่สะสมไว้ล้วนมีผลดีต่อ<br />\nการพัฒนาดนตรีตะวันตกต่อไป</p></span><br />\n\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><b>บันไดเสียงโบราณ (Church Mode)  </b></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #800080\"><img src=\"/files/u40564/2333.gif\" width=\"488\" height=\"106\" /></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\">Grout Palisca และ ละเอียด เหราบัตย์ ได้กล่าวถึงบันไดเสียงโบราณ ไว้ว่า …<br />\nเพลงสวดแต่งขึ้นในระบบของบันไดเสียงโบราณที่เรียกตามหลักวิชาการดนตรีสากล ว่า<br />\n“ เชอร์ช โมด ” (Church Mode) บันไดเสียงโบราณนี้มีสองประเภท คือ<br />\n( ศิลปชัย กงตาล ,2542:50)</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"> <br />\n</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\">1. ออเธนติค เชอร์ช โมด (Authentic Church Mode) บันไดเสียงประเภทออเธนติคจะ<br />\nเริ่มต้นจากโน้ตขั้นแรกของบันไดเสียงมีชื่อเรียกโน้ตตัวเริ่มต้นนี้ว่า “ ฟินาลิส ” (Finalis)<br />\nฟินาลิสทำหน้าที่เหมือนคีย์โน้ต (Key Note) ในปัจจุบันคือเป็นศูนย์รวมของเสียงตามขั้นต่าๆ<br />\nของบันไดเสียงออเธนติคเชอร์ชโมด ประกอบด้วย 4 บันไดเสียง คือ</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\">1.1 โปรตุส ออเธนติคุส (Protus Authenticus) หรือ (Dorian) </span>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #800080\"></span></span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #800080\">เป็นบันไดเสียงที่เริ่มต้นจากโน้ต D-E-F-G-A-B-C-D หรือ เร – มี – ฟา – ซอล – ลา – ที – โด - เร</span> \n</p></div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #800080\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #800080\"><img src=\"/files/u40564/2444.gif\" width=\"486\" height=\"93\" /></span>\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><br />\n1.2 ดิวเตรุส ออเธนติคุส (Deuterus Authenticus) หรือ ฟรีเจียน (Phrygian) <br />\nเป็นบันไดเสียงที่เริ่มจากโน้ต E-F-G-A-B-C-D-E หรือ มี – ฟา – ซอล – ลา – ที – โด – เร - มี<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #800080\"><img src=\"/files/u40564/2555.gif\" width=\"495\" height=\"91\" /></span>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><br />\n1.3 ตรีตุส ออเธนติคุส (Tritus Authenticus) หรือ ลีเดียน (Lydian) เป็นบันไดเสียงที่เริ่ม<br />\nจากโน้ต F – G – A – B – C – D – E – F หรือ ฟา – ซอล – ลา – ที – โด – เร – มี – ฟา <br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><img src=\"/files/u40564/2666.gif\" width=\"492\" height=\"88\" /></span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><br />\n1.4 เตตราร์ดุส ออเธนติคุส (Tetardus Authenticus) หรือ มิกโซลีเดียน (Mixolydian)<br />\nเป็นบันไดเสียงที่เริ่มจากโน้ต G – A – B – C – D – E – F – G หรือ <br />\nซอล – ลา – ที – โด – เร – มี – ฟา – ซอล<br />\n</span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><img src=\"/files/u40564/2777.gif\" width=\"488\" height=\"93\" /></span> \n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\">2. <b>เพลกัล เชอร์ช โมด (Plagal Church Mode)</b> คือ บันไดเสียงโบราณที่เริ่มจากโน้ตที่<br />\nอยู่ต่ำลงมาจากโน้ตฟินาลิสของโมดออเธนติดในระยะขั้นคู่เสียงคู่ 4 บันไดเสียงโบราณ<br />\nในประเภทเพลกัลนี้มีอยู่เป็นคู่กับบันไดเสียง ออเธนติค โดยมีโน้ตฟินาลิส (Finalis) <br />\nตัวเดียวกับออเธนติคเชอร์ชโมด มีอยู่ 4 บันไดเสียง คือ<br />\n</span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><br />\n2.1 โปรตุช ปลากาลิส (Protus Plagalis) หรือ ไฮโปโดเรียน โมด (Hypo – Dorian Mode)<br />\nเป็นบันไดเสียงที่เริ่มจาก A – B – C – D – E – F – G – A หรือ<br />\nลา – ที – โด – เร – มี – ฟา – ซอล – ลา โดยมีโน้ต D เป็นตัวฟินาลิส (Finalis) <br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><br />\n</span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #800080\"><img src=\"/files/u40564/20000_0.gif\" width=\"492\" height=\"88\" /></span>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><br />\n2.2 ดิวเตรุส ปลากาลิส (Deuterus Plagalis) หรือ ไฮโปฟรีเจียน (Hypo - Phrygian) <br />\nเป็นบันไดเสียงที่เริ่มจาก B – C – D – E - F – G – A – B หรือ<br />\nที – โด – เร – มี – ฟา – ซอล – ลา – ที โดยมีโน้ตชื่อ E เป็นตัวฟินาลิส (Finalis)   <img src=\"/files/u40564/2999.gif\" width=\"487\" height=\"96\" /></span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><br />\n2.3 ตรีตุสปลากาลิส (Tritus Plagalis) หรือ ไฮโปลีเดียน (Hypo – Lydian) <br />\nเป็นบันไดเสียงที่เริ่มจาก C – D – E – F – G – A – B – C หรือ<br />\nโด – เร – มี – ฟา – ซอล – ลา – ที – โด โดยมีโน้ตชื่อ G เป็นตัวฟินาลิส (Finalis) <br />\n</span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><br />\n</span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><img src=\"/files/u40564/2100.gif\" width=\"493\" height=\"88\" /></span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><br />\n2.4 เตตราร์ดุส ปลากาลิส (Tetrardus Plagalis) หรือ ไฮโปมิกโซลีเดียน (Hypo -<br />\nMixolydian) เป็นบันไดเสียงที่เริ่มจาก D-E-F-G-A-B-C-D หรือ <br />\nเร – มี – ฟา – ซอล – ลา – ที – โด – เร โดยมีโน้ตชื่อ G เป็นตัวฟินาลิส (Finalis)</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"> </span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><img src=\"/files/u40564/2110.gif\" width=\"494\" height=\"83\" /></span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><br />\nบทเพลงแชนท์ในสมัยต้นคริสต์ศตวรรษนี้ มีการนำเครื่องหมายจุด (.) และขีด (-) <br />\nมาใช้เพื่อแสดงถึงความสูง – ต่ำ ของระดับเสียง จุดและขีดเหล่านี้เขียนอยู่เหนือตัวอักษร<br />\nมีชื่อเรียกตามวิชาการว่า “ เอ็คโฟเนทิค โนเทชั่น ” (Ecphonetic Notation) <br />\nการขับร้องเพลงแชนท์นี้ไม่มีดนตรีประกอบ เป็นการขับร้องแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น<br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40564/sk.gif\" width=\"583\" height=\"33\" /> \n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><br />\n</span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/86668\"><img src=\"/files/u40564/hh.jpg\" width=\"291\" height=\"61\" /></a><a href=\"/node/89229\"><img src=\"/files/u40564/b11.jpg\" width=\"291\" height=\"61\" /></a>\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/89234\"><img src=\"/files/u40564/33.jpg\" width=\"291\" height=\"61\" /></a><a href=\"/node/89235\"><img src=\"/files/u40564/44.jpg\" width=\"291\" height=\"61\" /></a>\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/89237\"><img src=\"/files/u40564/55.jpg\" width=\"291\" height=\"61\" /></a><a href=\"/node/89238\"><img src=\"/files/u40564/b66.jpg\" width=\"291\" height=\"61\" /></a>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/89241\"><img src=\"/files/u40564/b77.jpg\" width=\"291\" height=\"61\" /></a><a href=\"/node/89244\"><img src=\"/files/u40564/b88.jpg\" width=\"291\" height=\"61\" /></a>\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/89246\"><img src=\"/files/u40564/99.jpg\" width=\"291\" height=\"61\" /></a><a href=\"/node/89247\"><img src=\"/files/u40564/100.jpg\" width=\"291\" height=\"61\" /></a>\n</p>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n', created = 1715844273, expire = 1715930673, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c57e5116d420303c1d8e738043a41949' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สมัยโรมัน

