• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ddd19bbdacb29a00e3a3fcbaf27001b7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #2b3220\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"380\" width=\"380\" src=\"/files/u31712/Ch-B-H.jpg\" border=\"0\" />    \n</div>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/78380\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-G.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/72866\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-T.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/74804?page=0%2C0\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-BBC.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/72895\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-O.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/76193\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Dy.jpg\" border=\"0\" /></a><br />\n<a href=\"/node/78042\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-N.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/79404\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Ci.jpg\" border=\"0\" /></a><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-Qu.jpg\" border=\"0\" /><a href=\"/node/79405\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-m.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n</div>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-O.jpg\" border=\"0\" /></span></strong>\n</p>\n<p><strong><span style=\"color: #ff0000\"></span></strong></p>\n<div align=\"center\">\n<span class=\"PostHeader\"><span style=\"color: #444e32\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong> </strong><a href=\"/node/72906\"><strong>ยุคราชวงศ์เซี่ย</strong></a><strong>   <span class=\"PostHeader\"><a href=\"/node/75289\" title=\"ยุคราชวงศ์ซาง\">ยุคราชวงศ์ซาง</a></span></strong>   <span class=\"PostHeader\"><a href=\"/node/75297\" title=\"ยุคราชวงศ์โจว\"><strong>ยุคราชวงศ์โจว</strong></a></span> </span></span></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span class=\"PostHeader\"><span style=\"color: #444e32\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></span>\n</div>\n<p></p></span>\n</div>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"> ราชวงศ์โจวตะวันออก (771 -221 ก่อนคริสตกาล)</span></strong><br />\n <strong>ทิศเหนือ ใต้ ตะวันออก และตะวันตกของราชวงศ์</strong> \n</p>\n<p>\n        หลังจากที่ราชวงศ์โจวตะวันตกล่มสลาย พระเจ้าโจวผิงหวังเป็นโอรสของพระเจ้าโจวโยวหวัง ซึ่งเป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายของราชวงศ์โจวตะวันตกได้ขึ้นครองราชย์บัลลังก์ และได้ย้ายเมืองหลวงจากเมืองซีอัน มาที่เมืองลั่วหยาง ในประวัติศาสตร์จีนจึงเรียกราชวงศ์นี้ว่าราชวงศ์โจวตะวันออก <br />\n         ถ้าหากลองสังเกตประวัติศาสตร์จีน จะพบว่าชื่อของราชวงศ์ต่างๆ มักจะมีคำบอกทิศทาง อย่างเช่น ราชวงศ์โจวตะวันออกและราชวงศ์โจวตะวันตก ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก ราชวงศ์จิ้นตะวันออก ราชวงศ์จิ้นตะวันตก ราชวงศ์ซ่งเหนือ และราชวงศ์ซ่งใต้ สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะหลังจากที่สงครามผ่านไป ราชวงศ์เก่าล่มสลายไป แต่กษัตริย์ที่ครองราชย์บัลลังก์ สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์เดิม แต่ได้ทำการย้ายเมืองหลวงเพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง