• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:36411d2d152b1348f857d5b1e1f47593' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><dd>ลักษณะการปกครองของสมัยสุโขทัย เป็นการปกครองแบบบิดาปกครองบุตรหรือการปกครองคนใน <br />\n</dd>\n<dd>ครอบครัว (Paternalism) คือพระมหากษัตริย์เป็นเสมือนพ่อหรือข้าราชการบริพารเปรียบเสมือนลูกหรือคนในครอบครัวทำการปกครองลดหลั่นกันไปตามลำดับ ศาสตราจารย์ James N. Mosel ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับการปกครองของไทยในสมัยกรุงสุโขทัยไว้ว่ามีลักษณะสำคัญ 2 ประการคือ มีลักษณะเป็นการปกครองแบบพ่อปกครองลูกกับการดำเนินการปกครองแบบหัวเมืองขึ้น มีลักษณะคล้ายเจ้าผู้ครองนครกับยังได้ย้ำว่า การปกครองแบบหัวเมือง หรือเจ้าผู้ครองของไทย แตกต่างกับระบบเจ้าผู้ครองนครของยุโรปอย่างไรก็ดี สำหรับการปกครองแบบบิดากับบุตรนี้ในปาฐกถาของ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เรื่องลักษณะการปกครองประเทศสยาม แต่โบราณได้อธิบายไว้ว่าวิธีการปกครองในสมัยสุโขทัยนั้น นับถือพระเจ้าแผ่นดินอย่างบิดาของประชาชนทั้งปวงวิธีการปกครองเอาลักษณะการปกครองสกุลมาเป็นคติ เป็นต้น บิดาปกครองครัวเรือนหลายครัวเรือนรวมกันเป็นบ้านอยู่ในปกครองของพ่อบ้าน ผู้อยู่ในปกครอง เรียกว่า ลูกบ้าน หลายบ้านรวมกันเป็นเมืองถ้าเป็นเมืองขึ้นอยู่ในความปกครองของพ่อเมือง ถ้าเป็นประเทศราชเจ้าเมืองเป็นขุนหลายเมืองรวมกันเป็นประเทศที่อยู่ในความปกครองของพ่อขุน ข้าราชการในตำแหน่งต่าง ๆ เรียกว่าลูกขุน วิธีการปกครองของไทยเป็นอย่างบิดาปกครองบุตรยังใช้หลักในการปกครองประเทศไทยมา จนเปลี่ยนแปลงการปกครอง คำว่า ปกครองแบบพ่อปกครองลูกนี้มีความสำคัญและมีอิทธิพลต่อจิตใจของคนไทยเป็นอย่างยิ่ง พระเจ้าแผ่นดินสมัยสุโขทัยตอนต้น ประชาชนมักใช้คำแทนตัวท่านว่าพ่อขุน จนเมื่ออิทธิพลของขอมเข้ามาแทรกแซงก็ได้เปลี่ยนไปใช้คำว่าพระยาเสียทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนกับกษัตริย์ ซึ่งเดิมเปรียบเสมือนพ่อกับลูกได้กลายสภาพเป็นข้ากับเจ้าบ่าวกับนายไป <br />\n</dd>\n<dd>การปกครองระบบบิดากับบุตรนี้พระมหากษัตริย์ในฐานะบิดา ทรงมีพระราชอำนาจเด็ดขาดถ้าได้ \n<p>\nพิจารณาถ่องแท้แล้วก็จะเห็นว่าถ้าผู้ปกครองประเทศคือ พระมหากษัตริย์ตั้งอยู่ในทศพิธราชธรรมให้ความร่ม<br />\nเย็นเป็นสุขแก่ราษฎรเสมือนหนึ่งบุตรประชาชนก็ย่อมจะได้รับความผาสุกแต่ถ้าการปกครองดังกล่าวมีลักษณะ\n</p>\n<p>\nเป็นข้ากับเจ้าบ่าวกับนายสวัสดิภาพของประชาชนในสมัยนั้นก็น่าจะไม่มีความหมายอะไร อย่างไรก็ดีการที่จะ\n</p>\n</dd>\n<dd>ใช้ระบบการปกครองอย่างใดจึงเหมาะสมนั้นนอกจากขึ้นอยู่กับภาวะการณ์ต่างๆในแต่ละสมัยแล้วการเลือกใช้ <br />\n</dd>\n<dd>วิธีการปกครองระบบบิดากับบุตรในสมัยนั้นน่าจะถือเอาการปกครองประเทศเป็นนโยบายสำคัญ \n<p>\n&nbsp;\n</p>\n</dd>\n<dd>การปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้น ความสำเร็จบรรลุอุดมการณ์ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลง <br />\n</dd>\n<dd>หลายประการ ตราบใดที่ประชาชนในยุคประชาธิปไตยยังรำลึกว่าตนอยู่ในฐานะบุตรที่ผู้ปกครองในฐานะบิดา <br />\n</dd>\n<dd>จะต้องโอบอุ้มตลอดไปบุตรคือประชาชนก็จะขาดความรับผิดชอบละขาดความสำนึกในทางการเมืองที่จะปลูก <br />\n</dd>\n<dd>ฝังและเสริมสร้างระบอบประชาธิปไตยได้เช่นกัน หากผู้ปกครองต้องอยู่ในฐานะบิดาที่คอยโอบอุ้มและกำหนด <br />\n</dd>\n<dd>ความต้องการของประชาชนในฐานะบุตรแล้ว ความเป็นประชาธิปไตยที่จะให้บรรลุอุดมการณ์แท้จริงก็เป็นสิ่ง <br />\n</dd>\n<dd>ที่หวังได้โดยยาก <br />\n</dd>\n', created = 1715972890, expire = 1716059290, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:36411d2d152b1348f857d5b1e1f47593' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:672670d4cfc57c30e299ef2268378a85' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<b><span style=\"font-size: 28pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เศรษฐกิจไทยสมัยอยุธยา</span></b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>      </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>    </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span>อาณาจักรอยุธยาเป็นอาณาจักรไทยที่คนไทยทุกคนมีความภาคภูมิใจในความยิ่งใหญ่และความเจริญรุ่งเรืองที่สร้างสมมายาวนานถึง</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">  417  <span lang=\"TH\">ปี วัฒนธรรมด้านต่าง ๆ มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตนเอง โดยเฉพาะทางด้านศิลปวัฒนธรรมแขนงต่าง ๆ </span> <span lang=\"TH\">อันเกิดจากการผสมผสานระหว่างศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมของอยุธยาเอง กับศิลปวัฒนธรรมที่รับมาจากดินแดนอื่น ๆ </span> <span lang=\"TH\">ทั้งจีน </span> <span lang=\"TH\">อินเดีย </span> <span lang=\"TH\">เขมร </span> <span lang=\"TH\">และชาติตะวันตก</span>  <span lang=\"TH\">มาประยุกต์รวมกันเข้าจนกลายเป็นแบบอย่างศิลปวัฒนธรรมสมัยอยุธยาที่มีความงดงาม</span>  <span lang=\"TH\">เป็นแบบเฉพาะ </span> <span lang=\"TH\">และได้เป็นมรดกส่วนหนึ่งที่ถ่ายทอดสืบต่อมายังอาณาจักรรุ่นหลัง ๆ</span>    <br />\n           <span lang=\"TH\">ลักษณะศิลปวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยามีดังนี้</span></span>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">       <span lang=\"TH\">ศิลปกรรม</span></span></b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">  <span lang=\"TH\">ประกอบด้วย</span>  <br />\n               1.  <span lang=\"TH\">สถาปัตยกรรม </span> <span lang=\"TH\">ศิลปะการก่อสร้าง</span> <br />\n               2.  <span lang=\"TH\">ประติมากรรม </span> <span lang=\"TH\">ศิลปะการสร้างพระพุทะรูป</span> <br />\n               3.  <span lang=\"TH\">จิตรกรรม</span>  <span lang=\"TH\">ศิลปะการวาดภาพ เขียนภาพ</span><br />\n               4.  <span lang=\"TH\">ประณีตศิลป์</span>  <span lang=\"TH\">ศิลปะที่ใช้ความละเอียด เรียบร้อย สวยงาม</span><br />\n               5.  <span lang=\"TH\">นาฏศิลป์</span>   <span lang=\"TH\">ศิลปะการแสดง</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p><b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> </span></b></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">1. <span lang=\"TH\">สถาปัตยกรรม</span></span></b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> <br />\n       <span lang=\"TH\">นับตั้งแต่สมัยพระรามาธิบดีที่ </span> 1 (<span lang=\"TH\">อู่ทอง) ทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี </span> <span lang=\"TH\">จนถึงแผ่นดินพระบรมไตรโลกนาถ</span>  <span lang=\"TH\">สถาปัตยกรรมนิยมสร้างแบบศิลปะลพบุรี หรืออู่ทอง </span> <span lang=\"TH\">เช่น </span> <span lang=\"TH\">พระปรางค์ที่วัดพุทไธศวรรย์ </span> <span lang=\"TH\">วัดพระราม </span> <span lang=\"TH\">วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ </span> <span lang=\"TH\">วัดราชบูรณะ</span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> <span>     </span><span lang=\"TH\">ต่อมาภายหลังเมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเสด็จขึ้นไปเสวยราช ณ เมืองพิษณุโลก ได้รับแบบอย่างสถาปัตยกรรมศิลปะสุโขทัยเข้ามาด้วย โดยมักสร้างพระสถูปอันเป็นหลักของพระอาราม <span> </span>เป็นเจดีย์แบบทรงลังกา มากกว่าการสร้างพระปรางค์อย่างตอนแรก <span> </span>เช่น เจดีย์ใหญ่ <span> </span></span>3<span>  </span><span lang=\"TH\">องค์ ในวัดพระศรีสรรเพชญ <span> </span>พระเจดีย์ใหญ่วัดชัยมงคล</span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span>         </span><span lang=\"TH\">ในสมัยพระเจ้าปราสาททองทรงปราบได้กัมพูชามาขึ้นกับกรุงศรีอยุธยาอีกครั้ง จึงเกิดนิยมถ่ายแบบอย่างพระปรางค์และสถาปัตยกรรมของขอมมาสร้างในอยุธยา เช่น พระปรางค์ใหญ่ที่วัดไชยวัฒนาราม<span>   </span>และนิยมสร้างพระเจดีย์เหลี่ยมหรือเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสองขึ้นด้วย<span>  </span>องค์ที่งดงามมาก เช่น ที่วัดชุมพลนิกายาราม</span></span><span style=\"display: none; font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><span lang=\"TH\">ในสมัยพระนารายณ์มหาราชมีชาวฝรั่งเศสเข้ามารับราชการในกรุงศรีอยุธยาจึงมีการสร้างตำหนักและอาคาร </span>2 <span lang=\"TH\">ชั้นที่ก่อด้วยอิฐ ซึ่งมีความมั่นคงและถาวรมากขึ้น <span> </span>ต่างจากเดิมที่เคยใช้อิฐหรือศิลาเฉพาะการสร้างศาสนสถานเท่านั้น </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">      <span lang=\"TH\">ในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศจนถึงเสียกรุงศรีอยุธยา </span> <span lang=\"TH\">พ.ศ.</span>2310  <span lang=\"TH\">การสร้างเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสองยังเป็นที่นิยมกัน เช่น เจดีย์วัดภูเขาทอง</span>  <br />\n        <span lang=\"TH\">โบสถ์วิหารสมัยอยุธยาตอนปลายมักทำฐานและหลังคาเป็นเส้นอ่อนโค้ง</span>  <span lang=\"TH\">มักใช้เสากลมก่ออิฐสอปูน </span> <span lang=\"TH\">ตรงหัวเสาจะมีบัวทำเป็นบัวตูม</span></span><b><span style=\"font-size: 10pt; color: #575757; font-family: \'MS Sans Serif\'\"> </span></b></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><b><span style=\"font-size: 10pt; color: #575757; font-family: \'MS Sans Serif\'\"></span></b></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><b><span style=\"font-size: 10pt; color: #575757; font-family: \'MS Sans Serif\'\"></span></b></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><b><span style=\"font-size: 10pt; color: #575757; font-family: \'MS Sans Serif\'\"></span></b></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><b><span style=\"font-size: 10pt; color: #575757; font-family: \'MS Sans Serif\'\"></span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">2. <span lang=\"TH\">ประติมากรรม</span></span></b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">  <br />\n         <span lang=\"TH\">สมัยอยุธยานิยมสร้างพระพุทธรูปแบบศิลปะอู่ทอง ซึ่งแพร่หลายอยู่ในบริเวณแถบนี้ก่อนที่จะมีการสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี</span>  <span lang=\"TH\">ความนิยมนี้สืบต่อมาจนถึงสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ </span> <span lang=\"TH\">ลักษณะของพระพุทธรูปแบบอู่ทอง คือ จะมีไรพระศกและชายจีวรปลายตัดเป็นเส้นตรงต่อมาภายหลังเมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้เสด็จไปเสวยราชย์ที่พิษณุโลก ทำให้ศิลปะแบบสุโขทัยแพร่หลายเข้ามายังอยุธยามากกว่าแต่ก่อน</span>  <span lang=\"TH\">จึงเกิดมีประติมากรรมที่มีลักษณะเป็นแบบอยุธยาอย่างแท้จริง แต่รุ่นแรกยังมีลักษณะของแบบอู่ทองปนอยู่บ้าง ส่วนมากไม่งามเท่าแบบสุโขทัย </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">       <span lang=\"TH\">ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช</span>  <span lang=\"TH\">นิยมสลักพระพุทธรูปด้วยศิลา เชื่อกันว่าในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองไทยปราบเขมรได้จึงนิยมใช้หิน(ศิลา)สลักพระพุทธรูปตามอย่างเขมรอยู่ระยะหนึ่ง ลักษณะเฉพาะคือมักมีพระเนตรและพระโอษฐ์เป็นขอบสองชั้น หรือมีพระมัสสุบาง ๆ อยู่เหนือพระโอษฐ์</span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">  <span lang=\"TH\">พระพุทธรูปทรงเครื่อง นิยมสร้างกันมากในตอนปลายสมัยอยุธยา มี </span>2 <span lang=\"TH\">แบบ คือ แบบทรงเครื่องใหญ่ และแบบทรงเครื่องน้อย เป็นลักษณะแบบอยุธยาอย่างแท้จริง</span></span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: Arial\"><span style=\"font-size: small; color: #575757\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: xx-small\"> </span></span></span></span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"font-family: Arial\"><span style=\"font-size: small; color: #575757\"></span></span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"font-family: Arial\"><span style=\"font-size: small; color: #575757\"></span></span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-family: Arial\"><span style=\"font-size: small; color: #575757\"></span></span><b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">3.  <span lang=\"TH\">จิตรกรรม</span></span></b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> <br />\n             <span lang=\"TH\">จิตรกรรมในสมัยอยุธยาส่วนใหญ่จะเกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนา</span>  <span lang=\"TH\">ในระยะแรกได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะแบบลพบุรี </span> <span lang=\"TH\">สุโขทัย </span> <span lang=\"TH\">และลังการวมอยู่ด้วย</span>  <span lang=\"TH\">โดยจะมีบางภาพที่มีลักษณะแข็งและหนัก </span> <span lang=\"TH\">ใช้สีดำ </span> <span lang=\"TH\">ขาว </span> <span lang=\"TH\">และแดง </span> <span lang=\"TH\">มีการปิดทองบนภาพบ้างเล็กน้อย </span> <span lang=\"TH\">เช่น </span> <span lang=\"TH\">ภาพเขียนบนผนังในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ</span>  <span lang=\"TH\">ซึ้งสร้างขึ้นสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ </span> 2 (<span lang=\"TH\">เจ้าสามพระยา)</span>   <span lang=\"TH\">แต่ระยะหลังจิตรกรรมในสมัยอยุธยามักเป็นภาพวาดเกี่ยวกับเรื่องไตรภูมิ</span>  <span lang=\"TH\">ซึ่งมีภาพพุทธประวัติประกอบ</span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><span lang=\"TH\">ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเชษฐาธิราชจนสิ้นสุดสมัยอยุธยาจิตรกรรมอยุธยาแสดงให้เห็นถึงลักษณะของจิตรกรรมไทยบริสุทธิ์อย่างสมบูรณ์</span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <span> </span></span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สีที่วาดนิยมใช้หลายสี</span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <span> </span></span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">นิยมปิดทองลงบนรูปและลวดลาย</span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <span> </span></span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">แต่การเขียนภาพต้นไม้</span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <span> </span></span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภูเขา</span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <span> </span></span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">และน้ำ แสดงให้เห็นอิทธิพลของศิลปะจีนอยู่บ้าง</span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"color: #575757; font-family: Arial\"><span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: xx-small\">         </span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #575757; font-family: Arial\"><span><span style=\"font-size: small\"></span></span></span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #575757; font-family: Arial\"><span><span style=\"font-size: small\"></span></span></span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">4. </span></b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span> </span><b><span lang=\"TH\">ประณีตศิลป์</span></b><span lang=\"TH\"> <span> </span><span> </span><br />\n<span> </span><span> </span><span> </span><span> </span><span> </span><span> </span><span> </span><span> </span><span> </span><span> </span><span> </span>ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ </span>1 (<span lang=\"TH\">อู่ทอง</span>)<span>  </span><span lang=\"TH\">ถึงสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ <span> </span>งานประณีตศิลป์แบบอยุธยาที่พบ ได้แก่ <span> </span>เครื่องไม้ <span> </span>เช่น <span> </span>ประตูจำหลัก <span> </span>ธรรมาสน์ <span> </span><span> </span><span> </span>ตู้หนังสือพระไตรปิฎก <span> </span>หีบใส่หนังสือสวดและหนังสือเทศน์ <span> </span><span> </span>เครื่องไม้เหล่านี้มักทำฐานหรือหลังคาเป็นแบบอ่อนโค้ง</span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span>              </span> </span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">นอกจากนี้วัตถุที่ขุดพบในพระเจดีย์หรือพระปรางค์ต่าง ๆ</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <span> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">อาจจัดรวมอยู่ในประณีตศิลป์ได้</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <span> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เช่น</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <span> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">วัตถุที่ขุดพบที่พระปรางค์วัดราชบูรณะ</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><br />\n</span><span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: xx-small\">  </span></span></span></span></span></span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span></span></span></span></span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span></span><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: xx-small\"> </span></span></span></span></span><b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">5. </span></b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span> </span><b><span lang=\"TH\">นาฏศิลป</span></b><span lang=\"TH\">์ </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span> </span><span lang=\"TH\">นับตั้งแต่สมัยพระรามาธิบดีที่ </span>1 (<span lang=\"TH\">อู่ทอง</span>) <span lang=\"TH\">จนถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม <span> </span><span> </span>การแสดงแต่เดิมคงจะเป็นการละเล่นพื้นบ้าน ส่วนใหญ่เป็นการฟ้อนรำในพิธีกรรมต่าง ๆ ทั้งพระราชพิธีและพิธีของชาวบ้าน โดยศิลปะการแสดงเริ่มมีแบบแผนขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ </span>2 (<span lang=\"TH\">เจ้าสามพระยา</span>) <span lang=\"TH\">ซึ่งได้รับแบบอย่างมาจากละครหลวงของเขมร โดยโปรดเกล้า ฯ ให้มี </span>“<span lang=\"TH\">การเล่นดึกดำบรรพ์</span>”<span>  </span><span lang=\"TH\">ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากเขมร ภายหลังได้พัฒนามาเป็นนาฎศิลป์ไทยประเภทหนึ่งที่เรียกว่า </span>“<span lang=\"TH\">โขน</span>”</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span>        </span> <span lang=\"TH\">ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเป็นต้นมา ศิลปะการแสดงที่สำคัญของไทย คือ โขน ละคร และระบำ ซึ่งใช้ผู้ชายเป็นผู้แสดง และมีการฟ้อนรำที่ผู้หญิงแสดงเป็นหมู่ <span> </span><br />\n</span><span>                </span><span lang=\"TH\">ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พระองค์โปรดการเล่นละครมาก จึงได้มีการส่งเสริมการละครจนเจริญรุ่งเรืองสืบต่อมา <span> </span>สมัยนี้จะมีละคร <span> </span></span>2 <span lang=\"TH\">ประเภท คือ ละครใน ใช้ตัวละครเป็นหญิงทั้งหมด <span> </span>และละครนอกใช้ตัวละครเป็นผู้ชายทั้งหมด</span></span></o:p></span></p>\n', created = 1715972890, expire = 1716059290, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:672670d4cfc57c30e299ef2268378a85' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e1553ccea881ba3b9c4d32881a282fb3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>การจัดระเบียบการปกครองสมัยอยุธยา การจัดระเบียบการปกครองแบ่งออกเป็น 3 สมัย 1. สมัยอยุธยาตอนต้น (พ.ศ.1893-1991) 2. สมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ.1991-2231) 3. สมัยอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ. 