• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:658d6dd0ba078520d1dd89311d8b6b21' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong>• ปุ๋ยฟอสเฟต</strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">  <span style=\"color: #ff99cc\"> </span></span><span style=\"color: #ff6600\">เป็นปุ๋ยที่ให้ธาตุฟอสฟอรัสในรูปของสารประกอบฟอสเฟต ใช้หินฟอสเฟต(CaF<sub>2</sub>.3Ca<sub>3</sub>(PO<sub>4</sub>)<sub>2</sub>) เป็นวัตถุดิบการผลิตปุ๋ยฟอสเฟตทำได้ 3 วิธี</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">         1. นำหินฟอสเฟตมาผสมกับทรายและโซดาแอช แล้วเผาที่อุณหภูมิ 1000-1200 องศาเซลเซียส</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">2(CaF<sub>2</sub>.3Ca<sub>3</sub>(PO<sub>4</sub>)<sub>2</sub>) + 5SiO<sub>2</sub> + 6Na<sub>2</sub>CO<sub>3</sub> → 12CaNaPO<sub>4</sub> + 4Ca<sub>2</sub>SiO<sub>4</sub> + SiF<sub>4</sub> + 6CO<sub>2</sub></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">             นำสารที่ได้จากการเผาเทลงน้ำ จะได้สารที่มีรูพรุน เปราะ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">         2. นำหินฟอสเฟตมาทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก ได้ปุ๋ยฟอสเฟตที่มีคุณภาพสูงขึ้นโดยนำหินฟอสเฟตที่บดแล้วมาทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">CaF<sub>2</sub>.3Ca<sub>3</sub>(PO<sub>4</sub>)<sub>2</sub> + 10H<sub>2</sub>PO<sub>4</sub> → 6H<sub>3</sub>PO<sub>4</sub> + 10CaSO<sub>4</sub> + 2HF</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">             ได้กรดฟอสฟอริก (H<sub>2</sub>PO<sub>4</sub>) ซึ่ง จะไปทำปฏิกิริยากับหินฟอสเฟตที่เหลือ จะได้มอนอแคลเซียมฟอสเฟต (Ca(H<sub>2</sub>PO<sub>4</sub>)<sub>2</sub>) หรือปุ๋ยซุปเปอร์ฟอสเฟตละลายน้ำได้ดี</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">         3. นำหินฟอสเฟตมาทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">CaF<sub>2</sub>.3Ca<sub>3</sub>(PO<sub>4</sub>)<sub>2</sub> + 7H<sub>2</sub>PO<sub>4</sub> + 3H<sub>2</sub>O → 3Ca(H<sub>2</sub>PO<sub>4</sub>)<sub>2</sub>.H<sub>2</sub>O + 7CaSO<sub>4</sub> + 2HF</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">         จากปฏิกิริยา ทั้งสาม จะพบว่าในส่วนประกอบหินฟอสเฟตจะมี CaF<sub>2</sub> ซึ่งเมื่อทำปฏิกิริยากับกรดจะได้ HF ซึ่งระเหยง่ายและเป็นพิษบางส่วนจะทำปฏิกิริยากับ SiO<sub>2 </sub>เกิดเป็นแก๊ส SiF<sub>4</sub>ซึ่งรวมกับน้ำทันทีเกิดเป็น H<sub>2</sub>SiF<sub>6</sub> หรืออาจนำ SiO<sub>2 </sub>มาทำปฏิกิริยากับ HFโดยตรงเกิดเป็น H<sub>2</sub>SiF<sub>6</sub> และเมื่อนำมาทำปฏิกิริยาต่อกับ MgO จะได้แมกนีเซียมซิลิโกฟลูออไรด์ (MgSiF<sub>6</sub>) ใช้เป็นสารกำจัดแมลง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">         HF ส่วนใหญ่จะระเหยกลายเป็นไอ จึงกำจัดโดยการผ่านแก๊ส ลงในน้ำทำให้ได้สารที่เป็นกรด ซึ่งทำให้เป็นกลางโดยทำปฏิกิริยากับโซดาแอชหรือหินปูน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"> 2HF + Na<sub>2</sub>CO<sub>3</sub> → 2NaF + H<sub>2</sub>O + CO<sub>2</sub></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"> 2HF + CaCO<sub>3</sub> → CaF + H<sub>2</sub>O + CO<sub>2</sub></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff6600\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />  <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />  <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"><a href=\"/node/40531\" title=\"Back\"><img border=\"0\" width=\"36\" src=\"/files/u18295/555-crop2.jpg\" height=\"40\" /></a>1234</span> <a href=\"/node/40508\" title=\"Home\"><img border=\"0\" width=\"48\" src=\"/files/u18295/bg.jpg\" height=\"45\" /></a><span style=\"color: #ffffff\">1234<a href=\"/node/40533\" title=\"Next\"><img border=\"0\" width=\"37\" src=\"/files/u18295/555-crop.jpg\" height=\"38\" /></a></span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715612379, expire = 1715698779, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:658d6dd0ba078520d1dd89311d8b6b21' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม

• ปุ๋ยฟอสเฟต

   เป็นปุ๋ยที่ให้ธาตุฟอสฟอรัสในรูปของสารประกอบฟอสเฟต ใช้หินฟอสเฟต(CaF2.3Ca3(PO4)2) เป็นวัตถุดิบการผลิตปุ๋ยฟอสเฟตทำได้ 3 วิธี

         1. นำหินฟอสเฟตมาผสมกับทรายและโซดาแอช แล้วเผาที่อุณหภูมิ 1000-1200 องศาเซลเซียส

2(CaF2.3Ca3(PO4)2) + 5SiO2 + 6Na2CO3 → 12CaNaPO4 + 4Ca2SiO4 + SiF4 + 6CO2

             นำสารที่ได้จากการเผาเทลงน้ำ จะได้สารที่มีรูพรุน เปราะ

         2. นำหินฟอสเฟตมาทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก ได้ปุ๋ยฟอสเฟตที่มีคุณภาพสูงขึ้นโดยนำหินฟอสเฟตที่บดแล้วมาทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก

CaF2.3Ca3(PO4)2 + 10H2PO4 → 6H3PO4 + 10CaSO4 + 2HF

             ได้กรดฟอสฟอริก (H2PO4) ซึ่ง จะไปทำปฏิกิริยากับหินฟอสเฟตที่เหลือ จะได้มอนอแคลเซียมฟอสเฟต (Ca(H2PO4)2) หรือปุ๋ยซุปเปอร์ฟอสเฟตละลายน้ำได้ดี

         3. นำหินฟอสเฟตมาทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก

CaF2.3Ca3(PO4)2 + 7H2PO4 + 3H2O → 3Ca(H2PO4)2.H2O + 7CaSO4 + 2HF

         จากปฏิกิริยา ทั้งสาม จะพบว่าในส่วนประกอบหินฟอสเฟตจะมี CaF2 ซึ่งเมื่อทำปฏิกิริยากับกรดจะได้ HF ซึ่งระเหยง่ายและเป็นพิษบางส่วนจะทำปฏิกิริยากับ SiO2 เกิดเป็นแก๊ส SiF4ซึ่งรวมกับน้ำทันทีเกิดเป็น H2SiF6 หรืออาจนำ SiO2 มาทำปฏิกิริยากับ HFโดยตรงเกิดเป็น H2SiF6 และเมื่อนำมาทำปฏิกิริยาต่อกับ MgO จะได้แมกนีเซียมซิลิโกฟลูออไรด์ (MgSiF6) ใช้เป็นสารกำจัดแมลง

         HF ส่วนใหญ่จะระเหยกลายเป็นไอ จึงกำจัดโดยการผ่านแก๊ส ลงในน้ำทำให้ได้สารที่เป็นกรด ซึ่งทำให้เป็นกลางโดยทำปฏิกิริยากับโซดาแอชหรือหินปูน

 2HF + Na2CO3 → 2NaF + H2O + CO2

 2HF + CaCO3 → CaF + H2O + CO2

 

    

1234 1234

สร้างโดย: 
ครูสมบัติ เอกเชี่ยวชาญ และนางสาวระพีพร เรืองสุรเชษฐ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 222 คน กำลังออนไลน์