นักประวัติศาสตร์จึงเพิ่มคำบ่งบอกทิศทางเข้าไปในชื่อของราชวงศ์ โดยพิจารณาจากที่ตั้งของเมืองหลวง อาทิเช่น ราชวงศ์โจวเดิมตั้งเมืองหลวงอยู่ที่เมืองซีอันซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตก จึงเรียกราชวงศ์นี้ว่าราชวงศ์โจวตะวันตก ต่อมาได้มีการย้ายเมืองหลวงมาที่เมืองลั่วหยาง ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกของเมืองซีอัน จึงเรียกราชวงศ์นี้ว่าราชวงศ์โจวตะวันออก\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">สมัยชุนชิว และ สมัยจ้านกั๋ว (จั้นกว๋อ) (770 ปีก่อนคริสต์ศักราช – 221 ปีก่อนคริสต์ศักราช)</span></strong> <br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"> </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">สมัยชุนชิว</span></strong>\n</p>\n<p>\n            ราชวงศ์โจวตะวันออกแบ่งออกเป็น 2 ช่วง ช่วงแรกเรียกว่า สมัยชุนชิว เมื่อโจวผิงหวัง  ย้ายเมืองหลวง ราชสำนักโจวก็อ่อนแอลง จึงไม่มีอำนาจปกครองเหนือเหล่าแว่นแคว้นต่าง ๆอีก ทำให้เกิดเป็นสภาวะสุญญากาศทางการเมืองขึ้นในภูมิภาคนี้ <br />\n            ขณะเดียวกัน ชนเผ่า<strong>หมาน</strong> <strong> อี๋</strong>  และ<strong>หรงตี๋</strong>  ที่อยู่รอบนอกตามตะเข็บชายแดน ซึ่งได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากแผ่นดิน<strong>จงหยวน</strong>(ดินแดนแถบที่ราบภาคกลางของจีน) อีกทั้งมีการผสมผสานระหว่างชนเผ่า ทำให้ชุมชนเหล่านี้เจริญก้าวหน้าตามติดมาอย่างกระชั้นชิด ในขณะที่แว่นแคว้นต่าง ๆ ในแถบจงหยวนมีเงื่อนไขของความเจริญรุดหน้าที่ไม่ทัดเทียมกัน มีบ้างเข้มแข็ง บ้างอ่อนแอ ดังนั้น ทั่วทั้งภูมิภาคจึงเกิดการจับขั้วของอำนาจระหว่างแคว้น มีทั้งความร่วมมือและแย่งชิงอำนาจความเป็นใหญ่ ดังนั้น ในยุคราชวงศ์โจวตะวันออกจึงเป็นยุคที่มีความพลิกผันทางการเมืองอย่างสูง แต่ก็เป็นปัจจัยหนึ่งของการรวมประเทศจีนในอนาคต <br />\n         ดังนั้นเขตแคว้นทั้งหลายต่างแสวงหาผู้มีความรู้ความสามารถมาช่วยพัฒนาเพื่อให้เมืองของตนมีความเข้มแข็งมากขึ้น ดังนั้นในช่วงนี้ประเทศจีนจึงเกิดนักคิดเป็นจำนวนมาก พวกเค้าได้<strong>สร้างแนวคิด และทฤษฏีต่างๆ ไว้มากมาย</strong> เช่น <strong><span style=\"color: #ff9900\">ลัทธิหลูของขงจื่อ (ขงจื๊อ) ลัทธิเต๋าของเหล่าจื่อ (เล่าจื๊อ) และลัทธิกฎหมายของหันเฟยจื่อ</span></strong> เป็นต้น ในประวัติศาสตร์เรียกว่า <strong><span style=\"color: #ff0000\">ไป่เจียเจิงหมิง (ปรัชญาร้อยสำนัก)</span><br />\n</strong>    \n</p>\n<p>\n       เมื่อมีการย้ายนครหลวงไปยังตะวันออก ดินแดนฝั่งตะวันตกก็กลายเป็นแคว้นฉิน  ครอบคลุมเขตแดนของชนเผ่าหรง  และดินแดนโดยรอบ กลายเป็นแคว้นที่เข้มแข็งทางตะวันตก สำหรับแคว้นจิ้น  ปัจจุบันอยู่ในมณฑลซานซี ส่วนแคว้นฉี  และหลู่  อยู่ในมณฑลซานตง แคว้นฉู่  อยู่ในมณฑลหูเป่ย สำหรับปักกิ่งและดินแดนทางตอนเหนือของมณฑลเหอเป่ยในปัจจุบันเป็นแคว้นเอี้ยน  นอกจากนี้ทางตอนใต้ของลำน้ำฉางเจียงหรือแยงซีเกียงก่อเกิดเป็นแว่นแคว้นต่าง ๆมากมาย อาทิ แคว้นอู๋  แคว้นเยว่  เป็นต้น ล้วนเกิดจากการรวบรวมแว่นแคว้นเล็กที่อยู่โดยรอบเขตแดนของตน จนกระทั่งมีกำลังเข้มแข็งขึ้น ดังนั้นเองประวัติศาสตร์ในช่วงเวลาดังกล่าว จึงกลายสมรภูมิเลือดแห่งการแย่งชิงอำนาจของเจ้าแคว้นเหล่านี้<br />\n         การแย่งชิงอำนาจเพื่อให้ได้ตำแหน่งผู้นำที่ครองอำนาจเด็ดขาดในจงหยวนนั้น เริ่มต้นจาก ฉีหวนกง  เจ้าแคว้นฉีมอบหมายให้เสนาบดีก่วนจ้ง  แก้ไขปรับปรุงระบบการปกครองภายใน ทำให้แคว้นฉีเข้มแข็งขึ้น อีกทั้งยังดำเนินกุศโลบายเรียกร้องให้ ‘ พิทักษ์โจว ปราบอี๋ \'  นั่นคือพิทักษ์ราชสำนักโจวและร่วมมือปราบปรามชนเผ่านอกจงหยวน อาทิเช่น ร่วมมือกับแคว้นเอี้ยนปราบชนเผ่าหรง  หรือร่วมมือกับแคว้นต่าง ๆหยุดยั้งการรุกรานของชนเผ่าตี๋  