2231-2310) สมัยอยุธยาตอนต้นหรือสมัยการวางรากฐานการปกครอง แบ่งการปกครองออกเป็น 2 ส่วน 1. การปกครองส่วนกลางหรือราชธานีปกครองแบบจตุสดมภ์ มีเสนาบดี 4 ตำแหน่ง 1.1 เวียง มีขุนเวียงเป็นหัวหน้าดูแลทุกข์สุขของราษฎร 1.2 วัง มีขุนวังเป็นหัวหน้า ดูแลกิจกรรมที่เกี่ยวข้องก้บพระราชสำนักและพิจารณพิพากษาคดี 1.3 คลัง มีขุนคลังเป็นหัวหน้า ดูแลการทำไรทำนาของราษฎร ตลอดจนการสะสมเสบียงอาหารของพระนคร 1.4 นา มีขุนนาเป็นหัวหน้า ดูแลการทำไรทำนาของราษฎร ตลอดจนการสะสมเสบียงอาหารของพระนคร 2. การปกครองส่วนภูมิภาคหรือส่วนหัวเมือง 2.1 เมืองลูกหลวงหรือเมืองหน้าด่านอยู่รอบราชธานี 4 ทิศ ห่างจากราชธานีใช้เวลาเดินทาง 2 วัน พระมหากษัตริย์แต่งตั้งพระราชโอรสหรือเจ้านายชั้นสูงไปปกครอง 2.2 หัวเมืองชั้นใน คือเมืองที่อยู่รายรอบพระนคร ได้แก่ ปราจีนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ฯลฯ มีขุนนางจากเมืองหลวงไปปกครอง 2.3 หัวเมืองชั้นนอกหรือเมืองพระยามหานคร เมืองขนาดใหญ่อยู่ห่างไกลจากราชธานี 2.4 เมืองประเทศราช ให้เจ้าต่างชาติต่างภาษาปกครองกันเอง แต่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวายตามกำหนด 3 ปีต่อครั้ง สมัยอยุธยาตอนกลาง หรือสมัยการปรับปรุงการปกครอง เริ่มในสมัยพระบรมโตรโลกนาถ การปรับปรุงการปกครอง ยึดหลักการรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง แบ่งส่วนราชการออกเป็น 1. การปกครองในส่วนกลางหรือส่วนราชธานี แบ่งการปกครองออกเป็น 2 ฝ่าย 1.1 ฝ่ายทหาร มีสมุหกลาโหมเป็นหัวหน้า ดูแลทหารทั่วราชอาณาจักร 1.2 ฝ่ายพลเรือน มีสมุหนายกเป็นหัวหน้า และรับผิดชอบจตุสดมภ์ 4 และเปลี่ยนชื่อเรียกใหม่ คือ เวียง เป็น นครบาล วัน เป็น ธรรมาธิกรณ์ นา เป็น เกษตราธิราช คลัง เป็น โกษาธิบดี 2. การปกครองส่วนภูมิภาค โปรดให้ยกเลิกเมืองลูกหลวง จัดการปกครองออกเป็น 2.1 หัวเมืองชั้นใน เปลี่ยนเป็นหัวเมืองจัตวา มีผู้ปกครองคือผู้รั้ง 2.2 หัวเมืองชั้นนอก เปลี่ยนหัวเมืองชั้น เอก โท ตรี ตามลำดับความสำคัญ และขนาดของเมือง 2.3 เมืองประเทศราช ให้เจ้าต่างชาติต่างภาษาปกครองกันเอง แต่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการมาตามกำหนด สมัยอยุธยาตอนปลาย หรือสมัยถ่วงดุลอำนาจ เริ่มในสมัยพระเพทราชา สมัยนี้ยึดแบบอย่างการปกครองแบบที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปรับปรุง แต่ได้แบ่งแยกอำนาจสมุหกลาโหมและสมุหนายกเสียใหม่ คือ สมุหกลาโหม - ดูแลหัวเมืองฝ่ายใต้ทั้งหมดทั้งที่เป็นฝ่ายทหารและพลเรือน สมุหนายก - ดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือทั้งหมดที่เป็นฝ่ายทหารและพลเรือน รูปแบบการปกครองของอยุธยา ใช้เรื่องมาจนถึงรัชกาลที่ 5 จึงได้มีการปฏิรูปการปกครองเสียใหม่ การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนต้น 1. การปกครองส่วนกลาง พระมหากษัตริย์ ปกครองแบบรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง คือจตุสดมภ์ จตุสดมภ์ แบ่งเป็น กรมเวียง - มี ขุนเวียง เป็นผู้ดูแล มีหน้าที่ รักษาความสงบสุขของราษฏร กรมวัง - มี ขุนวัง เป็นผู้ดูแล เป็นหัวหน้าฝ่าย ราชสำนักการพิจารณาพิพากษาคดี กรมคลัง - มี ขุนคลัง เป็นผู้ดูแล มีหน้าที่รักษาผลประโยชน์ของแผ่นดินที่ได้จากการเก็บส่วยอากร กรมนา - มี ขุนนา เป็นเจ้าหน้าที่ดูแลการทำไร่ นา และสะสมเสบียงอาหารของ พระนคร 2. การปกครองหัวเมือง อยุธยาเป็นเมืองหลวง เป็นจุดของศูนย์รวมอำนาจการปกครอง ล้อมรอบด้วยเมืองลูกหลวง ประกอบด้วย ทิศเหนือ เมืองลพบุรี ทิศตะวันออก เมือง นครนายก ทิศใต้ เมือง นครเขื่อนขันธ์ และทิศตะวันตก เมือง สุพรรณบุรี ถัดออกมาคือ หัวเมืองชั้นใน ได้แก่ สิงห์บุรี ปราจีนบุรี ชลบุรี และเพชรบุรี และเมืองประเทศราช เช่น เมือง นครศรีธรรมราชและเมืองพิษณุโลก </p>\n', created = 1715972890, expire = 1716059290, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e1553ccea881ba3b9c4d32881a282fb3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:eb9101a4559a5d6e23306da26af419cb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nแม่ค่ะนิดมาส่งงานค่ะ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nน.ส.วนิดา  ค้าข้าว  ม.6/2  เลขที่ 16\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/35235\">http://www.thaigoodview.com/node/35235</a>\n</p>\n', created = 1715972890, expire = 1716059290, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:eb9101a4559a5d6e23306da26af419cb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4f8c184a2b403de71b06dcdf45c18f74' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nแม่ค่ะส่งใหม่ค่ะ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nไม่แน่ใจอันก่อนหน้านี้ค่ะว่าเปิดได้หรือป่าวค่ะ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nน.ส.นันทพร    จันทร์สงวน  ม.6/2  เลขที่ 14\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/33322\">http://www.thaigoodview.com/node/33322</a>\n</p>\n', created = 1715972890, expire = 1716059290, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4f8c184a2b403de71b06dcdf45c18f74' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:74c8b695354c964e2998f280f82e6b02' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nแม่ค่ะอ้มมาส่งงานค่ะ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nน.ส.พนิดา   เพชรเงิน   ม.6/2   เลขที่ 15\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/34110\">http://www.thaigoodview.com/node/34110</a>\n</p>\n', created = 1715972890, expire = 1716059290, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:74c8b695354c964e2998f280f82e6b02' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e97ea5c3cc211413d340a0c3f3feeab7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nแม่ค่ะ จาวมาส่งงานคร้า\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nน.ส.นันทพร    จันทร์สงวน   ม.6/2   เลขที่14\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/33322/edit\">http://www.thaigoodview.com/node/33322/edit</a>\n</p>\n', created = 1715972890, expire = 1716059290, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e97ea5c3cc211413d340a0c3f3feeab7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4dc75eee85881b51ec911030669602dd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nแม่ค่ะส่งงัยเนี่ย     ส่งม่ายด้ายเลยง่า\n</p>\n', created = 1715972890, expire = 1716059290, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4dc75eee85881b51ec911030669602dd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ห้องเรียนครูวัชรี กมลเสรัรัตน์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

