• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3919c7091f15669b638e4b9ce15a3edb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"background-color: #ffff99; color: #808080\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\">  </span></strong></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"78\" width=\"312\" src=\"/files/u31510/ayuthaya__banner.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 367px; height: 96px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n       <a href=\"/node/83776\"><img height=\"143\" width=\"250\" src=\"/files/u31510/sukhothaibanner.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 168px; height: 109px\" /></a><a href=\"/node/83777\"><img height=\"143\" width=\"250\" src=\"/files/u31510/ayuthayabanner.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 170px; height: 109px\" /></a><a href=\"/node/83778\"><img height=\"145\" width=\"250\" src=\"/files/u31510/thonburibanner.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 169px; height: 109px\" /></a><br />\n         <a href=\"/node/85719\"><img height=\"142\" width=\"249\" src=\"/files/u31510/bannerrat.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 165px; height: 111px\" /></a><a href=\"/node/86450\"><img height=\"145\" width=\"250\" src=\"/files/u31510/mebanner.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 173px; height: 113px\" /></a> <a href=\"/node/86452\"><img height=\"144\" width=\"250\" src=\"/files/u31510/ang.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 167px; height: 113px\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffff99\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffff99\"></span>\n</p>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffff99; color: #808080\"><strong>พระบรมไตรโลกนาถ</strong></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffff99; color: #808080\"><strong></strong></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffff99; color: #808080\"></span> <img height=\"360\" width=\"247\" src=\"/files/u31510/pra1.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 206px; height: 243px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #008080\"><strong>ขอบคุณรูปจาก</strong>    </span><a href=\"http://kanchanapisek.or.th/kp8/culture/psl/picture/phit3.jpg\"><span style=\"color: #008080\">http://kanchanapisek.or.th/kp8/culture/psl/picture/phit3.jpg</span></a>\n</div>\n<p align=\"left\">\n  <span style=\"color: #008080\">  </span> <span style=\"color: #808080\"><span style=\"background-color: #ffff99; color: #3366ff\"><strong>พระบรมไตรโลกนาถ</strong></span> เป็นพระเจ้าแผ่นดินองค์ที่ 8 (ในจำนวน 34 พระองค์ ของอาณาจักรอยุธยา)<br />\nพระบรมไตรโลกนาถ เสด็จพระราชสมภพ เมื่อปี พ.ศ.1974 ทรงเป็นโอรสของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2(เจ้าสามพระยา)<br />\nและมีพระมารดาเป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์สุโขทัย ดังนั้นพระองค์จึงเป็นเชื้อสายของฝ่ายอยุธยา (ราชวงศ์สุพรรณบุรี) และราชวงศ์สุโขทัย<br />\nพระราชบิดาได้พระราชทานพระนามตามพระราชประเพณีว่า สมเด็จพระราเมศวรบรมไตรโลกนาถบพิตร และเมื่อพระมหาธรรมราชาที่ 4 แห่งราชวงศ์สุโขทัยเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ.1984 พระบรมไตรโลกนาถ พระชนมายุเพียง 15 พรรษา ได้รับโปรดเกล้า ฯ ให้เสด็จไปครองหัวเมืองฝ่ายเหนือ โดยได้ประทับอยู่ที่เมืองพิษณุโลก (ซึ่งเป็นศูนย์กลางการปกครองของอาณาจักรสุโขทัยในสมัยนั้น)แทน และเมื่อพระราชบิดาสวรรคต พระองค์ก็ครองราชสมบัติเป็นกษัตริย์ของอยุธยาในปี พ.ศ. 1991 เมื่อพระชนม์พรรษาได้ 17 พรรษา เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่แปดของกรุงศรีอยุธยา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n<span style=\"color: #008080\">   พระองค์ทรงครองราชสมบัติเป็นเวลานานที่สุดในบรรดากษัตริย์อยุธยาคือ 40 ปีสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงมีพระราชสมัญญาอีกพระนามหนึ่งว่า พระเจ้าช้างเผือก เนื่องจาก เมื่อปี พ.