 

หลังจากกรีกเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรโรมัน ใน 146 ปี ก่อนคริสตศักราชอาณาจักรโรมัน
รับเอาวัฒนธรรมการดนตรีของกรีกไปทั้งหมด โดยมิได้มีการพัฒนารูปแบบของดนตรีไปสัก
เท่าไรนักยังคงใช้รูปแบบการร้องเสียง เดียว (Monophony) ซึ่งเรียกว่า เพลนซอง
(Plain Song) หรือแชนท์ (Chant) โดยมากแล้วแต่ละแห่งจะคำนึงถึงผลของการปฏิบัติ
มากกว่าที่จะยึดติดกับรูปแบบ ที่รับมาตายตัว
นักปราชญ์ทางดนตรีสมัยโรมันยึดทฤษฎีดนตรีของกรีกเป็นหลักแล้วนำมาผสมผสานกับ
ทัศนะแบบ เฮเลนิสติค เช่น โพลตินุส (Plotinus 205-270 A.D.) และศิษย์ของเขาคนหนึ่งชื่อ
พอร์ฟีรี (Porphyry 233-304 A.D.) ก็ได้เผยแพร่สั่งสอนทฤษฎีแบบเพลโตนิคใหม่
(Neo-Platonic) โพลตินุส ได้ย้ำถึงอำนาจที่ดนตรีมีต่อจิตใจและจรรยาธรรมของมนุษย์
มีอำนาจในการชำระล้างจิตใจให้บริสุทธิ์ พาใจให้พบความสวยงามและความดีงาม
และในทางตรงกันข้ามดนตรีอาจมีอำนาจทำลายหากใช้ไปในทางที่ผิด ดังนั้นจึงได้มีความ
พยายามที่จะอนุรักษ์และกวดขันดนตรีที่ใช้ประกอบพิธีศาสนาและที่บรรเลงสำหรับการทหารในสมัยหลัง ๆ