รูปภาพของ silavacharee

    สวีสดีค่ะ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

           ในภาคเรียนนี้เราจะเรียนในสาระประวัติศาสตร์ไทย นะคะ ซึ่งมีเนื้อหาดังนี้

    1.  เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

    2.  วิธีการทางประวัติศาสตร์ และ หลักฐานทางประวัติศาสตร์

    3.  ถิ่นเดิมของชนชาติไทยและการตั้งถิ่นฐานในดินแดนประเทศไทย

    4.  พัฒนาการด้านการเมืองและการปกครองของไทย

    5.  พัฒนาการด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย

    6.  พัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจของไทย

    7.  พัฒนาการทางด้านสังคมและศิลปวัฒนธรรมของไทย

    8.  ประวัติบุคคลสำคัญของไทย

ในเทอมนี้ครูให้นักเรียนส่งงาน ตามกำหนดการส่งงานดังนี้คือ

 ส่งงานครั้งที่ 1  ภายในวันที่ 5 สิงหาคม 2552 เวลา 23.00 น

ส่งงานครั้งที่  2  ภายในวันที่ 11  สิงหาคม 2552 เวลา 23.00 น

 

ลักษณะการปกครองของสมัยสุโขทัย เป็นการปกครองแบบบิดาปกครองบุตรหรือการปกครองคนใน
ครอบครัว (Paternalism) คือพระมหากษัตริย์เป็นเสมือนพ่อหรือข้าราชการบริพารเปรียบเสมือนลูกหรือคนในครอบครัวทำการปกครองลดหลั่นกันไปตามลำดับ ศาสตราจารย์ James N. Mosel ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับการปกครองของไทยในสมัยกรุงสุโขทัยไว้ว่ามีลักษณะสำคัญ 2 ประการคือ มีลักษณะเป็นการปกครองแบบพ่อปกครองลูกกับการดำเนินการปกครองแบบหัวเมืองขึ้น มีลักษณะคล้ายเจ้าผู้ครองนครกับยังได้ย้ำว่า การปกครองแบบหัวเมือง หรือเจ้าผู้ครองของไทย แตกต่างกับระบบเจ้าผู้ครองนครของยุโรปอย่างไรก็ดี สำหรับการปกครองแบบบิดากับบุตรนี้ในปาฐกถาของ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เรื่องลักษณะการปกครองประเทศสยาม แต่โบราณได้อธิบายไว้ว่าวิธีการปกครองในสมัยสุโขทัยนั้น นับถือพระเจ้าแผ่นดินอย่างบิดาของประชาชนทั้งปวงวิธีการปกครองเอาลักษณะการปกครองสกุลมาเป็นคติ เป็นต้น บิดาปกครองครัวเรือนหลายครัวเรือนรวมกันเป็นบ้านอยู่ในปกครองของพ่อบ้าน ผู้อยู่ในปกครอง เรียกว่า ลูกบ้าน หลายบ้านรวมกันเป็นเมืองถ้าเป็นเมืองขึ้นอยู่ในความปกครองของพ่อเมือง ถ้าเป็นประเทศราชเจ้าเมืองเป็นขุนหลายเมืองรวมกันเป็นประเทศที่อยู่ในความปกครองของพ่อขุน ข้าราชการในตำแหน่งต่าง ๆ เรียกว่าลูกขุน วิธีการปกครองของไทยเป็นอย่างบิดาปกครองบุตรยังใช้หลักในการปกครองประเทศไทยมา จนเปลี่ยนแปลงการปกครอง คำว่า ปกครองแบบพ่อปกครองลูกนี้มีความสำคัญและมีอิทธิพลต่อจิตใจของคนไทยเป็นอย่างยิ่ง พระเจ้าแผ่นดินสมัยสุโขทัยตอนต้น ประชาชนมักใช้คำแทนตัวท่านว่าพ่อขุน จนเมื่ออิทธิพลของขอมเข้ามาแทรกแซงก็ได้เปลี่ยนไปใช้คำว่าพระยาเสียทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนกับกษัตริย์ ซึ่งเดิมเปรียบเสมือนพ่อกับลูกได้กลายสภาพเป็นข้ากับเจ้าบ่าวกับนายไป
การปกครองระบบบิดากับบุตรนี้พระมหากษัตริย์ในฐานะบิดา ทรงมีพระราชอำนาจเด็ดขาดถ้าได้

พิจารณาถ่องแท้แล้วก็จะเห็นว่าถ้าผู้ปกครองประเทศคือ พระมหากษัตริย์ตั้งอยู่ในทศพิธราชธรรมให้ความร่ม
เย็นเป็นสุขแก่ราษฎรเสมือนหนึ่งบุตรประชาชนก็ย่อมจะได้รับความผาสุกแต่ถ้าการปกครองดังกล่าวมีลักษณะ

เป็นข้ากับเจ้าบ่าวกับนายสวัสดิภาพของประชาชนในสมัยนั้นก็น่าจะไม่มีความหมายอะไร อย่างไรก็ดีการที่จะ

ใช้ระบบการปกครองอย่างใดจึงเหมาะสมนั้นนอกจากขึ้นอยู่กับภาวะการณ์ต่างๆในแต่ละสมัยแล้วการเลือกใช้
วิธีการปกครองระบบบิดากับบุตรในสมัยนั้นน่าจะถือเอาการปกครองประเทศเป็นนโยบายสำคัญ