ศ.2014 พระองค์ได้ทรงรับช้างเผือก ซี่งนับเป็นช้างเผือกช้างแรกของกรุงศรีอยุธยา  <br />\nและทรงมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ ไทยในฐานะผู้รวมอาณาจักรสุโขทัยให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับอยุธยากับการปฏิรูปการปกครองของอยุธยาด้วยการตั้งระบบศักดินาและ การจัดระบบขุนนางให้เป็น 2 ฝ่าย คือ กลาโหม   มหาดไทย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\">  <span style=\"color: #808080\">สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงปฏิรูปการปกครอง โดยทรงรวมอำนาจจากการปกครองเข้าสู่ศูนย์กลางคือ ราชธานี และแยกฝ่ายทหาร และฝ่ายพลเรือนออกจากกันคือ ฝ่ายทหารมีสมุหพระกลาโหมเป็นหัวหน้า รับผิดชอบ ฝ่ายพลเรือนมีสมุหนายก เป็นหัวหน้ารับผิดชอบ มีผู้ช่วยคือ จตุสดมภ์ ได้แก่ กรมเมือง กรมวัง กรมพระคลัง และกรมนา ในกรณีที่เกิดศึกสงครามทั้งฝ่ายทหาร และฝ่ายพลเรือนจะต้องนำหน้าในกองทัพร่วมกัน <br />\n</span><br />\n  ในสมัยของพระบรมไตรโลกนาถ ทรงทำให้เป็นระบบราชการ (เจ้าและขุนนาง) มากขึ้น กล่าวได้ว่าเป็นการทำการปกครองให้เป็นระบบที่เหมาะสมกับการเป็นอาณาจักรใหญ่อยุธยา เปลี่ยนไปจากระบบการปกครอง ที่เรียบง่ายอันเป็นลักษณะของการปกครองที่ยังเป็นแว่นแคว้นหรือเมือง ดังที่ปรากฎในสมัยสุโขทัยหรืออยุธยาตอนต้นๆ มีการแบ่งฝ่าย การปกครองเป็นทหารกับพลเรือน มีตำแหน่ง กลาโหม ปกครองฝ่ายทหารและตำแหน่ง มหาดไทย ปกครองฝ่ายพลเรือน เป็นการแบ่งและการเพิ่มตำแหน่งกลายเป็น 6 ตำแหน่ง โดยที่ 2 ตำแหน่งใหม่มีฐานะที่สูงกว่า (เป็นอัครมหาเสนาบดีเหนือเสนาบดีธรรมดา ) </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #008080\"></span><span style=\"color: #008080\"></span><span style=\"color: #008080\"></span></p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n  <span style=\"color: #808080\">อย่างไรก็ตาม บทบาทหน้าที่ของกลาโหมและมหาดไทยอาจจะมิได้มีความหมายว่า แยกหน้าที่กันอย่างชัดเจน คือ ทหารมีหน้าที่รบ ตรงกันข้ามกับพลเรือนที่ไม่ต้องออกสงครามอย่างที่เราเข้าใจกันในปัจจุบัน ในอดีตนั้น ต่างก็มีบทบาททั้งด้านทหารด้านด้านพลเรือนและอื่นๆ อีกมากที่เหมือนกัน หากแต่ต่างกันเฉพาะ &quot;พื้นที่&quot; ที่แบ่งกันปกครอง กล่าวคือ กลาโหม ปกครองพื้นที่ทางตอนใต้ของเมืองหลวง ส่วนมหาดไทยปกครอวพื้นที่ทางตอนเหนือของเมืองหลวง และเมือการค้าของอยุธยากับต่างประเทศ เจริญรุ่งเรือง &quot;กรมพระคลัง&quot; ที่มีหน้าที่ดูแลทรัพย์สมบัติของพระมหากษัตริย์ ก็มีบทบาทหน้าที่เพิ่มเติมด้านการค้าและความสัมพันธ์กับ ต่างชาติ และกลายเป็นกรมที่มีบทบาทหน้าที่เหมือนกับกลาโหมและมหาดไทย คือ มีพื้นที่หัวเมืองชายฝั่งทะเลอยู่ใต้การปกครอง <br />\n</span>  <br />\n<span style=\"background-color: #ffff99; color: #3366ff\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\">  </span>การปกครองในส่วนภูมิภาค</strong></span> ได้ยกเลิกระบบการปกครองหัวเมืองต่าง ๆ แต่เดิมที่แบ่งออกเป็นเมืองลูกหลวง หลานหลวง แล้วระบบการปกครองหัวเมืองเสียใหม่ ดังนี้ <br />\n  <br />\n<strong><span style=\"color: #3366ff\">  <span style=\"background-color: #ff99cc\">หัวเมืองชั้นใน</span></span></strong> <span style=\"color: #008080\">เช่น เมืองราชบุรี นครสวรรค์ นครนายก เมืองฉะเชิงเทรา และปราจีนบุรี เป็นต้น จัดเป็นเมืองจัตวา พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งผู้ที่เหมาะสมไปปกครอง แต่สิทธิอำนาจทั้งหมดยังขึ้นอยู่กับองค์พระมหากษัตริย์ <br />\n  <br />\n</span><span style=\"color: #3366ff\"><strong> <span style=\"background-color: #ff99cc\">หัวเมืองชั้นนอก</span></strong></span> <span style=\"color: #3366ff\">หรือ</span><strong><span style=\"color: #3366ff\"> </span><span style=\"color: #3366ff\">เมืองพระยามหานคร</span></strong> <span style=\"color: #008080\">เช่น เมืองพิษณุโลก สุโขทัย นครราชสีมา และทวาย จัดเป็น เมือง เอก โท ตรี พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งพระราชวงศ์หรือข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ไปเป็นเจ้าเมืองมีอำนาจบังคับบัญชาเป็นสิทธิขาด เป็๋นผู้แทนองค์พระมหากษัตริย์ มีกรมการปกครองในตำแหน่ง เมือง วัง คลัง นา เช่นเดียวกับของทางราชธานี</span> <br />\n  <br />\n<span style=\"color: #3366ff\"><strong> <span style=\"background-color: #ff99cc\">เมืองประเทศราช</span></strong></span> <span style=\"color: #008080\">ทางกรุงศรีอยุธยาคงให้เจ้าเมืองของเมืองหลวงนั้นปกครองกันเอง โดยพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งเจ้าเมือง เมืองประเทศราชจะต้องถวายต้นไม้เงินต้นไม้ทองกับเครื่องราชบรรณาการทุกรอบสามปี และต้องส่งกองทัพมาช่วยทางราชธานี เมื่อเกิดการสงคราม</span> <br />\n  <br />\n<span style=\"color: #008080\">  <span style=\"background-color: #ff99cc\">สำหรับ</span></span><strong><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"background-color: #ff99cc\">การปกครองส่วนท้องถิ่น</span></span></strong> <span style=\"color: #008080\">ให้จัดเป็นหมู่บ้าน มีผู้ใหญ่บ้านปกครองดูแล ตำบล มีกำนันเป็นหัวหน้า แขวง มีหมื่นแขวงเป็นหัวหน้า การปกครองท้องถิ่นดังกล่าวได้ใช้สืบทอดมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์</span> <span style=\"color: #008080\">มีการแต่งตั้งตำแหน่งข้าราชการให้มีบรรดาศักดิ์ตามลำดับจากต่ำสุดไปสูงสุดคือ</span> <span style=\"background-color: #ffcc99; color: #800080\"><strong>ทนาย พัน หมื่น ขุน หลวง พระ พระยา และเจ้าพระยา</strong></span> <span style=\"color: #008080\">มีการกำหนดศักดินาเพื่อเป็นค่าตอบแทนการรับราชการ และได้อาศัยใช้เป็นเกณฑ์กำหนดการมีที่นาและการปรับไหมตามกฎหมาย</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #008080\">  ในปี พ.ศ.2001 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงตั้งกฎมณเฑียรบาล ขึ้นเป็นกฎหมายสำหรับการปกครอง แบ่งออกเป็นสามแผนคือ พระตำรา ว่าด้วยแบบแผนและการพระราชพิธีต่าง ๆ พระธรรมนูญ ว่าด้วยเรื่องตำแหน่งหน้าที่ราชการ พระราชกำหนด เป็นข้อบังคับในพระราชสำนัก <br />\n  <br />\n  ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พระองค์ได้โปรดเกล้า ฯ ให้ประชุมนักปราชญ์ราชบัณฑิตแต่งหนังสือมหาชาติคำหลวง นับว่าเป็นวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่องแรกของกรุงศรีอยุธยา และเป็นวรรณคดีชั้นเยี่ยมที่ใช้เป็นแนวทางในการศึกษาภาษา และวรรณคดีของไทย นอกจากนี้ยังมีลิลิตพระลอ ซึ่งเป็นยอดวรรณคดีประเภทลิลิตของไทย <br />\n  <br />\n  ในการรวมอาณาจักรสุโขทัยให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับอยุธยา นั้น พระบรมไตรโลกนาถทรงได้เปรียบเนื่องจากมีพระมารดาเป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์สุโขทัย ดังนั้นจึงน่าจะมีพระญาติพระวงศ์จากราชวงศ์นั้น ทรงช่วยเหลือ และเมื่อเจ้าองค์หนึ่งของสุโขทัยหันไปเข้ากับอาณาจักรล้านนา (เชียงใหม่) พระบรมไตรโลกนาถได้ย้ายเมืองหลวงจากอยุธยา มาอยู่ที่พิษณุโลกเป็นการชั่วคราวระหว่าง พ.ศ.2006-2031 ทำให้สามารถปกครองและป้องกันอาณาจักรสุโขทัยได้ง่ายขึ้น <br />\n  <br />\n  พระบรมไตรโลกนาถเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงได้พระนามว่า มีศรัทธามั่นคงในพระพุทธศาสนา ในช่วงที่ทรงปกครองอยู่ที่เมืองพิษณุโลก พระองค์ได้ดำเนินนโยบายเกี่ยวกับการศาสนาในแบบฉบับของพระเจ้าแผ่นดิน ของสุโขทัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามแบบของพระมหาธรรมราชาที่ 1(ลิไท) ทำให้พระองค์ได้รับการยอมรับและยกย่องจากฝ่ายราชวงศ์สุโขทัย ปี พ.ศ. 2008 พระองค์ทรงออกผนวชเป็นเวลา 8 เดือน (ตามรอยของพระมหาธรรมราชาที่ 1) และทรงให้มีการบูรณะฟื้นฟูวัด เช่น วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ (พ.ศ.2025) อันเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธชินราช อันเป็นพระพุทธรูปสำคัญที่สุดองค์หนึ่งในเมืองพิษณุโลก และทรงให้มีการก่อสร้างปรางค์ที่ วัดจุฬามณี อันเป็นที่ประทับในระหว่างทรงผนวช <br />\n  <br />\n  นอกเหนือจากการจัดระบบการปกครอง พระบรมไตรโลกนาถยังได้ออกกฎหมาย ซึ่งเป็นรากฐานของระบบศักดินาของอยุธยา ซึ่งได้ใช้เรื่อยมาจนกระทั่งสมัยรัตนโกสินทร์ (และจะมีการเปลี่ยนแปลงอีกครั้งก็ในปี พ.