 

การดนตรีได้เสื่อมลงมากเพราะถูกนำไปบรรเลงประกอบในโอกาส และสถานที่ซึ่งไม่เหมาะสม
และการจัดการบรรเลงดนตรีแบบโอ่อ่าก็ไม่เป็นที่สบ อารมณ์หมู่นักปราชญ์ทางดนตรีประเภท
อนุรักษ์นิยมเท่าใดนักเช่นการจัดแสดง ดนตรีวงมหึมา(Monter concert) ในสมัยของคารินุส
(Carinus 284 A.D.) ได้มีการบรรเลงดนตรีที่ประกอบด้วยทรัมเปต 100 ชิ้นแตร (Horn)
100 ชิ้น และเครื่องดนตรีอื่น ๆ อีก 200 ชิ้นถ้าจะกล่าวถึงชีวิตของนักดนตรีในสมัยนั้นก็พูด
ได้ว่าคึกคักมากสมาคม สำหรับนักดนตรีอาชีพได้รับการจัดตั้งกันมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 7 ก่อน
คริสต์ศักราช มีบทบาทในการเรียกร้องสิทธิ์ให้แก่สมาชิกในรุ่นหลัง ๆ
เมื่อออกุสตุสได้ขึ้นครองราชย์แล้วก็ได้ตั้งสมาคมสำหรับดนตรีที่บรรเลงเพลงประกอบ
พิธีศาสนาและสำหรับงานของราชการด้วยนักแต่งเพลงผู้มีฝีมือก็ได้รับการอุปถัมภ์จาก
จักรพรรดิ เช่น การที่จักรพรรดิ์เนโรประทานวังให้แก่เมเนคราเตส (Menecrates) คีตกวีผู้มีชื่อ
คนหนึ่งของสมัยนั้น

 

โดยสรุปแล้วโรมันเอาความรู้จากกรีกไปเผยแพร่และปรับปรุงดัดแปลงให้เข้า กับสภาพความ
เป็นจริงในขณะนั้นเพื่อใช้ปลุกใจประชาชนให้เกิดความเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกันซึ่งจะเป็นผลดี
ต่อการปกครองอาณาจักรที่กว้างใหญ่

จากการค้นพบมรดกทางดนตรีจากแถบตะวันออกของทะเลเมดิเตอเรเนียนเมื่อครั้ง โบราณ
โดยเฉพาะจากกรีกโบราณผ่านโรมันเข้าสู่ยุโรปเปิดเผยให้เห็นถึงความรู้ดนตรี ที่มีค่ายิ่งเพราะ
ทฤษฎีเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์แห่งเสียง (Acoustic) ที่กรีกปูทางไว้ให้หลายเรื่องเช่น
การกำหนดคุณสมบัติและจัดระเบียบของเสียง ระบบเสียงที่ก่อให้เกิดบันไดเสียงต่าง ๆ
หลักในการจัดหมวดหมู่ของลีลาหรือจังหวะ หลักเบื้องต้นในการประดิษฐ์เครื่องดนตรี
ระบบการบันทึกสัญลักษณ์ทางดนตรีรวม ทั้งทำนองเพลงเก่า ๆ ที่สะสมไว้ล้วนมีผลดีต่อ
การพัฒนาดนตรีตะวันตกต่อไป


 

 

บันไดเสียงโบราณ (Church Mode) 
Grout Palisca และ ละเอียด เหราบัตย์ ได้กล่าวถึงบันไดเสียงโบราณ ไว้ว่า …
เพลงสวดแต่งขึ้นในระบบของบันไดเสียงโบราณที่เรียกตามหลักวิชาการดนตรีสากล ว่า
“ เชอร์ช โมด ” (Church Mode) บันไดเสียงโบราณนี้มีสองประเภท คือ
( ศิลปชัย กงตาล ,2542:50)
 