 

การปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้น ความสำเร็จบรรลุอุดมการณ์ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลง
หลายประการ ตราบใดที่ประชาชนในยุคประชาธิปไตยยังรำลึกว่าตนอยู่ในฐานะบุตรที่ผู้ปกครองในฐานะบิดา
จะต้องโอบอุ้มตลอดไปบุตรคือประชาชนก็จะขาดความรับผิดชอบละขาดความสำนึกในทางการเมืองที่จะปลูก
ฝังและเสริมสร้างระบอบประชาธิปไตยได้เช่นกัน หากผู้ปกครองต้องอยู่ในฐานะบิดาที่คอยโอบอุ้มและกำหนด
ความต้องการของประชาชนในฐานะบุตรแล้ว ความเป็นประชาธิปไตยที่จะให้บรรลุอุดมการณ์แท้จริงก็เป็นสิ่ง
ที่หวังได้โดยยาก

เศรษฐกิจไทยสมัยอยุธยา          

  อาณาจักรอยุธยาเป็นอาณาจักรไทยที่คนไทยทุกคนมีความภาคภูมิใจในความยิ่งใหญ่และความเจริญรุ่งเรืองที่สร้างสมมายาวนานถึง  417  ปี วัฒนธรรมด้านต่าง ๆ มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตนเอง โดยเฉพาะทางด้านศิลปวัฒนธรรมแขนงต่าง ๆ  อันเกิดจากการผสมผสานระหว่างศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมของอยุธยาเอง กับศิลปวัฒนธรรมที่รับมาจากดินแดนอื่น ๆ  ทั้งจีน  อินเดีย  เขมร  และชาติตะวันตก  มาประยุกต์รวมกันเข้าจนกลายเป็นแบบอย่างศิลปวัฒนธรรมสมัยอยุธยาที่มีความงดงาม  เป็นแบบเฉพาะ  และได้เป็นมรดกส่วนหนึ่งที่ถ่ายทอดสืบต่อมายังอาณาจักรรุ่นหลัง ๆ    
           ลักษณะศิลปวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยามีดังนี้

       ศิลปกรรม  ประกอบด้วย  
               1.  สถาปัตยกรรม  ศิลปะการก่อสร้าง 
               2.  ประติมากรรม  ศิลปะการสร้างพระพุทะรูป 
               3.  จิตรกรรม  ศิลปะการวาดภาพ เขียนภาพ
               4.  ประณีตศิลป์  ศิลปะที่ใช้ความละเอียด เรียบร้อย สวยงาม
               5.  นาฏศิลป์   ศิลปะการแสดง

 1. สถาปัตยกรรม 
       นับตั้งแต่สมัยพระรามาธิบดีที่  1 (อู่ทอง) ทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี  จนถึงแผ่นดินพระบรมไตรโลกนาถ  สถาปัตยกรรมนิยมสร้างแบบศิลปะลพบุรี หรืออู่ทอง  เช่น  พระปรางค์ที่วัดพุทไธศวรรย์  วัดพระราม  วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ  วัดราชบูรณะ
      ต่อมาภายหลังเมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเสด็จขึ้นไปเสวยราช ณ เมืองพิษณุโลก ได้รับแบบอย่างสถาปัตยกรรมศิลปะสุโขทัยเข้ามาด้วย โดยมักสร้างพระสถูปอันเป็นหลักของพระอาราม  เป็นเจดีย์แบบทรงลังกา มากกว่าการสร้างพระปรางค์อย่างตอนแรก  เช่น เจดีย์ใหญ่  3  องค์ ในวัดพระศรีสรรเพชญ  พระเจดีย์ใหญ่วัดชัยมงคล         ในสมัยพระเจ้าปราสาททองทรงปราบได้กัมพูชามาขึ้นกับกรุงศรีอยุธยาอีกครั้ง จึงเกิดนิยมถ่ายแบบอย่างพระปรางค์และสถาปัตยกรรมของขอมมาสร้างในอยุธยา เช่น พระปรางค์ใหญ่ที่วัดไชยวัฒนาราม   และนิยมสร้างพระเจดีย์เหลี่ยมหรือเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสองขึ้นด้วย  องค์ที่งดงามมาก เช่น ที่วัดชุมพลนิกายาราม                 ในสมัยพระนารายณ์มหาราชมีชาวฝรั่งเศสเข้ามารับราชการในกรุงศรีอยุธยาจึงมีการสร้างตำหนักและอาคาร 2 ชั้นที่ก่อด้วยอิฐ ซึ่งมีความมั่นคงและถาวรมากขึ้น  ต่างจากเดิมที่เคยใช้อิฐหรือศิลาเฉพาะการสร้างศาสนสถานเท่านั้น       ในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศจนถึงเสียกรุงศรีอยุธยา  พ.ศ.2310  การสร้างเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสองยังเป็นที่นิยมกัน เช่น เจดีย์วัดภูเขาทอง  
        โบสถ์วิหารสมัยอยุธยาตอนปลายมักทำฐานและหลังคาเป็นเส้นอ่อนโค้ง  มักใช้เสากลมก่ออิฐสอปูน  ตรงหัวเสาจะมีบัวทำเป็นบัวตูม
 