ศ. 2435 ในสมัยรัชกาลที่ 5) กฎหมายสำคัญที่พระองค์ทรงประกาศใช้ก็คือ กฎมณเฑียรบาล (Palatine Law) พระไอยการตำแหน่งนายพลเรือน (Law of the Civil Hierarchy) พระไอยการตำแหน่งนาทหารหัวเมือง (Law of the Military and Provincial Hierarchy) ซึ่งตามตัวอักษรกฎหมายเหล่านี้กำหนดให้ เจ้า-ขุนนาง-พระสงฆ์-ราษฎร (ไพร่-ทาส) ทุกคนมี &quot;ศักดินา&quot; ประจำตัว ประหนึ่งว่าแต่ละคนมีที่ดินจำนวนหนึ่งตามฐานะสูงตำของตนจาก 5-100,000 ไร่ <br />\n  <br />\n  จากกฎหมายของอยุธยาตั้งแต่แรก ถือกันว่าที่ดินนั้นเป็นของพระเจ้าแผ่นดิน และจะทรงแบ่งให้ทุกคนในพระราชอาณาจักรมากน้อยตามฐานะของบุคคล  แต่ก็เชื่อว่า &quot;ศักดินา&quot; ในสมัยของพระบรมไตรโลกนาถนั้นมิได้เป็นกฎหมายว่าด้วยการแบ่งสรรที่ดิน ในสมัยของพระบรมไตรโลกนาถ &quot;ศักดินา&quot; จึงเป็นกฎหมายที่กำหนดฐานะทางชนชั้นของบุคคล มากกว่า กล่าวคือ &quot;ศักดินา&quot; เป็นเครื่องชี้บ่งบอกฐานะอันสูงต่ำต่างกันนั้นกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กำหนดวิถีทางชีวิตกระทั่ง การอยู่กินหรือแม้แต่การแต่งตัว การสร้างบ้านเรือน และ &quot;ศักดินา&quot; ก็ยังใช้เป็นเครื่องมือในการปรับ (ไหม) หรือลงโทษทางกฎหมายอีกด้วย <br />\n  <br />\n    สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเสด็จสวรรคต เมื่อปี พ.ศ.2031 ครองราชย์ได้ 40 ปี <br />\n  <br />\n<strong><span style=\"color: #3366ff\">พระราชกรณียกิจที่สำคัญ</span></strong> ได้แก่ <br />\n  <br />\n1. ปฏิรูปการปกครอง นับเป็นพระราชกรณียกิจที่ยิ่งใหญ่ของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงรวมอำนาจจากหัวเมืองต่างๆ มาไว้ที่ราชธานี ทำให้ราชธานีเป็นศูนย์กลางการปกครองของอาณาจักร และทรงแยกราชการโดยแยกการบริหารราชการแผ่นดินเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายทหารและพลเรือนออกจากกัน ฝ่ายทหารมี สมุหพระกลาโดม เป็นผู้บังคับบัญชา ฝ่ายพลเรือนมี สมุหนายก เป็นผู้บังคับบัญชา นอกจากนี้ ทรงประกาศใช้ระบบศักดินาขึ้นเป็นครั้งแรก ซึ่งนับเป็นหัวใจการปกครองบ้านเมืองต่อมาอีกหลายร้อยปี ตราบจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ <br />\n  <br />\n2. ประกาศใช้กฎหมาย หลายลักษณะ เช่น ทำเนียบศักดินาซึ่งกำหนดสิทธิหน้าที่ของมูลนายและไพร่ <br />\n  <br />\n3. ทำสงครามกับอาณาจักรล้านนา หลายครั้ง แต่ยังไม่แพ้ชนะอย่างเด็ดขาด <br />\n  <br />\n4. ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่ง โปรดเกล้าฯให้สร้างพระวิหารที่วัดจุฬามณี เมืองพิษณุโลก ต่อมาใน พ.ศ.2008 ทรงผนวชที่วัดนี้เป็นเวลา 8 เดือน <br />\n  <br />\n5. ส่งเสริมวรรณคดี โปรดเกล้าฯ ให้แต่ง &quot;มหาชาติคำหลวง&quot; และ &quot;ลิลิตยวนพ่าย&quot; ขึ้น นับเป็นหนังสือคำหลวงประเภทชาดกเรื่องแรกของไทย และยังมีเรื่องลิลิตยวนพ่ายแต่งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระองค์ ซึ่งเชื่อว่าแต่งในรัชกาลนี้ </span><span style=\"color: #008080\"></span></p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #ff6600\">         </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #ff6600\"></span></span><strong><span style=\"color: #008080\"> ที่มา       </span></strong><a href=\"http://www.yudya.com/king/king/8.html\"><strong><span style=\"color: #008080\">http://www.yudya.com/king/king/8.html</span></strong></a> \n</p>\n<p><span style=\"background-color: #ffff99; color: #3366ff\"><span style=\"background-color: #ffffff; color: #008080\"></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/91485\"><img height=\"108\" width=\"216\" src=\"/files/u40870/practice.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/81946\"><img height=\"300\" width=\"400\" src=\"/files/u31510/home.gif\" border=\"0\" style=\"width: 116px; height: 94px\" /></a><a href=\"/node/81946\"> </a>\n</div>\n<p>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n</p>', created = 1719823056, expire = 1719909456, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3919c7091f15669b638e4b9ce15a3edb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

