• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:141fc3475df4e955aca98ceb5213d176' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"> </span><img src=\"/files/u31498/________________________________________copy_5.jpg\" width=\"583\" height=\"300\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\">ขุนช้างขุนแผน  ตอน  ขุนช้างถวายฎีกา</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31498/EL-20080516-192514_0.jpg\" style=\"width: 393px; height: 312px\" width=\"478\" border=\"0\" height=\"395\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #00ff00\">ที่มา</span>  <a href=\"/files/u31498/EL-20080516-192514_0.jpg\">http://www.thaigoodview.com/files/u31498/EL-20080516-192514_0.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\">ผู้แต่ง</span>  <span style=\"color: #0000ff\">ไม่ทราบนาม<br />\n</span><span style=\"color: #993366\">ที่มา</span>  <span style=\"color: #0000ff\">นิทานพื้นบ้านของจังหวัดสุพรรณบุรีและกาญจนบุรี</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #993366\">เนื้อเรื่องย่อ</span><br />\n<span style=\"color: #ff6600\">ฝ่ายพลายงาม เมื่อชนะความขุนช้างแล้ว ก็อยู่มาด้วยความสุข แต่มาคิดว่ายังขาดแต่มารดา เห็นว่าไม่ควรคู่กับขุนช้าง แล้วคิดว่าจะรับแม่กลับมาอยู่กับขุนแผน  พอตกค่ำจึงออกเดินทางไปบ้านขุนช้าง สะกดผู้คน ภูตพราย และแก้อาถรรพณ์ แล้วสะเดาะกลอน เข้าไปถึงชั้นสามห้องนอน ถอนสะกดนางวันทอง แล้วเจรจากัน พระไวยแจ้งว่าจะมารับนางวันทองกลับไปบ้าน นางวันทองแนะนำให้นำเรื่องขึ้นกราบทูลพระพันวษา <br />\nพลายงามไม่เห็นด้วยและจะพาไปให้ได้ นางวันทองจนใจจึงยอมไปกับพระไวย  ขุนช้างตื่นขึ้นไม่พบนางวันทอง ให้บ่าวไพร่ค้นหาไม่พบ ฝ่ายพลายงามได้คิดว่า ถ้าขุนช้างรู้ว่าลักนางวันทองมา ก็คงจะนำความขึ้นกราบทูลสมเด็จพระพันวษา มารดาก็จะต้องโทษ คิดแล้วจึงให้หมื่นวิเศษผล ไปหาขุนช้างที่บ้าน ช่วยไกล่เกลี่ยเรื่องราว อย่าให้ขุนช้างโกรธ ด้วยเป็นคนที่เคยชอบพอกัน โดยให้บอกขุนช้างว่า ตนจับไข้อยู่หลายวัน เกรงว่าแม่ไม่ทันจะเห็นหน้า จึงให้คนไปพาแม่มา พอให้ตนหายไข้แล้ว จะส่งมารดาคืนกลับไป    หมื่นวิเศษรับคำแล้วก็รีบไปบ้านขุนช้าง แจ้งเรื่องตามที่พระไวยสั่งมาทุกประการ ขุนช้างได้ฟังก็ทั้งโกรธและแค้น เมื่อข่มความโกรธแล้วก็ตอบไปว่า ไม่เป็นไรเรื่องการเจ็บไข้ ถ้าขัดสนสิ่งไรก็ขอให้มาเอาที่ตนได้ ว่าแล้วก็ปิดหน้าต่างใส่ ด้วยความเดือดดาลและแค้นใจ <br />\n</span> <span style=\"color: #ff00ff\"> ฝ่ายขุนช้างร่างฟ้องเสร็จแล้ว ก็มาที่วังใน รออยู่ที่ใต้ตำหนักน้ำ พอสมเด็จพระพันวษาเสด็จกลับวังทางเรือตอนจวนค่ำ ขุนช้างก็ลงลอยคอเข้าถวายฎีกา  สมเด็จพระพันวษาเห็นเข้า ก็ทรงพระพิโรธ ให้รับฎีกาไว้ แล้วเอาตัวไปเฆี่ยนสามสิบที จากนั้นให้ตั้งกฤษฎีกาว่า ตั้งแต่นี้ไป ถ้าใครปล่อยให้ใครเข้ามาในล้อมวง ต้องระวางโทษเจ็ดสถาน ถึงประหารชีวิต <br />\n</span>  <span style=\"color: #33cccc\">ฝ่ายขุนแผนได้อยู่กับนางแก้วกิริยา และนางลาวทองมาด้วยความผาสุข ตกกลางคืนคิดถึงนางวันทอง จึงออกเดินมาที่ห้องนางวันทอง ที่เรือนพระไวย ปลุกนางขึ้นมาสนทนาด้วย ได้พร่ำรำพันถึงความหลัง ที่ตกทุกข์ได้ยากด้วยกันมา นางวันทองแนะนำขุนแผน ให้นำความขึ้นเพ็ดทูลพระพันวษา และไม่ยอมตกเป็นของขุนแผน พอตกดึกก็ฝันไปว่า ถูกพยัคฆ์ตะครุบ คาบตัวไปในป่า ตกใจตื่น แก้ฝันให้ขุนแผนฟัง ขุนแผนได้ฟังก็ใจหาย รู้ว่าฝันร้ายมีอันตราย        วันรุ่งขึ้น สมเด็จพระพันวษาเสด็จออกว่าราชการ เห็นขุนช้างเข้าเฝ้าอยู่ จึงตรัสว่า เรื่องนางวันทองไม่รู้จบ เมื่อครั้งก่อน เรื่องตกหนักที่นางศรีประจัน ก็ตัดสินไปอยู่กับขุนแผน แต่ทำไมกลับมาอยู่กับขุนช้าง แล้วให้หมื่นศรีไปเอาตัวนางวันทอง ขุนแผนและพระไวยมาเฝ้า