 2. ประติมากรรม  
         สมัยอยุธยานิยมสร้างพระพุทธรูปแบบศิลปะอู่ทอง ซึ่งแพร่หลายอยู่ในบริเวณแถบนี้ก่อนที่จะมีการสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี  ความนิยมนี้สืบต่อมาจนถึงสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ  ลักษณะของพระพุทธรูปแบบอู่ทอง คือ จะมีไรพระศกและชายจีวรปลายตัดเป็นเส้นตรงต่อมาภายหลังเมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้เสด็จไปเสวยราชย์ที่พิษณุโลก ทำให้ศิลปะแบบสุโขทัยแพร่หลายเข้ามายังอยุธยามากกว่าแต่ก่อน  จึงเกิดมีประติมากรรมที่มีลักษณะเป็นแบบอยุธยาอย่างแท้จริง แต่รุ่นแรกยังมีลักษณะของแบบอู่ทองปนอยู่บ้าง ส่วนมากไม่งามเท่าแบบสุโขทัย
       ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช  นิยมสลักพระพุทธรูปด้วยศิลา เชื่อกันว่าในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองไทยปราบเขมรได้จึงนิยมใช้หิน(ศิลา)สลักพระพุทธรูปตามอย่างเขมรอยู่ระยะหนึ่ง ลักษณะเฉพาะคือมักมีพระเนตรและพระโอษฐ์เป็นขอบสองชั้น หรือมีพระมัสสุบาง ๆ อยู่เหนือพระโอษฐ์  พระพุทธรูปทรงเครื่อง นิยมสร้างกันมากในตอนปลายสมัยอยุธยา มี 2 แบบ คือ แบบทรงเครื่องใหญ่ และแบบทรงเครื่องน้อย เป็นลักษณะแบบอยุธยาอย่างแท้จริง
  3.  จิตรกรรม 
             จิตรกรรมในสมัยอยุธยาส่วนใหญ่จะเกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนา  ในระยะแรกได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะแบบลพบุรี  สุโขทัย  และลังการวมอยู่ด้วย  โดยจะมีบางภาพที่มีลักษณะแข็งและหนัก  ใช้สีดำ  ขาว  และแดง  มีการปิดทองบนภาพบ้างเล็กน้อย  เช่น  ภาพเขียนบนผนังในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ  ซึ้งสร้างขึ้นสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่  2 (เจ้าสามพระยา)   แต่ระยะหลังจิตรกรรมในสมัยอยุธยามักเป็นภาพวาดเกี่ยวกับเรื่องไตรภูมิ  ซึ่งมีภาพพุทธประวัติประกอบ
                ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเชษฐาธิราชจนสิ้นสุดสมัยอยุธยาจิตรกรรมอยุธยาแสดงให้เห็นถึงลักษณะของจิตรกรรมไทยบริสุทธิ์อย่างสมบูรณ์  สีที่วาดนิยมใช้หลายสี  นิยมปิดทองลงบนรูปและลวดลาย  แต่การเขียนภาพต้นไม้  ภูเขา  และน้ำ แสดงให้เห็นอิทธิพลของศิลปะจีนอยู่บ้าง           
 4.  ประณีตศิลป์   
           ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่
1 (อู่ทอง)  ถึงสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ  งานประณีตศิลป์แบบอยุธยาที่พบ ได้แก่  เครื่องไม้  เช่น  ประตูจำหลัก  ธรรมาสน์    ตู้หนังสือพระไตรปิฎก  หีบใส่หนังสือสวดและหนังสือเทศน์   เครื่องไม้เหล่านี้มักทำฐานหรือหลังคาเป็นแบบอ่อนโค้ง
               นอกจากนี้วัตถุที่ขุดพบในพระเจดีย์หรือพระปรางค์ต่าง ๆ  อาจจัดรวมอยู่ในประณีตศิลป์ได้  เช่น  วัตถุที่ขุดพบที่พระปรางค์วัดราชบูรณะ
  
  5.  นาฏศิลป นับตั้งแต่สมัยพระรามาธิบดีที่ 1 (อู่ทอง) จนถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม   การแสดงแต่เดิมคงจะเป็นการละเล่นพื้นบ้าน ส่วนใหญ่เป็นการฟ้อนรำในพิธีกรรมต่าง ๆ ทั้งพระราชพิธีและพิธีของชาวบ้าน โดยศิลปะการแสดงเริ่มมีแบบแผนขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ซึ่งได้รับแบบอย่างมาจากละครหลวงของเขมร โดยโปรดเกล้า ฯ ให้มี การเล่นดึกดำบรรพ์  ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากเขมร ภายหลังได้พัฒนามาเป็นนาฎศิลป์ไทยประเภทหนึ่งที่เรียกว่า โขน         ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเป็นต้นมา ศิลปะการแสดงที่สำคัญของไทย คือ โขน ละคร และระบำ ซึ่งใช้ผู้ชายเป็นผู้แสดง และมีการฟ้อนรำที่ผู้หญิงแสดงเป็นหมู่  
                ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พระองค์โปรดการเล่นละครมาก จึงได้มีการส่งเสริมการละครจนเจริญรุ่งเรืองสืบต่อมา  สมัยนี้จะมีละคร  2 ประเภท คือ ละครใน ใช้ตัวละครเป็นหญิงทั้งหมด  และละครนอกใช้ตัวละครเป็นผู้ชายทั้งหมด

การจัดระเบียบการปกครองสมัยอยุธยา การจัดระเบียบการปกครองแบ่งออกเป็น 3 สมัย 1. สมัยอยุธยาตอนต้น (พ.ศ.1893-1991) 2. สมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ.1991-2231) 3. สมัยอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ. 2231-2310) สมัยอยุธยาตอนต้นหรือสมัยการวางรากฐานการปกครอง แบ่งการปกครองออกเป็น 2 ส่วน 1. การปกครองส่วนกลางหรือราชธานีปกครองแบบจตุสดมภ์ มีเสนาบดี 4 ตำแหน่ง 1.1 เวียง มีขุนเวียงเป็นหัวหน้าดูแลทุกข์สุขของราษฎร 1.2 วัง มีขุนวังเป็นหัวหน้า ดูแลกิจกรรมที่เกี่ยวข้องก้บพระราชสำนักและพิจารณพิพากษาคดี 1.3 คลัง มีขุนคลังเป็นหัวหน้า ดูแลการทำไรทำนาของราษฎร ตลอดจนการสะสมเสบียงอาหารของพระนคร 1.4 นา มีขุนนาเป็นหัวหน้า ดูแลการทำไรทำนาของราษฎร ตลอดจนการสะสมเสบียงอาหารของพระนคร 2. การปกครองส่วนภูมิภาคหรือส่วนหัวเมือง 2.1 เมืองลูกหลวงหรือเมืองหน้าด่านอยู่รอบราชธานี 4 ทิศ ห่างจากราชธานีใช้เวลาเดินทาง 2 วัน พระมหากษัตริย์แต่งตั้งพระราชโอรสหรือเจ้านายชั้นสูงไปปกครอง 2.2 หัวเมืองชั้นใน คือเมืองที่อยู่รายรอบพระนคร ได้แก่ ปราจีนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ฯลฯ มีขุนนางจากเมืองหลวงไปปกครอง 2.3 หัวเมืองชั้นนอกหรือเมืองพระยามหานคร เมืองขนาดใหญ่อยู่ห่างไกลจากราชธานี 2.4 เมืองประเทศราช ให้เจ้าต่างชาติต่างภาษาปกครองกันเอง แต่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวายตามกำหนด 3 ปีต่อครั้ง สมัยอยุธยาตอนกลาง หรือสมัยการปรับปรุงการปกครอง เริ่มในสมัยพระบรมโตรโลกนาถ การปรับปรุงการปกครอง ยึดหลักการรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง แบ่งส่วนราชการออกเป็น 1. การปกครองในส่วนกลางหรือส่วนราชธานี แบ่งการปกครองออกเป็น 2 ฝ่าย 1.1 ฝ่ายทหาร มีสมุหกลาโหมเป็นหัวหน้า ดูแลทหารทั่วราชอาณาจักร 1.2 ฝ่ายพลเรือน มีสมุหนายกเป็นหัวหน้า และรับผิดชอบจตุสดมภ์ 4 และเปลี่ยนชื่อเรียกใหม่ คือ เวียง เป็น นครบาล วัน เป็น ธรรมาธิกรณ์ นา เป็น เกษตราธิราช คลัง เป็น โกษาธิบดี 2. การปกครองส่วนภูมิภาค โปรดให้ยกเลิกเมืองลูกหลวง จัดการปกครองออกเป็น 2.1 หัวเมืองชั้นใน เปลี่ยนเป็นหัวเมืองจัตวา มีผู้ปกครองคือผู้รั้ง 2.2 หัวเมืองชั้นนอก เปลี่ยนหัวเมืองชั้น เอก โท ตรี ตามลำดับความสำคัญ และขนาดของเมือง 2.3 เมืองประเทศราช ให้เจ้าต่างชาติต่างภาษาปกครองกันเอง แต่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการมาตามกำหนด สมัยอยุธยาตอนปลาย หรือสมัยถ่วงดุลอำนาจ เริ่มในสมัยพระเพทราชา สมัยนี้ยึดแบบอย่างการปกครองแบบที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปรับปรุง แต่ได้แบ่งแยกอำนาจสมุหกลาโหมและสมุหนายกเสียใหม่ คือ สมุหกลาโหม - ดูแลหัวเมืองฝ่ายใต้ทั้งหมดทั้งที่เป็นฝ่ายทหารและพลเรือน สมุหนายก - ดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือทั้งหมดที่เป็นฝ่ายทหารและพลเรือน รูปแบบการปกครองของอยุธยา ใช้เรื่องมาจนถึงรัชกาลที่ 5 จึงได้มีการปฏิรูปการปกครองเสียใหม่ การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนต้น 1. การปกครองส่วนกลาง พระมหากษัตริย์ ปกครองแบบรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง คือจตุสดมภ์ จตุสดมภ์ แบ่งเป็น กรมเวียง - มี ขุนเวียง เป็นผู้ดูแล มีหน้าที่ รักษาความสงบสุขของราษฏร กรมวัง - มี ขุนวัง เป็นผู้ดูแล เป็นหัวหน้าฝ่าย ราชสำนักการพิจารณาพิพากษาคดี กรมคลัง - มี ขุนคลัง เป็นผู้ดูแล มีหน้าที่รักษาผลประโยชน์ของแผ่นดินที่ได้จากการเก็บส่วยอากร กรมนา - มี ขุนนา เป็นเจ้าหน้าที่ดูแลการทำไร่ นา และสะสมเสบียงอาหารของ พระนคร 2. การปกครองหัวเมือง อยุธยาเป็นเมืองหลวง เป็นจุดของศูนย์รวมอำนาจการปกครอง ล้อมรอบด้วยเมืองลูกหลวง ประกอบด้วย ทิศเหนือ เมืองลพบุรี ทิศตะวันออก เมือง นครนายก ทิศใต้ เมือง นครเขื่อนขันธ์ และทิศตะวันตก เมือง สุพรรณบุรี ถัดออกมาคือ หัวเมืองชั้นใน ได้แก่ สิงห์บุรี ปราจีนบุรี ชลบุรี และเพชรบุรี และเมืองประเทศราช เช่น เมือง นครศรีธรรมราชและเมืองพิษณุโลก