บุคคลในสมัยอยุธยา

 

 

      
        

พระบรมไตรโลกนาถ
 
ขอบคุณรูปจาก    http://kanchanapisek.or.th/kp8/culture/psl/picture/phit3.jpg

     พระบรมไตรโลกนาถ เป็นพระเจ้าแผ่นดินองค์ที่ 8 (ในจำนวน 34 พระองค์ ของอาณาจักรอยุธยา)
พระบรมไตรโลกนาถ เสด็จพระราชสมภพ เมื่อปี พ.ศ.1974 ทรงเป็นโอรสของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2(เจ้าสามพระยา)
และมีพระมารดาเป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์สุโขทัย ดังนั้นพระองค์จึงเป็นเชื้อสายของฝ่ายอยุธยา (ราชวงศ์สุพรรณบุรี) และราชวงศ์สุโขทัย
พระราชบิดาได้พระราชทานพระนามตามพระราชประเพณีว่า สมเด็จพระราเมศวรบรมไตรโลกนาถบพิตร และเมื่อพระมหาธรรมราชาที่ 4 แห่งราชวงศ์สุโขทัยเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ.1984 พระบรมไตรโลกนาถ พระชนมายุเพียง 15 พรรษา ได้รับโปรดเกล้า ฯ ให้เสด็จไปครองหัวเมืองฝ่ายเหนือ โดยได้ประทับอยู่ที่เมืองพิษณุโลก (ซึ่งเป็นศูนย์กลางการปกครองของอาณาจักรสุโขทัยในสมัยนั้น)แทน และเมื่อพระราชบิดาสวรรคต พระองค์ก็ครองราชสมบัติเป็นกษัตริย์ของอยุธยาในปี พ.ศ. 1991 เมื่อพระชนม์พรรษาได้ 17 พรรษา เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่แปดของกรุงศรีอยุธยา 


   พระองค์ทรงครองราชสมบัติเป็นเวลานานที่สุดในบรรดากษัตริย์อยุธยาคือ 40 ปีสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงมีพระราชสมัญญาอีกพระนามหนึ่งว่า พระเจ้าช้างเผือก เนื่องจาก เมื่อปี พ.ศ.2014 พระองค์ได้ทรงรับช้างเผือก ซี่งนับเป็นช้างเผือกช้างแรกของกรุงศรีอยุธยา 
และทรงมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ ไทยในฐานะผู้รวมอาณาจักรสุโขทัยให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับอยุธยากับการปฏิรูปการปกครองของอยุธยาด้วยการตั้งระบบศักดินาและ การจัดระบบขุนนางให้เป็น 2 ฝ่าย คือ กลาโหม   มหาดไทย 

