• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1f434598de1a33989579ef5b8200e54f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #993366; background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #0000ff\"><strong>• ปุ๋ยโพแทส</strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366; background-color: #ffffff\">   ปุ๋ยโพแทสคือปุ๋ยเคมีที่มีธาตุโพแทสเซียมเป็นองค์ประกอบ ปุ๋ยชนิดนี้นิยมบอกความเข้มข้น เป็นค่าร้อยละโดยมวลของ K<sub>2</sub>O ปุ๋ยโพแทสเซียมชนิดต่าง ๆ นั้นพอจะกล่าวโดยสังเขปได้ดังนี้คือ โพแทสเซียมคลอไรด์ (KCl) ปุ๋ยที่บริสุทธิ์ 95% นั้นจะมีโพแทสเซียมที่อยู่ในรูป K<sub>2</sub>O เท่ากับ 60% ผลิตมาจากสินแร่โพแทสเซียม เช่น sylvinite  เป็นต้น และมีชื่อได้อีกว่า muriate of potash</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366; background-color: #ffffff\">  <strong> แร่ที่มีโพแทสเซียมเป็นส่วนประกอบ</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366; background-color: #ffffff\">   ในสมัยก่อน แหล่งของปุ๋ยโพแทสได้จากขี้เถ้าจากเตาถ่าน หรือจากการเผากิ่งไม้ ใบไม้และเศษเหลือของพืช</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366; background-color: #ffffff\">   ประเทศไทยมีแหล่งแร่โพแทสเป็นจำนวนมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในรูปของแร่คาร์นัลไลต์ (KCl.MgCl<sub>2</sub>.6H<sub>2</sub>O ) และแร่ซิลวาไนต์ (KCl.NaCl) ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ยโพแทสชนิดต่าง ๆ เช่น โพแทสเซียมคลอไรด์ (KCl) โพแทสเซียมซัลเฟต (K<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>) โพแทสเซียมไนเตรต (KNO<sub>3</sub>) และโพแทสเซียมแมกนีเซียมซัลเฟต (K<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>.2MgSO<sub>4</sub>)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366; background-color: #ffffff\">   <strong>1. ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์</strong> ผลิตได้จากแร่ซิลวาไนต์ มาบดให้ละเอียดแล้วทำให้บริสุทธิ์ โดยละลายแร่ในน้ำอุณหภูมิประมาณ 90<sup>๐</sup>C  เติมสารละลาย NaCl ที่อิ่มตัวลงไป กรองแยกโคลนและตะกอนออก ระเหยน้ำเพื่อให้สารละลายมีความเข้มข้นมากขึ้นจนทำให้ KCl ตกผลึก แยกผลึกออกแล้วอบให้แห้ง จะได้ปุ๋ย KCl ตามต้องการ นอกจากนี้ ยังสามารถผลิตปุ๋ยชนิดนี้จากน้ำทะเล โดยการระเหยน้ำทะเลด้วยความร้อนจากแสงอาทิตย์เพื่อให้มีความเข้มข้นสูงขึ้น เกลือ NaCl จะตกผลึกแยกออกมาก่อน นำสารละลายที่ได้ไประเหยน้ำออกเพื่อทำให้มีความเข้มข้นมากขึ้นทำให้ KCl ตกผลึกออกมาและใช้เป็นปุ๋ย KCl ได้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\">  <strong> </strong><span style=\"background-color: #ffffff\"><strong>2. ปุ๋ยโพแทสซียมซัลเฟต</strong> ผลิตได้จากการนำแร่แลงไบไนต์ (K<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>.2MgSO<sub>4</sub>) มาละลายในน้ำอุณหภูมิประมาณ 50<sup>๐</sup>C จนเป็นสารละลายอิ่มตัว แล้วเติมสารละลาย KCl เข้มข้นลงไป จะได้ผลึก K<sub>2</sub>SO<sub>4</sub> แยกออกมาดังสมการ</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993366; background-color: #ffffff\">K<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>.2MgSO<sub>4</sub> + 4KCl → 3K<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>  +  2MgCl<sub>2</sub></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366; background-color: #ffffff\">   <strong>3. นอกจากนี้ถ้านำ KCl มาทำปฏิกิริยากับ NaNO 3 จะได้ปุ๋ยโพแทสเซียมไนเตรต (KNO 3 )</strong> ดังสมการ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993366; background-color: #ffffff\">KCl  +  NaNO<sub>3</sub> → KNO<sub>3</sub>  +  NaCl</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993366; background-color: #ffffff\">   โพแทสเซียมเป็นธาตุอาหารหลักที่จำเป็นต่อพืชมาก ทำให้ผนังเซลล์ของพืชหนาขึ้น สร้างภูมิต้านทานโรค และเป็นตัวเร่งให้เซลล์ทำงานได้ดีขึ้น ถ้าพืชขาดโพแทสเซียมจะทำให้มีปริมาณแป้งต่ำกว่าปกติ ผลผลิตน้อยลง ขอบใบมีสีซีด ลำต้นอ่อน แคระแกร็นและเมล็ดลีบ</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #993366; background-color: #ffffff\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />  <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />  <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"><a href=\"/node/40532\" title=\"Back\"><img border=\"0\" width=\"36\" src=\"/files/u18295/555-crop2.jpg\" height=\"40\" /></a>1234</span> <a href=\"/node/40508\" title=\"Home\"><img border=\"0\" width=\"48\" src=\"/files/u18295/bg.jpg\" height=\"45\" /></a><span style=\"color: #ffffff\"><span style=\"color: #ffffff\">1234</span><a href=\"/node/51826\" title=\"Next\"><img border=\"0\" width=\"37\" src=\"/files/u18295/555-crop.jpg\" height=\"38\" /></a></span> \n</p>\n<p></p>\n', created = 1715609240, expire = 1715695640, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1f434598de1a33989579ef5b8200e54f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม

• ปุ๋ยโพแทส

   ปุ๋ยโพแทสคือปุ๋ยเคมีที่มีธาตุโพแทสเซียมเป็นองค์ประกอบ ปุ๋ยชนิดนี้นิยมบอกความเข้มข้น เป็นค่าร้อยละโดยมวลของ K2O ปุ๋ยโพแทสเซียมชนิดต่าง ๆ นั้นพอจะกล่าวโดยสังเขปได้ดังนี้คือ โพแทสเซียมคลอไรด์ (KCl) ปุ๋ยที่บริสุทธิ์ 95% นั้นจะมีโพแทสเซียมที่อยู่ในรูป K2O เท่ากับ 60% ผลิตมาจากสินแร่โพแทสเซียม เช่น sylvinite  เป็นต้น และมีชื่อได้อีกว่า muriate of potash

   แร่ที่มีโพแทสเซียมเป็นส่วนประกอบ

   ในสมัยก่อน แหล่งของปุ๋ยโพแทสได้จากขี้เถ้าจากเตาถ่าน หรือจากการเผากิ่งไม้ ใบไม้และเศษเหลือของพืช

   ประเทศไทยมีแหล่งแร่โพแทสเป็นจำนวนมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในรูปของแร่คาร์นัลไลต์ (KCl.MgCl2.6H2O ) และแร่ซิลวาไนต์ (KCl.NaCl) ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ยโพแทสชนิดต่าง ๆ เช่น โพแทสเซียมคลอไรด์ (KCl) โพแทสเซียมซัลเฟต (K2SO4) โพแทสเซียมไนเตรต (KNO3) และโพแทสเซียมแมกนีเซียมซัลเฟต (K2SO4.2MgSO4)

   1. ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์ ผลิตได้จากแร่ซิลวาไนต์ มาบดให้ละเอียดแล้วทำให้บริสุทธิ์ โดยละลายแร่ในน้ำอุณหภูมิประมาณ 90C  เติมสารละลาย NaCl ที่อิ่มตัวลงไป กรองแยกโคลนและตะกอนออก ระเหยน้ำเพื่อให้สารละลายมีความเข้มข้นมากขึ้นจนทำให้ KCl ตกผลึก แยกผลึกออกแล้วอบให้แห้ง จะได้ปุ๋ย KCl ตามต้องการ นอกจากนี้ ยังสามารถผลิตปุ๋ยชนิดนี้จากน้ำทะเล โดยการระเหยน้ำทะเลด้วยความร้อนจากแสงอาทิตย์เพื่อให้มีความเข้มข้นสูงขึ้น เกลือ NaCl จะตกผลึกแยกออกมาก่อน นำสารละลายที่ได้ไประเหยน้ำออกเพื่อทำให้มีความเข้มข้นมากขึ้นทำให้ KCl ตกผลึกออกมาและใช้เป็นปุ๋ย KCl ได้

   2. ปุ๋ยโพแทสซียมซัลเฟต ผลิตได้จากการนำแร่แลงไบไนต์ (K2SO4.2MgSO4) มาละลายในน้ำอุณหภูมิประมาณ 50C จนเป็นสารละลายอิ่มตัว แล้วเติมสารละลาย KCl เข้มข้นลงไป จะได้ผลึก K2SO4 แยกออกมาดังสมการ

K2SO4.2MgSO4 + 4KCl → 3K2SO4  +  2MgCl2

   3. นอกจากนี้ถ้านำ KCl มาทำปฏิกิริยากับ NaNO 3 จะได้ปุ๋ยโพแทสเซียมไนเตรต (KNO 3 ) ดังสมการ

KCl  +  NaNO3 → KNO3  +  NaCl

   โพแทสเซียมเป็นธาตุอาหารหลักที่จำเป็นต่อพืชมาก ทำให้ผนังเซลล์ของพืชหนาขึ้น สร้างภูมิต้านทานโรค และเป็นตัวเร่งให้เซลล์ทำงานได้ดีขึ้น ถ้าพืชขาดโพแทสเซียมจะทำให้มีปริมาณแป้งต่ำกว่าปกติ ผลผลิตน้อยลง ขอบใบมีสีซีด ลำต้นอ่อน แคระแกร็นและเมล็ดลีบ

 

    

1234 1234 

สร้างโดย: 
ครูสมบัติ เอกเชี่ยวชาญ และนางสาวระพีพร เรืองสุรเชษฐ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 350 คน กำลังออนไลน์