เป็นต้น<br />\n         เมื่อแคว้นฉีเป็นใหญ่ในดินแดนจงหยวน แคว้นฉู่ซึ่งจึงได้แต่ขยายอำนาจลงไปทางตอนใต้ เมื่อสิ้นฉีหวนกงแล้ว แคว้นฉีเกิดการแย่งชิงอำนาจภายใน เป็นเหตุให้อ่อนแอลง แคว้นฉู่จึงได้โอกาสขยับขยายขึ้นเหนือมาอีกครั้ง ซ่งเซียงกง  เจ้าแคว้นซ่งคิดจะสืบทอดตำแหน่งผู้นำจงหยวนแทนฉีหวนกง จึงเข้าต่อกรกับแคว้นฉู่ สุดท้ายแม้แต่ชีวิตก็ต้องสูญสิ้นไป เมื่อเป็นเช่นนี้ แคว้นพันธมิตรที่เคยอยู่ภายใต้การนำของแคว้นฉี อาทิ แคว้นหลู่  ซ่ง  เจิ้ง  เฉิน  ไช่  สวี่  เฉา  เว่ย  เป็นต้น ต่างก็พากันหันมาเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับแคว้นฉู่  แทน <br />\n          ในขณะที่แคว้นฉู่คิดจะก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งผู้นำจงหยวนนั้นเอง แคว้นจิ้น  ก็เข้มแข็งขึ้นมา จิ้นเหวินกง  หลังจากที่ระหกระเหินลี้ภัยการเมืองไปยังแคว้นต่าง ๆนั้น เมื่อได้กลับสู่แว่นแคว้นของตน ก็ทำการปรับการปกครองภายในครั้งใหญ่ เพิ่มความเข้มแข็งทางการทหาร อีกทั้งยังคิดแย่งชิงตำแหน่งผู้นำจงหยวน <br />\n       ในช่วงเวลาแห่งการแย่งตำแหน่งผู้นำจงหยวนระหว่างแคว้นจิ้นและฉู่นั้นเอง แคว้นฉี และฉิน  ได้กลายเป็นขั้วมหาอำนาจทางทิศตะวันออกและตะวันตกไป ในช่วงปลายยุคชุนชิว แคว้นฉู่ร่วมมือกับฉิน แคว้นจิ้นจับมือกับฉี สองฝ่ายต่างมีกำลังที่ทัดเทียมกัน ทว่า สภาวะแห่งการแก่งแย่งตำแหน่งผู้นำจงหยวนกลับทวีความขัดแย้งทางการเมืองภายในของแต่ละแคว้นมากขึ้น ดังนั้น จึงถึงจุดสิ้นสุดของยุคผู้นำที่ ‘ ชูธงนำทัพ \' ออกปราบปรามบรรดาชนเผ่าภายนอก เมื่อถึงปีก่อนคริสตศักราช 579 แคว้นซ่งทำสัญญาพันธมิตรกับแคว้นจิ้นและฉู่ว่าต่างฝ่ายจะไม่โจมตีกัน มีการส่งทูตเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างกัน จะให้ความช่วยเหลือเมื่ออีกฝ่ายตกอยู่ในสถานการณ์ลำบาก และจะเข้าร่วมรบต้านทานศัตรูจากภายนอก <br />\n         ในยุคชุนชิว  (ปี 770-476 ก่อนคริสตศักราช) นี้ ความร่วมมือและสู้รบของแคว้นต่าง ๆ นอกจากเป็นการกระตุ้นความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมของแว่นแคว้นและดินแดนต่าง ๆแล้ว ยังมีส่วนช่วยเร่งเร้าการหลอมรวมเผ่าพันธุ์ระหว่างชนเผ่าให้เป็นหนึ่งเดียวอีกด้วย หลังจากผ่านการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ โยกย้ายผลัดเปลี่ยนฝักฝ่ายแล้ว บรรดาเจ้าแคว้นขนาดเล็กก็ทยอยถูกกลืนโดย 7 นครรัฐใหญ่ และแคว้นรอบข้างอีกสิบกว่าแคว้น\n</p>\n<p>\n<br />\n        <strong>ยุคชุนชิว</strong>  ในภาษาจีนหมายถึงฤดูใบไม้ผลิและฤดูใบไม้ร่วง เป็นการสื่อถึงสภาพความเป็นไปในยุคชุนชิวว่าเหมือนดั่งฤดูกาลแห่งความเปลี่ยนแปลงที่พลิกผันไม่แน่นอน\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/70565\"><img height=\"50\" width=\"125\" src=\"/files/u31712/Banner-Ch-H.jpg\" border=\"0\" /></a> \n</p>\n<p>\nแหล่งอ้างอิง <a href=\"http://www.thaichinese.net/History/Ancient/ancient.html#Zhou\"><u><span style=\"color: #0066cc\">http://www.thaichinese.net/History/Ancient/ancient.html#Zhou</span></u></a> <a href=\"http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-4.shtml\"><u><span style=\"color: #800080\">http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-4.shtml</span></u></a> <a href=\"http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-5.shtml\"><u><span style=\"color: #800080\">http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-5.shtml</span></u></a>\n</p>\n', created = 1728225345, expire = 1728311745, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ddd19bbdacb29a00e3a3fcbaf27001b7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ยุคราชวงศ์โจว

