• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:56b84b77486d436124ad3bcd8f8f3b9e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31498/h_____________________________________copy_0.jpg\" width=\"583\" height=\"300\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/69912\"><img src=\"/files/u31498/Untitled-1_0.jpg\" width=\"170\" border=\"0\" height=\"70\" /></a> <a href=\"/node/69779\"><img src=\"/files/u31498/Untitled-2.jpg\" width=\"170\" border=\"0\" height=\"70\" /></a><a href=\"/node/69796\"><img src=\"/files/u31498/Untitled-3_0.jpg\" width=\"170\" border=\"0\" height=\"70\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/76340\"><img src=\"/files/u31498/Untitled-4.jpg\" width=\"170\" border=\"0\" height=\"70\" /></a> <a href=\"/node/76580\"><img src=\"/files/u31498/Untitled-5.jpg\" width=\"170\" border=\"0\" height=\"70\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\">กาพย์เห่เรือ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31498/2007-11-05-003.jpg\" style=\"width: 285px; height: 279px\" width=\"450\" border=\"0\" height=\"338\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #00ccff\">ที่มา</span>  <a href=\"/files/u31498/2007-11-05-003.jpg\">http://www.thaigoodview.com/files/u31498/2007-11-05-003.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ผู้แต่ง</span><span style=\"color: #ff6600\">  เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ หรือเจ้าฟ้ากุ้ง<br />\n</span><span style=\"color: #ff00ff\">เนื้อเรื่อง </span><span style=\"color: #ff6600\"> ได้กล่าวถึงกาพย์เห่เรือไว้เพียง 4 เรื่อง  นั้นคือ กาพย์เห่ชมเรือ  กาพย์เห่ชมปลา กาพย์เห่ชมไม้ และกาพย์เห่ชมนก<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ความรู้ที่ได้จากเรื่อง</span><br />\n<span style=\"color: #00ff00\"> 1. ได้รับรู้ขนบธรรมเนียมประเพณีและสภาพสังคม เช่น  ประเพณีเห่เรือและประเภทของเรือ ประเพณีการแต่งกาย ผู้หญิงห่มผ้าสไบคลุมไหล่ ถ้าผู้หญิงชั้นสูง ๆ หรือมีฐานะ ห่มสไบทำด้วยตาด การไว้ทรงผม ผู้หญิงไว้ผมยาวประลงมาถึงบ่าแล้วเก็บไรถอนผมออกเป็นวงกลม การบอกเวลา นิยมใช้กลอง ฆ้องเป็นเครื่องบอกเปลี่ยนเวลา<br />\n2. ได้รู้จักชื่อสัตว์ทั้งสัตว์บก สัตว์น้ำและชื่อต้นไม้<br />\n3. ได้รับความรู้เกี่ยวกับการจัดขบวนพยุหยาตราทางชลมารค และชนิดของเรือ<br />\n4. ได้รู้เทพนิยายระหว่างครุฑกับนาค เรื่องมีว่า ครุฑกับนาคเกิดจากบิดาเดียวกัน แต่ต่างมารดา มารดาครุฑถูกมารดาของนาคกลั่นแกล้งข่มเหง จนตกเป็นทาสของมารดานาค ครุฑเจ็บใจมากขึงผู้ใจเจ็บ ต่อมาครุฑได้พรจากพระนารายณ์ให้จับนาคกินได้ ครุฑเป็นพาหนะของพระนารายณ์<br />\n5. ได้ความรู้เกี่ยวกับคำและวิธีการใช้คำ เช่น ชดช้อย  พรหมินทร์  เสด็จ สำอาง อร่าม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ลักษณะการแต่ง<br />\n</span>  <span style=\"color: #00ffff\"> ๑. ร้อยกรอง ประเภทกาพย์เห่เรือ จบด้วย กาพย์ห่อโคลง ( บางตำราใช้กาพย์ห่อโคลงเห่เรือ )<br />\n๒. กาพย์เห่เรือ ๑ บท ประกอบด้วย โคลงสี่สุภาพนำ ๑ บท แล้วกาพย์ยานี ๑๑ ไม่จำกัด จำนวนบท โดยให้กาพย์ยานี ๑๑ บทแรก มีเนื้อความเดียวกันกับโคลงสี่สุภาพที่นำกาพย์</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ลักษณะพิเศษของกาพย์เห่เรือ</span><br />\n<span style=\"color: #cc99ff\"> 1. ลักษณะของสำนวนและความหมาย  ใช้สำนวนกะทัดรัด มีความหมายเด่นชัดเข้าใจง่ายและมีน้ำหนักอย่างเหมาะสม<br />\n2. ลักษณะถ้อยคำ ใช้ถ้อยคำเกลี้ยงเกลาสละสลวย ไพเราะด้วยการสัมผัสและทำให้เกิดภาพพจน์ <br />\n3. ลักษณะการพรรณนา การพรรณนาความรู้สึกลึกซึ้งและแยบคายมาก    <br />\n4. ลักษณะอารมณ์ เกิดอารมณ์สะเทือนใจ                       <br />\n5. ลักษณะการแต่ง แต่งถูกต้อง มีการเล่นอักษร มีสำนวนอุปมาอุปไมย</span>    \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">การพิจารณาคุณค่าด้านวรรณศิลป์ <br />\n</span>  <span style=\"color: #3366ff\"> 1. เนื้อหา แบ่งออกเป็น 5 ตอน คือ<br />\n1.1 การชมขบวนเรือในเวลาเช้า ได้พรรณนาไว้อย่างละเอียด พิสดาร<br />\n1.2 การชมฝูงปลาในเวลาสายอุปมาอุปไมยอย่างแจ่มชัดและกินใจอย่างยิ่ง<br />\n1.3 การชมพรรณนาดอกไม้ในเวลากลางวัน สอดใส่ความรู้สึก และอารมณ์ให้ผู้อ่านคล้อยตาม<br />\n1.4 การชมฝูงนกในเวลาเย็น อุปมาอุปไมยแจ่มชัด เด่นชัด<br />\n1.5 การคร่ำครวญถึงนาง ในเวลากลางคืน สร้างบรรยากาศเชิงอรรถรสและวังเวง<br />\n</span>  <span style=\"color: #800000\"> 2. รูปแบบ ลักษณะคำประพันธ์ ใช้กาพย์ห่อโคลง คือ แต่งโคลงสี่สุภาพแล้วแต่งกาพย์เลียนแบบพรรณนาเพิ่มเติม<br />\nศิลปการประพันธ์ทำให้เกิดภาพพจน์ แบะความรู้สึกทางสุนทรียะอันได้แก่ ความ ชื่นชมในสิ่งสวยงามตามธรรมชาติ ความไพเราะของดนตรี ความรู้สึกแยบคายทาง อารมณ์สะเทือนใจ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">การพิจารณาคุณค่าด้านสังคม</span>  \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">1. สะท้อนภาพชีวิตคนไทยด้านการคมนาคม แสดงการสัญจรทางน้ำให้เห็นว่าเมืองไทยมีแม่น้ำลำคลองมาก<br />\n2. แสดงถึงขนบธรรมเนียมประเพณี เช่น ประเพณีการแต่งกาย ผู้หญิงห่มผ้าสไบคลุมไหล่ เป็นต้การไว้ทรงผม ผู้หญิงนิยมไว้ผมยาวประบ่า แล้วเก็บไรที่ถอนผมออกเป็นวงกลมการบอกเวลา นิยมใช้กลอง ฆ้องเป็นเครื่องบอกเปลี่ยนเวลา</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/76555\"><img src=\"/files/u31498/b___________________copy.jpg\" width=\"200\" height=\"80\" /></a>  <a href=\"/node/76578\"><img src=\"/files/u31498/________________________________________copy_13.jpg\" width=\"200\" height=\"80\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/72840\"><img src=\"/files/u31498/diiv10x_1.gif\" width=\"87\" height=\"80\" /></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"></span>\n</p>\n', created = 1715723229, expire = 1715809629, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:56b84b77486d436124ad3bcd8f8f3b9e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กาพย์เห่เรือ