  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงปฏิรูปการปกครอง โดยทรงรวมอำนาจจากการปกครองเข้าสู่ศูนย์กลางคือ ราชธานี และแยกฝ่ายทหาร และฝ่ายพลเรือนออกจากกันคือ ฝ่ายทหารมีสมุหพระกลาโหมเป็นหัวหน้า รับผิดชอบ ฝ่ายพลเรือนมีสมุหนายก เป็นหัวหน้ารับผิดชอบ มีผู้ช่วยคือ จตุสดมภ์ ได้แก่ กรมเมือง กรมวัง กรมพระคลัง และกรมนา ในกรณีที่เกิดศึกสงครามทั้งฝ่ายทหาร และฝ่ายพลเรือนจะต้องนำหน้าในกองทัพร่วมกัน 

  ในสมัยของพระบรมไตรโลกนาถ ทรงทำให้เป็นระบบราชการ (เจ้าและขุนนาง) มากขึ้น กล่าวได้ว่าเป็นการทำการปกครองให้เป็นระบบที่เหมาะสมกับการเป็นอาณาจักรใหญ่อยุธยา เปลี่ยนไปจากระบบการปกครอง ที่เรียบง่ายอันเป็นลักษณะของการปกครองที่ยังเป็นแว่นแคว้นหรือเมือง ดังที่ปรากฎในสมัยสุโขทัยหรืออยุธยาตอนต้นๆ มีการแบ่งฝ่าย การปกครองเป็นทหารกับพลเรือน มีตำแหน่ง กลาโหม ปกครองฝ่ายทหารและตำแหน่ง มหาดไทย ปกครองฝ่ายพลเรือน เป็นการแบ่งและการเพิ่มตำแหน่งกลายเป็น 6 ตำแหน่ง โดยที่ 2 ตำแหน่งใหม่มีฐานะที่สูงกว่า (เป็นอัครมหาเสนาบดีเหนือเสนาบดีธรรมดา ) 


  อย่างไรก็ตาม บทบาทหน้าที่ของกลาโหมและมหาดไทยอาจจะมิได้มีความหมายว่า แยกหน้าที่กันอย่างชัดเจน คือ ทหารมีหน้าที่รบ ตรงกันข้ามกับพลเรือนที่ไม่ต้องออกสงครามอย่างที่เราเข้าใจกันในปัจจุบัน ในอดีตนั้น ต่างก็มีบทบาททั้งด้านทหารด้านด้านพลเรือนและอื่นๆ อีกมากที่เหมือนกัน หากแต่ต่างกันเฉพาะ "พื้นที่" ที่แบ่งกันปกครอง กล่าวคือ กลาโหม ปกครองพื้นที่ทางตอนใต้ของเมืองหลวง ส่วนมหาดไทยปกครอวพื้นที่ทางตอนเหนือของเมืองหลวง และเมือการค้าของอยุธยากับต่างประเทศ เจริญรุ่งเรือง "กรมพระคลัง" ที่มีหน้าที่ดูแลทรัพย์สมบัติของพระมหากษัตริย์ ก็มีบทบาทหน้าที่เพิ่มเติมด้านการค้าและความสัมพันธ์กับ ต่างชาติ และกลายเป็นกรมที่มีบทบาทหน้าที่เหมือนกับกลาโหมและมหาดไทย คือ มีพื้นที่หัวเมืองชายฝั่งทะเลอยู่ใต้การปกครอง
 
  การปกครองในส่วนภูมิภาค ได้ยกเลิกระบบการปกครองหัวเมืองต่าง ๆ แต่เดิมที่แบ่งออกเป็นเมืองลูกหลวง หลานหลวง แล้วระบบการปกครองหัวเมืองเสียใหม่ ดังนี้
 
  หัวเมืองชั้นใน เช่น เมืองราชบุรี นครสวรรค์ นครนายก เมืองฉะเชิงเทรา และปราจีนบุรี เป็นต้น จัดเป็นเมืองจัตวา พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งผู้ที่เหมาะสมไปปกครอง แต่สิทธิอำนาจทั้งหมดยังขึ้นอยู่กับองค์พระมหากษัตริย์
 
 หัวเมืองชั้นนอก หรือ เมืองพระยามหานคร เช่น เมืองพิษณุโลก สุโขทัย นครราชสีมา และทวาย จัดเป็น เมือง เอก โท ตรี พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งพระราชวงศ์หรือข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ไปเป็นเจ้าเมืองมีอำนาจบังคับบัญชาเป็นสิทธิขาด เป็๋นผู้แทนองค์พระมหากษัตริย์ มีกรมการปกครองในตำแหน่ง เมือง วัง คลัง นา เช่นเดียวกับของทางราชธานี
 