รูปภาพของ sss27520

 ราชวงศ์โจวตะวันออก (771 -221 ก่อนคริสตกาล)
 ทิศเหนือ ใต้ ตะวันออก และตะวันตกของราชวงศ์ 

        หลังจากที่ราชวงศ์โจวตะวันตกล่มสลาย พระเจ้าโจวผิงหวังเป็นโอรสของพระเจ้าโจวโยวหวัง ซึ่งเป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายของราชวงศ์โจวตะวันตกได้ขึ้นครองราชย์บัลลังก์ และได้ย้ายเมืองหลวงจากเมืองซีอัน มาที่เมืองลั่วหยาง ในประวัติศาสตร์จีนจึงเรียกราชวงศ์นี้ว่าราชวงศ์โจวตะวันออก
         ถ้าหากลองสังเกตประวัติศาสตร์จีน จะพบว่าชื่อของราชวงศ์ต่างๆ มักจะมีคำบอกทิศทาง อย่างเช่น ราชวงศ์โจวตะวันออกและราชวงศ์โจวตะวันตก ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก ราชวงศ์จิ้นตะวันออก ราชวงศ์จิ้นตะวันตก ราชวงศ์ซ่งเหนือ และราชวงศ์ซ่งใต้ สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะหลังจากที่สงครามผ่านไป ราชวงศ์เก่าล่มสลายไป แต่กษัตริย์ที่ครองราชย์บัลลังก์ สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์เดิม แต่ได้ทำการย้ายเมืองหลวงเพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง นักประวัติศาสตร์จึงเพิ่มคำบ่งบอกทิศทางเข้าไปในชื่อของราชวงศ์ โดยพิจารณาจากที่ตั้งของเมืองหลวง อาทิเช่น ราชวงศ์โจวเดิมตั้งเมืองหลวงอยู่ที่เมืองซีอันซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตก จึงเรียกราชวงศ์นี้ว่าราชวงศ์โจวตะวันตก ต่อมาได้มีการย้ายเมืองหลวงมาที่เมืองลั่วหยาง ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกของเมืองซีอัน จึงเรียกราชวงศ์นี้ว่าราชวงศ์โจวตะวันออก

สมัยชุนชิว และ สมัยจ้านกั๋ว (จั้นกว๋อ) (770 ปีก่อนคริสต์ศักราช – 221 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
 