รูปภาพของ sss28816

กาพย์เห่เรือ

ที่มา  http://www.thaigoodview.com/files/u31498/2007-11-05-003.jpg

ผู้แต่ง  เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ หรือเจ้าฟ้ากุ้ง
เนื้อเรื่อง  ได้กล่าวถึงกาพย์เห่เรือไว้เพียง 4 เรื่อง  นั้นคือ กาพย์เห่ชมเรือ  กาพย์เห่ชมปลา กาพย์เห่ชมไม้ และกาพย์เห่ชมนก

ความรู้ที่ได้จากเรื่อง
1. ได้รับรู้ขนบธรรมเนียมประเพณีและสภาพสังคม เช่น  ประเพณีเห่เรือและประเภทของเรือ ประเพณีการแต่งกาย ผู้หญิงห่มผ้าสไบคลุมไหล่ ถ้าผู้หญิงชั้นสูง ๆ หรือมีฐานะ ห่มสไบทำด้วยตาด การไว้ทรงผม ผู้หญิงไว้ผมยาวประลงมาถึงบ่าแล้วเก็บไรถอนผมออกเป็นวงกลม การบอกเวลา นิยมใช้กลอง ฆ้องเป็นเครื่องบอกเปลี่ยนเวลา
2. ได้รู้จักชื่อสัตว์ทั้งสัตว์บก สัตว์น้ำและชื่อต้นไม้
3. ได้รับความรู้เกี่ยวกับการจัดขบวนพยุหยาตราทางชลมารค และชนิดของเรือ
4. ได้รู้เทพนิยายระหว่างครุฑกับนาค เรื่องมีว่า ครุฑกับนาคเกิดจากบิดาเดียวกัน แต่ต่างมารดา มารดาครุฑถูกมารดาของนาคกลั่นแกล้งข่มเหง จนตกเป็นทาสของมารดานาค ครุฑเจ็บใจมากขึงผู้ใจเจ็บ ต่อมาครุฑได้พรจากพระนารายณ์ให้จับนาคกินได้ ครุฑเป็นพาหนะของพระนารายณ์
5. ได้ความรู้เกี่ยวกับคำและวิธีการใช้คำ เช่น ชดช้อย  พรหมินทร์  เสด็จ สำอาง อร่าม

ลักษณะการแต่ง
   ๑. ร้อยกรอง ประเภทกาพย์เห่เรือ จบด้วย กาพย์ห่อโคลง ( บางตำราใช้กาพย์ห่อโคลงเห่เรือ )
๒. กาพย์เห่เรือ ๑ บท ประกอบด้วย โคลงสี่สุภาพนำ ๑ บท แล้วกาพย์ยานี ๑๑ ไม่จำกัด จำนวนบท โดยให้กาพย์ยานี ๑๑ บทแรก มีเนื้อความเดียวกันกับโคลงสี่สุภาพที่นำกาพย์

ลักษณะพิเศษของกาพย์เห่เรือ
 1. ลักษณะของสำนวนและความหมาย  ใช้สำนวนกะทัดรัด มีความหมายเด่นชัดเข้าใจง่ายและมีน้ำหนักอย่างเหมาะสม
2. ลักษณะถ้อยคำ ใช้ถ้อยคำเกลี้ยงเกลาสละสลวย ไพเราะด้วยการสัมผัสและทำให้เกิดภาพพจน์
3. ลักษณะการพรรณนา การพรรณนาความรู้สึกลึกซึ้งและแยบคายมาก   
4. ลักษณะอารมณ์ เกิดอารมณ์สะเทือนใจ                      
5. ลักษณะการแต่ง แต่งถูกต้อง มีการเล่นอักษร มีสำนวนอุปมาอุปไมย
    

การพิจารณาคุณค่าด้านวรรณศิลป์ 
   1. เนื้อหา แบ่งออกเป็น 5 ตอน คือ
1.1 การชมขบวนเรือในเวลาเช้า ได้พรรณนาไว้อย่างละเอียด พิสดาร
1.2 การชมฝูงปลาในเวลาสายอุปมาอุปไมยอย่างแจ่มชัดและกินใจอย่างยิ่ง
1.3 การชมพรรณนาดอกไม้ในเวลากลางวัน สอดใส่ความรู้สึก และอารมณ์ให้ผู้อ่านคล้อยตาม
1.4 การชมฝูงนกในเวลาเย็น อุปมาอุปไมยแจ่มชัด เด่นชัด
1.5 การคร่ำครวญถึงนาง ในเวลากลางคืน สร้างบรรยากาศเชิงอรรถรสและวังเวง
   2. รูปแบบ ลักษณะคำประพันธ์ ใช้กาพย์ห่อโคลง คือ แต่งโคลงสี่สุภาพแล้วแต่งกาพย์เลียนแบบพรรณนาเพิ่มเติม
ศิลปการประพันธ์ทำให้เกิดภาพพจน์ แบะความรู้สึกทางสุนทรียะอันได้แก่ ความ ชื่นชมในสิ่งสวยงามตามธรรมชาติ ความไพเราะของดนตรี ความรู้สึกแยบคายทาง อารมณ์สะเทือนใจ

การพิจารณาคุณค่าด้านสังคม  

1. สะท้อนภาพชีวิตคนไทยด้านการคมนาคม แสดงการสัญจรทางน้ำให้เห็นว่าเมืองไทยมีแม่น้ำลำคลองมาก
2. แสดงถึงขนบธรรมเนียมประเพณี เช่น ประเพณีการแต่งกาย ผู้หญิงห่มผ้าสไบคลุมไหล่ เป็นต้การไว้ทรงผม ผู้หญิงนิยมไว้ผมยาวประบ่า แล้วเก็บไรที่ถอนผมออกเป็นวงกลมการบอกเวลา นิยมใช้กลอง ฆ้องเป็นเครื่องบอกเปลี่ยนเวลา

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 442 คน กำลังออนไลน์