• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3768b717b8dee68b0898c7f2a5c042ed' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><span style=\"color: #008000\">• ปุ๋ยไนโตรเจน</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #008080\">   ปุ๋ยไนโตรเจน เป็นปุ๋ยเคมีที่ให้ธาตุไนโตรเจนเป็นธาตุหลัก ซึ่งช่วยให้พืชเจริญเติบโตดี ลำต้น ใบ แข็งแรง สามารถสร้างโปรตีนได้อย่างเพียงพอ โดยส่วนใหญ่อยู่ในรูปของสารประกอบ เช่น</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #008080\">         ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต ((NH<sub>4</sub>)<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>) เตรียมจากปฏิกิริยาระหว่างแก๊ส NH<sub>3</sub> กับ H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #008080\"><sub>            </sub>ปุ๋ยยูเรีย (NH<sub>2</sub>CONH<sub>2</sub>) เตรียมจากปฏิกิริยาระหว่างแก๊ส NH<sub>3</sub> กับแก๊ส CO<sub>2</sub></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #008080\"><sub>            </sub>ดังนั้น การผลิตปุ๋ยทั้งสองชนิดใช้แก๊ส NH<sub>3 </sub>H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub> และ แก๊ส CO<sub>2</sub> เป็นวัตถุดิบที่สำคัญ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #008080\">         วัตถุดิบที่ใช้เตรียมแก๊สแอมโมเนีย คือ ไนโตรเจน และ ไฮโดรเจน</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #008080\">         ไนโตรเจน เตรียมได้จากอากาศ โดยนำอากาศมาเพิ่มความดัน ลดอุณหภูมิให้กลายเป็นของเหลว แล้วเพิ่มอุณหภูมิถึงจุดเดือดของแก๊ส เพื่อแยกแก๊สไนโตรเจนออกจากอากาศ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #008080\">         ไฮโดรเจน เตรียมจากแก๊สที่เหลือ(ออกซิเจนส่วนใหญ่) ทำปฏิกิริยากับแก๊สมีเทน หรือ ใช้ไอน้ำทำปฏิกิริยากับแก๊สมีเทน</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #008080\">         การเตรียมแก๊สแอมโมเนีย นำแก๊ส N<sub>2</sub> และ H<sub>2</sub> ที่ผลิตได้มาทำปฏิกิริยากัน ได้แก๊ส NH<sub>3</sub> ดังนั้น เมื่อนำแก๊ส NH3 ทำปฏิกิริยากับแก๊ส CO<sub>2</sub> จะได้ปุ๋ยยูเรีย ดังสมการ</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #008080\">2NH<sub>3</sub> + CO<sub>2</sub> → NH<sub>2</sub>CO<sub>2</sub>NH<sub>4</sub></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #008080\">NH<sub>2</sub>CO<sub>2</sub>NH<sub>4</sub> → NH<sub>2</sub>CONH<sub>2</sub> + H2O</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #008080\">         การเตรียม H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub> - นำกำมะถันที่หลอมเหลว ทำปฏิกิริยากับ แก๊ส O<sub>2</sub> ได้แก๊ส SO<sub>2</sub></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #008080\"><sub>                                          </sub>- นำแก๊ส SO<sub>2</sub> ทำปฏิกิริยากับแก๊ส O<sub>2</sub> ได้แก๊ส SO<sub>3</sub></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #008080\"><sub>                                          </sub>- ผ่านแก๊ส SO<sub>3</sub> ในสารละลายกรด H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub> เข้มข้น ได้สารละลายโอเลียม</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #008080\"><sub>                                          </sub>- นำสารละลายโอเลียม ละลายน้ำ ได้กรด H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub> ดังนั้น เมื่อนำแก๊ส NH<sub>3</sub> ทำปกิกิริยากับ กรด H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub> จะได้ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต ดังสมการ</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #008080\">2NH<sub>3 </sub>+ H<sub>2</sub>SO<sub>4 </sub>→ (NH<sub>4</sub>)<sub>2</sub>SO<sub>4</sub></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />  <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />  <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"><a href=\"/node/40530\" title=\"Back\"><img border=\"0\" width=\"36\" src=\"/files/u18295/555-crop2.jpg\" height=\"40\" /></a>1234</span> <a href=\"/node/40508\" title=\"Home\"><img border=\"0\" width=\"48\" src=\"/files/u18295/bg.jpg\" height=\"45\" /></a><span style=\"color: #ffffff\">1234<a href=\"/node/40532\" title=\"Next\"><img border=\"0\" width=\"37\" src=\"/files/u18295/555-crop.jpg\" height=\"38\" /></a></span>\n</p>\n', created = 1715578120, expire = 1715664520, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3768b717b8dee68b0898c7f2a5c042ed' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม

• ปุ๋ยไนโตรเจน

   ปุ๋ยไนโตรเจน เป็นปุ๋ยเคมีที่ให้ธาตุไนโตรเจนเป็นธาตุหลัก ซึ่งช่วยให้พืชเจริญเติบโตดี ลำต้น ใบ แข็งแรง สามารถสร้างโปรตีนได้อย่างเพียงพอ โดยส่วนใหญ่อยู่ในรูปของสารประกอบ เช่น

         ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต ((NH4)2SO4) เตรียมจากปฏิกิริยาระหว่างแก๊ส NH3 กับ H2SO4

            ปุ๋ยยูเรีย (NH2CONH2) เตรียมจากปฏิกิริยาระหว่างแก๊ส NH3 กับแก๊ส CO2

            ดังนั้น การผลิตปุ๋ยทั้งสองชนิดใช้แก๊ส NH3 H2SO4 และ แก๊ส CO2 เป็นวัตถุดิบที่สำคัญ

         วัตถุดิบที่ใช้เตรียมแก๊สแอมโมเนีย คือ ไนโตรเจน และ ไฮโดรเจน

         ไนโตรเจน เตรียมได้จากอากาศ โดยนำอากาศมาเพิ่มความดัน ลดอุณหภูมิให้กลายเป็นของเหลว แล้วเพิ่มอุณหภูมิถึงจุดเดือดของแก๊ส เพื่อแยกแก๊สไนโตรเจนออกจากอากาศ

         ไฮโดรเจน เตรียมจากแก๊สที่เหลือ(ออกซิเจนส่วนใหญ่) ทำปฏิกิริยากับแก๊สมีเทน หรือ ใช้ไอน้ำทำปฏิกิริยากับแก๊สมีเทน

         การเตรียมแก๊สแอมโมเนีย นำแก๊ส N2 และ H2 ที่ผลิตได้มาทำปฏิกิริยากัน ได้แก๊ส NH3 ดังนั้น เมื่อนำแก๊ส NH3 ทำปฏิกิริยากับแก๊ส CO2 จะได้ปุ๋ยยูเรีย ดังสมการ

2NH3 + CO2 → NH2CO2NH4

NH2CO2NH4 → NH2CONH2 + H2O

         การเตรียม H2SO4 - นำกำมะถันที่หลอมเหลว ทำปฏิกิริยากับ แก๊ส O2 ได้แก๊ส SO2

                                          - นำแก๊ส SO2 ทำปฏิกิริยากับแก๊ส O2 ได้แก๊ส SO3

                                          - ผ่านแก๊ส SO3 ในสารละลายกรด H2SO4 เข้มข้น ได้สารละลายโอเลียม

                                          - นำสารละลายโอเลียม ละลายน้ำ ได้กรด H2SO4 ดังนั้น เมื่อนำแก๊ส NH3 ทำปกิกิริยากับ กรด H2SO4 จะได้ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต ดังสมการ

2NH3 + H2SO4 → (NH4)2SO4

 

    

1234 1234

สร้างโดย: 
ครูสมบัติ เอกเชี่ยวชาญ และนางสาวระพีพร เรืองสุรเชษฐ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 271 คน กำลังออนไลน์