สมัยชุนชิว

            ราชวงศ์โจวตะวันออกแบ่งออกเป็น 2 ช่วง ช่วงแรกเรียกว่า สมัยชุนชิว เมื่อโจวผิงหวัง  ย้ายเมืองหลวง ราชสำนักโจวก็อ่อนแอลง จึงไม่มีอำนาจปกครองเหนือเหล่าแว่นแคว้นต่าง ๆอีก ทำให้เกิดเป็นสภาวะสุญญากาศทางการเมืองขึ้นในภูมิภาคนี้
            ขณะเดียวกัน ชนเผ่าหมาน  อี๋  และหรงตี๋  ที่อยู่รอบนอกตามตะเข็บชายแดน ซึ่งได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากแผ่นดินจงหยวน(ดินแดนแถบที่ราบภาคกลางของจีน) อีกทั้งมีการผสมผสานระหว่างชนเผ่า ทำให้ชุมชนเหล่านี้เจริญก้าวหน้าตามติดมาอย่างกระชั้นชิด ในขณะที่แว่นแคว้นต่าง ๆ ในแถบจงหยวนมีเงื่อนไขของความเจริญรุดหน้าที่ไม่ทัดเทียมกัน มีบ้างเข้มแข็ง บ้างอ่อนแอ ดังนั้น ทั่วทั้งภูมิภาคจึงเกิดการจับขั้วของอำนาจระหว่างแคว้น มีทั้งความร่วมมือและแย่งชิงอำนาจความเป็นใหญ่ ดังนั้น ในยุคราชวงศ์โจวตะวันออกจึงเป็นยุคที่มีความพลิกผันทางการเมืองอย่างสูง แต่ก็เป็นปัจจัยหนึ่งของการรวมประเทศจีนในอนาคต
         ดังนั้นเขตแคว้นทั้งหลายต่างแสวงหาผู้มีความรู้ความสามารถมาช่วยพัฒนาเพื่อให้เมืองของตนมีความเข้มแข็งมากขึ้น ดังนั้นในช่วงนี้ประเทศจีนจึงเกิดนักคิดเป็นจำนวนมาก พวกเค้าได้สร้างแนวคิด และทฤษฏีต่างๆ ไว้มากมาย เช่น ลัทธิหลูของขงจื่อ (ขงจื๊อ) ลัทธิเต๋าของเหล่าจื่อ (เล่าจื๊อ) และลัทธิกฎหมายของหันเฟยจื่อ เป็นต้น ในประวัติศาสตร์เรียกว่า ไป่เจียเจิงหมิง (ปรัชญาร้อยสำนัก)
    