 เมืองประเทศราช ทางกรุงศรีอยุธยาคงให้เจ้าเมืองของเมืองหลวงนั้นปกครองกันเอง โดยพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งเจ้าเมือง เมืองประเทศราชจะต้องถวายต้นไม้เงินต้นไม้ทองกับเครื่องราชบรรณาการทุกรอบสามปี และต้องส่งกองทัพมาช่วยทางราชธานี เมื่อเกิดการสงคราม
 
  สำหรับการปกครองส่วนท้องถิ่น ให้จัดเป็นหมู่บ้าน มีผู้ใหญ่บ้านปกครองดูแล ตำบล มีกำนันเป็นหัวหน้า แขวง มีหมื่นแขวงเป็นหัวหน้า การปกครองท้องถิ่นดังกล่าวได้ใช้สืบทอดมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ มีการแต่งตั้งตำแหน่งข้าราชการให้มีบรรดาศักดิ์ตามลำดับจากต่ำสุดไปสูงสุดคือ ทนาย พัน หมื่น ขุน หลวง พระ พระยา และเจ้าพระยา มีการกำหนดศักดินาเพื่อเป็นค่าตอบแทนการรับราชการ และได้อาศัยใช้เป็นเกณฑ์กำหนดการมีที่นาและการปรับไหมตามกฎหมาย

  ในปี พ.ศ.2001 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงตั้งกฎมณเฑียรบาล ขึ้นเป็นกฎหมายสำหรับการปกครอง แบ่งออกเป็นสามแผนคือ พระตำรา ว่าด้วยแบบแผนและการพระราชพิธีต่าง ๆ พระธรรมนูญ ว่าด้วยเรื่องตำแหน่งหน้าที่ราชการ พระราชกำหนด เป็นข้อบังคับในพระราชสำนัก
 
  ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พระองค์ได้โปรดเกล้า ฯ ให้ประชุมนักปราชญ์ราชบัณฑิตแต่งหนังสือมหาชาติคำหลวง นับว่าเป็นวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา เรื่องแรกของกรุงศรีอยุธยา และเป็นวรรณคดีชั้นเยี่ยมที่ใช้เป็นแนวทางในการศึกษาภาษา และวรรณคดีของไทย นอกจากนี้ยังมีลิลิตพระลอ ซึ่งเป็นยอดวรรณคดีประเภทลิลิตของไทย
 
  ในการรวมอาณาจักรสุโขทัยให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกับอยุธยา นั้น พระบรมไตรโลกนาถทรงได้เปรียบเนื่องจากมีพระมารดาเป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์สุโขทัย ดังนั้นจึงน่าจะมีพระญาติพระวงศ์จากราชวงศ์นั้น ทรงช่วยเหลือ และเมื่อเจ้าองค์หนึ่งของสุโขทัยหันไปเข้ากับอาณาจักรล้านนา (เชียงใหม่) พระบรมไตรโลกนาถได้ย้ายเมืองหลวงจากอยุธยา มาอยู่ที่พิษณุโลกเป็นการชั่วคราวระหว่าง พ.ศ.2006-2031 ทำให้สามารถปกครองและป้องกันอาณาจักรสุโขทัยได้ง่ายขึ้น
 
  พระบรมไตรโลกนาถเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงได้พระนามว่า มีศรัทธามั่นคงในพระพุทธศาสนา ในช่วงที่ทรงปกครองอยู่ที่เมืองพิษณุโลก พระองค์ได้ดำเนินนโยบายเกี่ยวกับการศาสนาในแบบฉบับของพระเจ้าแผ่นดิน ของสุโขทัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามแบบของพระมหาธรรมราชาที่ 1(ลิไท) ทำให้พระองค์ได้รับการยอมรับและยกย่องจากฝ่ายราชวงศ์สุโขทัย ปี พ.ศ. 2008 พระองค์ทรงออกผนวชเป็นเวลา 8 เดือน (ตามรอยของพระมหาธรรมราชาที่ 1) และทรงให้มีการบูรณะฟื้นฟูวัด เช่น วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ (พ.ศ.2025) อันเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธชินราช อันเป็นพระพุทธรูปสำคัญที่สุดองค์หนึ่งในเมืองพิษณุโลก และทรงให้มีการก่อสร้างปรางค์ที่ วัดจุฬามณี อันเป็นที่ประทับในระหว่างทรงผนวช
 