ทั้งสามคนได้ฟังความก็ตกใจ ขุนแผนจึงจัดการช่วยเหลือนางวันทองด้วยเวทมนตร์ แล้วจึงพากันไปเข้าเฝ้าสมเด็จพระพันวษาจึงตรัสถามนางวันทอง ถึงเรื่องราวแต่หนหลัง นางวันทองก็กราบทูลให้ทรงทราบ เมื่อทรงทราบแล้ว ก็กริ้วขุนช้างเป็นกำลัง แล้วตรัสถามนางวันทองต่อไปว่า เวลาล่วงไปแล้วถึงสิบแปดปี แต่ทำไมวันนี้จึงมาได้ นางวันทองก็กราบทูลว่า พระไวยไปรับเมื่อตอนกลางคืน สมเด็จพระพันวษาได้ฟัง ก็ทรงขุ่นเคืองพระไวย ที่ทำตามอำเภอใจเพราะแย่งชิงนางวันทองกัน จึงให้นางวันทองตัดสินใจว่า จะอยู่กับใคร หรือถ้าไม่อยากอยู่กับทั้งสองคน จะเลือกอยู่กับลูกก็ได้ นางวันทองเมื่อถึงคราวจะสิ้นอายุ ไม่สามารถตัดสินใจได้ จึงกราบทูลเป็นกลางไป หวังจะให้สมเด็จพนะพันวษาตัดสินให้สมเด็จพระพันวษาได้ทรงฟังนางวันทองพูดแล้ว ก็พิโรธยิ่งนัก ตรัสประนามนางวันทองว่าเป็นหญิงหลายใจ อย่าอยู่ให้หนักแผ่นดิน ให้เอาตัวไปฆ่าเสีย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\">คุณค่าด้านวรรณศิลป์ <br />\n</span>  <span style=\"color: #800000\"> <span style=\"color: #333399\">1.สะท้อนถึงอารมณ์โกรธแค้นและสะเทือนใจ <br />\n2.มีการพรรณณาถึงเรื่องฝันร้าย<br />\n3.ใช้ถ้อยคำเกิดความเศร้าสะเทือนใจสงสารในชะตากรรมของตัวละคร</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\">คุณค่าด้านสังคม</span> <br />\n<span style=\"color: #99ccff\"> แสดงค่านิยมและความเชื่อของคนในสังคมสมัยอยุธยาซึ่งแม้ว่าจะไม่อาจประเมินข้อเท็จจริงทางสังคมได้เช่นเดียวกันกับเอกสารทางประวัติศาสตร์  แต่วรรณคดีเรื่องนี้ก็เป็นภาพสะท้อนที่แสดงให้เห็นโลกทัศน์ของครอบครัวขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยาและรัตนโกสินทร์ว่ามีความจงรักภักดีต่อองค์พระมหากษัตริย์อย่างสุดสูงเพียงใด สะท้อนให้ว่าในสังคมสมัยนั้นกษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยึ่งมีอำนาจอยู่เหนือกฎหมายและสะท้อนให้เห็นในสมัยนั้นจะมีการตีฆ้องบอกเวลาและจะมีเรื่องเกี่ยวความเชื่อเช่นเชื่อเรื่องภูตผีปีศาจ   คาถาอาคม   เรื่องโชคชะตาดวงของคน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99ccff\"><br />\n</span>                    <span style=\"color: #993366\">คำอธิบายศัพท์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">1. ทรามสวาดิ                           เป็นที่รัก <br />\n2. ตกว่า                                  ราวกับว่า <br />\n3. ฏีกา                                    คำร้องทุกข์ที่ยื่นถวายพระเจ้าแผ่นดิน <br />\n4. เพรางาย                              เวลาเช้า และเวลาเย็น <br />\n5. เมรุไก                                 ภูเขา <br />\n6. ร้องเกน                               ร้องตะโกนดังๆ <br />\n7. สะเดากลอน                         ทำให้กลอนประตูหลุดออกได้ด้วยคาถาอาคม <br />\n8. แหงนเถ่อ                            ค้างอยู่ <br />\n9. อุธัจ                                   ตกประหม่า <br />\n10. มินหม้อ                             เขม่าดำที่ติดก้นหม้อ <br />\n11. ส่งทุกข์                             เข้าสวม <br />\n12. ขี้ครอก                              ลูกของข้าทาส <br />\n13. เครื่องอาน                          เครื่องกิน <br />\n14. จวงจันทน์                          เครื่องหอมที่เจือด้วยไม้จวงและไม้จันทน์ <br />\n15. ฉวยสบเพลง                       บังเอิญถูกจังหวะ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/76340\"><img src=\"/files/u31498/diiv10x_3.gif\" width=\"87\" height=\"80\" /></a>\n</p>\n', created = 1715674955, expire = 1715761355, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:141fc3475df4e955aca98ceb5213d176' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา

รูปภาพของ sss28816

 

 

ขุนช้างขุนแผน  ตอน  ขุนช้างถวายฎีกา

 

ที่มา  http://www.thaigoodview.com/files/u31498/EL-20080516-192514_0.jpg

ผู้แต่ง  ไม่ทราบนาม
ที่มา  นิทานพื้นบ้านของจังหวัดสุพรรณบุรีและกาญจนบุรี


เนื้อเรื่องย่อ
ฝ่ายพลายงาม เมื่อชนะความขุนช้างแล้ว ก็อยู่มาด้วยความสุข แต่มาคิดว่ายังขาดแต่มารดา เห็นว่าไม่ควรคู่กับขุนช้าง แล้วคิดว่าจะรับแม่กลับมาอยู่กับขุนแผน  พอตกค่ำจึงออกเดินทางไปบ้านขุนช้าง สะกดผู้คน ภูตพราย และแก้อาถรรพณ์ แล้วสะเดาะกลอน เข้าไปถึงชั้นสามห้องนอน ถอนสะกดนางวันทอง แล้วเจรจากัน พระไวยแจ้งว่าจะมารับนางวันทองกลับไปบ้าน นางวันทองแนะนำให้นำเรื่องขึ้นกราบทูลพระพันวษา
พลายงามไม่เห็นด้วยและจะพาไปให้ได้ นางวันทองจนใจจึงยอมไปกับพระไวย  ขุนช้างตื่นขึ้นไม่พบนางวันทอง ให้บ่าวไพร่ค้นหาไม่พบ ฝ่ายพลายงามได้คิดว่า ถ้าขุนช้างรู้ว่าลักนางวันทองมา ก็คงจะนำความขึ้นกราบทูลสมเด็จพระพันวษา มารดาก็จะต้องโทษ คิดแล้วจึงให้หมื่นวิเศษผล ไปหาขุนช้างที่บ้าน ช่วยไกล่เกลี่ยเรื่องราว อย่าให้ขุนช้างโกรธ ด้วยเป็นคนที่เคยชอบพอกัน โดยให้บอกขุนช้างว่า ตนจับไข้อยู่หลายวัน เกรงว่าแม่ไม่ทันจะเห็นหน้า จึงให้คนไปพาแม่มา พอให้ตนหายไข้แล้ว จะส่งมารดาคืนกลับไป    หมื่นวิเศษรับคำแล้วก็รีบไปบ้านขุนช้าง แจ้งเรื่องตามที่พระไวยสั่งมาทุกประการ ขุนช้างได้ฟังก็ทั้งโกรธและแค้น เมื่อข่มความโกรธแล้วก็ตอบไปว่า ไม่เป็นไรเรื่องการเจ็บไข้ ถ้าขัดสนสิ่งไรก็ขอให้มาเอาที่ตนได้ ว่าแล้วก็ปิดหน้าต่างใส่ ด้วยความเดือดดาลและแค้นใจ
  ฝ่ายขุนช้างร่างฟ้องเสร็จแล้ว ก็มาที่วังใน รออยู่ที่ใต้ตำหนักน้ำ พอสมเด็จพระพันวษาเสด็จกลับวังทางเรือตอนจวนค่ำ ขุนช้างก็ลงลอยคอเข้าถวายฎีกา  สมเด็จพระพันวษาเห็นเข้า ก็ทรงพระพิโรธ ให้รับฎีกาไว้ แล้วเอาตัวไปเฆี่ยนสามสิบที จากนั้นให้ตั้งกฤษฎีกาว่า ตั้งแต่นี้ไป ถ้าใครปล่อยให้ใครเข้ามาในล้อมวง ต้องระวางโทษเจ็ดสถาน ถึงประหารชีวิต