       เมื่อมีการย้ายนครหลวงไปยังตะวันออก ดินแดนฝั่งตะวันตกก็กลายเป็นแคว้นฉิน  ครอบคลุมเขตแดนของชนเผ่าหรง  และดินแดนโดยรอบ กลายเป็นแคว้นที่เข้มแข็งทางตะวันตก สำหรับแคว้นจิ้น  ปัจจุบันอยู่ในมณฑลซานซี ส่วนแคว้นฉี  และหลู่  อยู่ในมณฑลซานตง แคว้นฉู่  อยู่ในมณฑลหูเป่ย สำหรับปักกิ่งและดินแดนทางตอนเหนือของมณฑลเหอเป่ยในปัจจุบันเป็นแคว้นเอี้ยน  นอกจากนี้ทางตอนใต้ของลำน้ำฉางเจียงหรือแยงซีเกียงก่อเกิดเป็นแว่นแคว้นต่าง ๆมากมาย อาทิ แคว้นอู๋  แคว้นเยว่  เป็นต้น ล้วนเกิดจากการรวบรวมแว่นแคว้นเล็กที่อยู่โดยรอบเขตแดนของตน จนกระทั่งมีกำลังเข้มแข็งขึ้น ดังนั้นเองประวัติศาสตร์ในช่วงเวลาดังกล่าว จึงกลายสมรภูมิเลือดแห่งการแย่งชิงอำนาจของเจ้าแคว้นเหล่านี้
         การแย่งชิงอำนาจเพื่อให้ได้ตำแหน่งผู้นำที่ครองอำนาจเด็ดขาดในจงหยวนนั้น เริ่มต้นจาก ฉีหวนกง  เจ้าแคว้นฉีมอบหมายให้เสนาบดีก่วนจ้ง  แก้ไขปรับปรุงระบบการปกครองภายใน ทำให้แคว้นฉีเข้มแข็งขึ้น อีกทั้งยังดำเนินกุศโลบายเรียกร้องให้ ‘ พิทักษ์โจว ปราบอี๋ '  นั่นคือพิทักษ์ราชสำนักโจวและร่วมมือปราบปรามชนเผ่านอกจงหยวน อาทิเช่น ร่วมมือกับแคว้นเอี้ยนปราบชนเผ่าหรง  หรือร่วมมือกับแคว้นต่าง ๆหยุดยั้งการรุกรานของชนเผ่าตี๋  เป็นต้น
         เมื่อแคว้นฉีเป็นใหญ่ในดินแดนจงหยวน แคว้นฉู่ซึ่งจึงได้แต่ขยายอำนาจลงไปทางตอนใต้ เมื่อสิ้นฉีหวนกงแล้ว แคว้นฉีเกิดการแย่งชิงอำนาจภายใน เป็นเหตุให้อ่อนแอลง แคว้นฉู่จึงได้โอกาสขยับขยายขึ้นเหนือมาอีกครั้ง ซ่งเซียงกง  เจ้าแคว้นซ่งคิดจะสืบทอดตำแหน่งผู้นำจงหยวนแทนฉีหวนกง จึงเข้าต่อกรกับแคว้นฉู่ สุดท้ายแม้แต่ชีวิตก็ต้องสูญสิ้นไป เมื่อเป็นเช่นนี้ แคว้นพันธมิตรที่เคยอยู่ภายใต้การนำของแคว้นฉี อาทิ แคว้นหลู่  ซ่ง  เจิ้ง  เฉิน  ไช่  สวี่  เฉา  เว่ย  เป็นต้น ต่างก็พากันหันมาเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับแคว้นฉู่  แทน
          ในขณะที่แคว้นฉู่คิดจะก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งผู้นำจงหยวนนั้นเอง แคว้นจิ้น  ก็เข้มแข็งขึ้นมา จิ้นเหวินกง  หลังจากที่ระหกระเหินลี้ภัยการเมืองไปยังแคว้นต่าง ๆนั้น เมื่อได้กลับสู่แว่นแคว้นของตน ก็ทำการปรับการปกครองภายในครั้งใหญ่ เพิ่มความเข้มแข็งทางการทหาร อีกทั้งยังคิดแย่งชิงตำแหน่งผู้นำจงหยวน
       ในช่วงเวลาแห่งการแย่งตำแหน่งผู้นำจงหยวนระหว่างแคว้นจิ้นและฉู่นั้นเอง แคว้นฉี และฉิน  ได้กลายเป็นขั้วมหาอำนาจทางทิศตะวันออกและตะวันตกไป ในช่วงปลายยุคชุนชิว แคว้นฉู่ร่วมมือกับฉิน แคว้นจิ้นจับมือกับฉี สองฝ่ายต่างมีกำลังที่ทัดเทียมกัน ทว่า สภาวะแห่งการแก่งแย่งตำแหน่งผู้นำจงหยวนกลับทวีความขัดแย้งทางการเมืองภายในของแต่ละแคว้นมากขึ้น ดังนั้น จึงถึงจุดสิ้นสุดของยุคผู้นำที่ ‘ ชูธงนำทัพ ' ออกปราบปรามบรรดาชนเผ่าภายนอก เมื่อถึงปีก่อนคริสตศักราช 579 แคว้นซ่งทำสัญญาพันธมิตรกับแคว้นจิ้นและฉู่ว่าต่างฝ่ายจะไม่โจมตีกัน มีการส่งทูตเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างกัน จะให้ความช่วยเหลือเมื่ออีกฝ่ายตกอยู่ในสถานการณ์ลำบาก และจะเข้าร่วมรบต้านทานศัตรูจากภายนอก
         ในยุคชุนชิว  (ปี 770-476 ก่อนคริสตศักราช) นี้ ความร่วมมือและสู้รบของแคว้นต่าง ๆ นอกจากเป็นการกระตุ้นความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมของแว่นแคว้นและดินแดนต่าง ๆแล้ว ยังมีส่วนช่วยเร่งเร้าการหลอมรวมเผ่าพันธุ์ระหว่างชนเผ่าให้เป็นหนึ่งเดียวอีกด้วย หลังจากผ่านการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ โยกย้ายผลัดเปลี่ยนฝักฝ่ายแล้ว บรรดาเจ้าแคว้นขนาดเล็กก็ทยอยถูกกลืนโดย 7 นครรัฐใหญ่ และแคว้นรอบข้างอีกสิบกว่าแคว้น


        ยุคชุนชิว  ในภาษาจีนหมายถึงฤดูใบไม้ผลิและฤดูใบไม้ร่วง เป็นการสื่อถึงสภาพความเป็นไปในยุคชุนชิวว่าเหมือนดั่งฤดูกาลแห่งความเปลี่ยนแปลงที่พลิกผันไม่แน่นอน

 

แหล่งอ้างอิง http://www.thaichinese.net/History/Ancient/ancient.html#Zhou http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-4.shtml http://www.thaisamkok.com/china-dynasty-5.shtml

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 472 คน กำลังออนไลน์