  นอกเหนือจากการจัดระบบการปกครอง พระบรมไตรโลกนาถยังได้ออกกฎหมาย ซึ่งเป็นรากฐานของระบบศักดินาของอยุธยา ซึ่งได้ใช้เรื่อยมาจนกระทั่งสมัยรัตนโกสินทร์ (และจะมีการเปลี่ยนแปลงอีกครั้งก็ในปี พ.ศ. 2435 ในสมัยรัชกาลที่ 5) กฎหมายสำคัญที่พระองค์ทรงประกาศใช้ก็คือ กฎมณเฑียรบาล (Palatine Law) พระไอยการตำแหน่งนายพลเรือน (Law of the Civil Hierarchy) พระไอยการตำแหน่งนาทหารหัวเมือง (Law of the Military and Provincial Hierarchy) ซึ่งตามตัวอักษรกฎหมายเหล่านี้กำหนดให้ เจ้า-ขุนนาง-พระสงฆ์-ราษฎร (ไพร่-ทาส) ทุกคนมี "ศักดินา" ประจำตัว ประหนึ่งว่าแต่ละคนมีที่ดินจำนวนหนึ่งตามฐานะสูงตำของตนจาก 5-100,000 ไร่
 
  จากกฎหมายของอยุธยาตั้งแต่แรก ถือกันว่าที่ดินนั้นเป็นของพระเจ้าแผ่นดิน และจะทรงแบ่งให้ทุกคนในพระราชอาณาจักรมากน้อยตามฐานะของบุคคล  แต่ก็เชื่อว่า "ศักดินา" ในสมัยของพระบรมไตรโลกนาถนั้นมิได้เป็นกฎหมายว่าด้วยการแบ่งสรรที่ดิน ในสมัยของพระบรมไตรโลกนาถ "ศักดินา" จึงเป็นกฎหมายที่กำหนดฐานะทางชนชั้นของบุคคล มากกว่า กล่าวคือ "ศักดินา" เป็นเครื่องชี้บ่งบอกฐานะอันสูงต่ำต่างกันนั้นกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กำหนดวิถีทางชีวิตกระทั่ง การอยู่กินหรือแม้แต่การแต่งตัว การสร้างบ้านเรือน และ "ศักดินา" ก็ยังใช้เป็นเครื่องมือในการปรับ (ไหม) หรือลงโทษทางกฎหมายอีกด้วย
 
    สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเสด็จสวรรคต เมื่อปี พ.ศ.2031 ครองราชย์ได้ 40 ปี
 
พระราชกรณียกิจที่สำคัญ ได้แก่
 
1. ปฏิรูปการปกครอง นับเป็นพระราชกรณียกิจที่ยิ่งใหญ่ของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงรวมอำนาจจากหัวเมืองต่างๆ มาไว้ที่ราชธานี ทำให้ราชธานีเป็นศูนย์กลางการปกครองของอาณาจักร และทรงแยกราชการโดยแยกการบริหารราชการแผ่นดินเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายทหารและพลเรือนออกจากกัน ฝ่ายทหารมี สมุหพระกลาโดม เป็นผู้บังคับบัญชา ฝ่ายพลเรือนมี สมุหนายก เป็นผู้บังคับบัญชา นอกจากนี้ ทรงประกาศใช้ระบบศักดินาขึ้นเป็นครั้งแรก ซึ่งนับเป็นหัวใจการปกครองบ้านเมืองต่อมาอีกหลายร้อยปี ตราบจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์
 
2. ประกาศใช้กฎหมาย หลายลักษณะ เช่น ทำเนียบศักดินาซึ่งกำหนดสิทธิหน้าที่ของมูลนายและไพร่
 
3. ทำสงครามกับอาณาจักรล้านนา หลายครั้ง แต่ยังไม่แพ้ชนะอย่างเด็ดขาด
 
4. ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่ง โปรดเกล้าฯให้สร้างพระวิหารที่วัดจุฬามณี เมืองพิษณุโลก ต่อมาใน พ.ศ.2008 ทรงผนวชที่วัดนี้เป็นเวลา 8 เดือน
 
5. ส่งเสริมวรรณคดี โปรดเกล้าฯ ให้แต่ง "มหาชาติคำหลวง" และ "ลิลิตยวนพ่าย" ขึ้น นับเป็นหนังสือคำหลวงประเภทชาดกเรื่องแรกของไทย และยังมีเรื่องลิลิตยวนพ่ายแต่งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระองค์ ซึ่งเชื่อว่าแต่งในรัชกาลนี้

         

 ที่มา       http://www.yudya.com/king/king/8.html 

 

 

 

สร้างโดย: 
ครูชาญชัย เปี่ยมชาคร และนางสาวภูริชญา ธโนปจัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 597 คน กำลังออนไลน์