  ฝ่ายขุนแผนได้อยู่กับนางแก้วกิริยา และนางลาวทองมาด้วยความผาสุข ตกกลางคืนคิดถึงนางวันทอง จึงออกเดินมาที่ห้องนางวันทอง ที่เรือนพระไวย ปลุกนางขึ้นมาสนทนาด้วย ได้พร่ำรำพันถึงความหลัง ที่ตกทุกข์ได้ยากด้วยกันมา นางวันทองแนะนำขุนแผน ให้นำความขึ้นเพ็ดทูลพระพันวษา และไม่ยอมตกเป็นของขุนแผน พอตกดึกก็ฝันไปว่า ถูกพยัคฆ์ตะครุบ คาบตัวไปในป่า ตกใจตื่น แก้ฝันให้ขุนแผนฟัง ขุนแผนได้ฟังก็ใจหาย รู้ว่าฝันร้ายมีอันตราย        วันรุ่งขึ้น สมเด็จพระพันวษาเสด็จออกว่าราชการ เห็นขุนช้างเข้าเฝ้าอยู่ จึงตรัสว่า เรื่องนางวันทองไม่รู้จบ เมื่อครั้งก่อน เรื่องตกหนักที่นางศรีประจัน ก็ตัดสินไปอยู่กับขุนแผน แต่ทำไมกลับมาอยู่กับขุนช้าง แล้วให้หมื่นศรีไปเอาตัวนางวันทอง ขุนแผนและพระไวยมาเฝ้า ทั้งสามคนได้ฟังความก็ตกใจ ขุนแผนจึงจัดการช่วยเหลือนางวันทองด้วยเวทมนตร์ แล้วจึงพากันไปเข้าเฝ้าสมเด็จพระพันวษาจึงตรัสถามนางวันทอง ถึงเรื่องราวแต่หนหลัง นางวันทองก็กราบทูลให้ทรงทราบ เมื่อทรงทราบแล้ว ก็กริ้วขุนช้างเป็นกำลัง แล้วตรัสถามนางวันทองต่อไปว่า เวลาล่วงไปแล้วถึงสิบแปดปี แต่ทำไมวันนี้จึงมาได้ นางวันทองก็กราบทูลว่า พระไวยไปรับเมื่อตอนกลางคืน สมเด็จพระพันวษาได้ฟัง ก็ทรงขุ่นเคืองพระไวย ที่ทำตามอำเภอใจเพราะแย่งชิงนางวันทองกัน จึงให้นางวันทองตัดสินใจว่า จะอยู่กับใคร หรือถ้าไม่อยากอยู่กับทั้งสองคน จะเลือกอยู่กับลูกก็ได้ นางวันทองเมื่อถึงคราวจะสิ้นอายุ ไม่สามารถตัดสินใจได้ จึงกราบทูลเป็นกลางไป หวังจะให้สมเด็จพนะพันวษาตัดสินให้สมเด็จพระพันวษาได้ทรงฟังนางวันทองพูดแล้ว ก็พิโรธยิ่งนัก ตรัสประนามนางวันทองว่าเป็นหญิงหลายใจ อย่าอยู่ให้หนักแผ่นดิน ให้เอาตัวไปฆ่าเสีย