1. ออเธนติค เชอร์ช โมด (Authentic Church Mode) บันไดเสียงประเภทออเธนติคจะ
เริ่มต้นจากโน้ตขั้นแรกของบันไดเสียงมีชื่อเรียกโน้ตตัวเริ่มต้นนี้ว่า “ ฟินาลิส ” (Finalis)
ฟินาลิสทำหน้าที่เหมือนคีย์โน้ต (Key Note) ในปัจจุบันคือเป็นศูนย์รวมของเสียงตามขั้นต่าๆ
ของบันไดเสียงออเธนติคเชอร์ชโมด ประกอบด้วย 4 บันไดเสียง คือ
 
1.1 โปรตุส ออเธนติคุส (Protus Authenticus) หรือ (Dorian)

เป็นบันไดเสียงที่เริ่มต้นจากโน้ต D-E-F-G-A-B-C-D หรือ เร – มี – ฟา – ซอล – ลา – ที – โด - เร


1.2 ดิวเตรุส ออเธนติคุส (Deuterus Authenticus) หรือ ฟรีเจียน (Phrygian)
เป็นบันไดเสียงที่เริ่มจากโน้ต E-F-G-A-B-C-D-E หรือ มี – ฟา – ซอล – ลา – ที – โด – เร - มี

 

 


1.3 ตรีตุส ออเธนติคุส (Tritus Authenticus) หรือ ลีเดียน (Lydian) เป็นบันไดเสียงที่เริ่ม
จากโน้ต F – G – A – B – C – D – E – F หรือ ฟา – ซอล – ลา – ที – โด – เร – มี – ฟา 


1.4 เตตราร์ดุส ออเธนติคุส (Tetardus Authenticus) หรือ มิกโซลีเดียน (Mixolydian)
เป็นบันไดเสียงที่เริ่มจากโน้ต G – A – B – C – D – E – F – G หรือ
ซอล – ลา – ที – โด – เร – มี – ฟา – ซอล

 

2. เพลกัล เชอร์ช โมด (Plagal Church Mode) คือ บันไดเสียงโบราณที่เริ่มจากโน้ตที่
อยู่ต่ำลงมาจากโน้ตฟินาลิสของโมดออเธนติดในระยะขั้นคู่เสียงคู่ 4 บันไดเสียงโบราณ
ในประเภทเพลกัลนี้มีอยู่เป็นคู่กับบันไดเสียง ออเธนติค โดยมีโน้ตฟินาลิส (Finalis)
ตัวเดียวกับออเธนติคเชอร์ชโมด มีอยู่ 4 บันไดเสียง คือ


2.1 โปรตุช ปลากาลิส (Protus Plagalis) หรือ ไฮโปโดเรียน โมด (Hypo – Dorian Mode)
เป็นบันไดเสียงที่เริ่มจาก A – B – C – D – E – F – G – A หรือ
ลา – ที – โด – เร – มี – ฟา – ซอล – ลา โดยมีโน้ต D เป็นตัวฟินาลิส (Finalis) 


 



2.2 ดิวเตรุส ปลากาลิส (Deuterus Plagalis) หรือ ไฮโปฟรีเจียน (Hypo - Phrygian)
เป็นบันไดเสียงที่เริ่มจาก B – C – D – E - F – G – A – B หรือ
ที – โด – เร – มี – ฟา – ซอล – ลา – ที โดยมีโน้ตชื่อ E เป็นตัวฟินาลิส (Finalis)  


2.3 ตรีตุสปลากาลิส (Tritus Plagalis) หรือ ไฮโปลีเดียน (Hypo – Lydian)
เป็นบันไดเสียงที่เริ่มจาก C – D – E – F – G – A – B – C หรือ
โด – เร – มี – ฟา – ซอล – ลา – ที – โด โดยมีโน้ตชื่อ G เป็นตัวฟินาลิส (Finalis) 



2.4 เตตราร์ดุส ปลากาลิส (Tetrardus Plagalis) หรือ ไฮโปมิกโซลีเดียน (Hypo -
Mixolydian) เป็นบันไดเสียงที่เริ่มจาก D-E-F-G-A-B-C-D หรือ
เร – มี – ฟา – ซอล – ลา – ที – โด – เร โดยมีโน้ตชื่อ G เป็นตัวฟินาลิส (Finalis)

 


บทเพลงแชนท์ในสมัยต้นคริสต์ศตวรรษนี้ มีการนำเครื่องหมายจุด (.) และขีด (-)
มาใช้เพื่อแสดงถึงความสูง – ต่ำ ของระดับเสียง จุดและขีดเหล่านี้เขียนอยู่เหนือตัวอักษร
มีชื่อเรียกตามวิชาการว่า “ เอ็คโฟเนทิค โนเทชั่น ” (Ecphonetic Notation)
การขับร้องเพลงแชนท์นี้ไม่มีดนตรีประกอบ เป็นการขับร้องแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น

 



สร้างโดย: 
kazunari

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 258 คน กำลังออนไลน์