คุณค่าด้านวรรณศิลป์
   1.สะท้อนถึงอารมณ์โกรธแค้นและสะเทือนใจ
2.มีการพรรณณาถึงเรื่องฝันร้าย
3.ใช้ถ้อยคำเกิดความเศร้าสะเทือนใจสงสารในชะตากรรมของตัวละคร

คุณค่าด้านสังคม
แสดงค่านิยมและความเชื่อของคนในสังคมสมัยอยุธยาซึ่งแม้ว่าจะไม่อาจประเมินข้อเท็จจริงทางสังคมได้เช่นเดียวกันกับเอกสารทางประวัติศาสตร์  แต่วรรณคดีเรื่องนี้ก็เป็นภาพสะท้อนที่แสดงให้เห็นโลกทัศน์ของครอบครัวขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยาและรัตนโกสินทร์ว่ามีความจงรักภักดีต่อองค์พระมหากษัตริย์อย่างสุดสูงเพียงใด สะท้อนให้ว่าในสังคมสมัยนั้นกษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยึ่งมีอำนาจอยู่เหนือกฎหมายและสะท้อนให้เห็นในสมัยนั้นจะมีการตีฆ้องบอกเวลาและจะมีเรื่องเกี่ยวความเชื่อเช่นเชื่อเรื่องภูตผีปีศาจ   คาถาอาคม   เรื่องโชคชะตาดวงของคน


                    คำอธิบายศัพท์

1. ทรามสวาดิ                           เป็นที่รัก
2. ตกว่า                                  ราวกับว่า
3. ฏีกา                                    คำร้องทุกข์ที่ยื่นถวายพระเจ้าแผ่นดิน
4. เพรางาย                              เวลาเช้า และเวลาเย็น
5. เมรุไก                                 ภูเขา
6. ร้องเกน                               ร้องตะโกนดังๆ
7. สะเดากลอน                         ทำให้กลอนประตูหลุดออกได้ด้วยคาถาอาคม
8. แหงนเถ่อ                            ค้างอยู่
9. อุธัจ                                   ตกประหม่า
10. มินหม้อ                             เขม่าดำที่ติดก้นหม้อ
11. ส่งทุกข์                             เข้าสวม
12. ขี้ครอก                              ลูกของข้าทาส
13. เครื่องอาน                          เครื่องกิน
14. จวงจันทน์                          เครื่องหอมที่เจือด้วยไม้จวงและไม้จันทน์
15. ฉวยสบเพลง                       บังเอิญถูกจังหวะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 464 คน กำลังออนไลน์