แม่ค่ะนิดมาส่งงานค่ะ

 

 

น.ส.วนิดา  ค้าข้าว  ม.6/2  เลขที่ 16

 

 

http://www.thaigoodview.com/node/35235

แม่ค่ะส่งใหม่ค่ะ

 

ไม่แน่ใจอันก่อนหน้านี้ค่ะว่าเปิดได้หรือป่าวค่ะ

 

น.ส.นันทพร    จันทร์สงวน  ม.6/2  เลขที่ 14

 

 

http://www.thaigoodview.com/node/33322

แม่ค่ะอ้มมาส่งงานค่ะ

 

น.ส.พนิดา   เพชรเงิน   ม.6/2   เลขที่ 15

 

http://www.thaigoodview.com/node/34110

แม่ค่ะ จาวมาส่งงานคร้า

 

น.ส.นันทพร    จันทร์สงวน   ม.6/2   เลขที่14

 

http://www.thaigoodview.com/node/33322/edit

แม่ค่ะส่งงัยเนี่ย     ส่งม่ายด้ายเลยง่า

รูปภาพของ sila15058

สวัสดีค่ะอาจารย์  มาส่งใหม่ค่ะ

ส่งมารอบที่  3  แล้วค่ะ

อาจารย์ไม่ไปตรวจให้หนูเลย

แก้ไขเรียบร้อยแล้วค่ะ

 มีชื่อ  และก็แหล่งอ้างอิงเรียบร้อยค่ะ

http://www.thaigoodview.com/node/29445

 นางสาวธนิตา  จั่นทอง  ม.6/1  เลขที่  16 

http://www.thaigoodview.com/node/29456

ส่งใหม่แล้วคร้าอาจารย์

น.ส. รังสินี  มานพ  ม.6/1  เลขที่ 17

 

http://www.thaigoodview.com/node/29314

 

นางสาว   สุภาวดี  มาศวิวัฒน์ ม.6/1 เลขที่ 18

 

ส่งใหม่ค่ะ แก้ไช่อและอ้างอิง

ลืมบอกชื่อ มยุรินทร์ วรัทยา ม.6/1 [36][เด๋วหาว่าไม่บอก - -*]

V

V

V

เพิ่งแก้ไขคะ

แล้วเพิ่งได้จ่ายค่าเน็ต

ขออภัยที่ล่าช้า

http://www.thaigoodview.com/node/29594

มาส่งอีกครั้ง..อีกครั้ง..และอีกครั้งงงง

 

O[]O//ส่งแล้วน๊ๅจ๊ๅ

รูปภาพของ sila15039

สวัสดีครับคุณครูวัชรีที่เคารพ งานผมส่งไปเรียบร้อยแล้วนะ เมื่อวันที่ 3 ส.ค 52 ที่ผ่านมา ไม่รู้ว่าจาได้รึเปล่า อ่ะครับ แต่ไม่เห็นครูตรวจเลย แงแง T_T" ผมก็เลยหาข้อมูลอันใหม่รอเลยเผื่ออันเก่าไม่ได้ ครับ

นายวุ้ดดี้ 6/1 NO.15 15039 Sealed (มั่วอยู่หลายรอบเหมือนกัน)

ส่งอีกรอบค่ะ

ส่งนานแล้ว อาจารย์ยังไม่ตรวจสักที

http://www.thaigoodview.com/node/29314

 

นางสาว  สุภาวดี  มาศวิวัฒน์ ม.6/1 เลขที่ 18

หลายรอบและ

 

http://www.thaigoodview.com/node/31712

 

นายธนพัฒน์   พัฒนาอุตสาหกิจ

ชั้นม.6/1  เลขที่19

ส่งใหม่  เหนื่อยจังฮู้

http://www.thaigoodview.com/node/31710

นายธนิต    ขันช่าง  ชั้นม.6/1  เลขที่9*

ส่งใหม่ เพราะอันเก่าเปิดไม่ได้

http://www.thaigoodview.com/node/31708

นายธนิต  ขันช่าง ชั้นม.6/1 เลขที่9

ส่งเป็นสื่อช่ายไหมครับ

 

http://www.thaigoodview.com/node/31707

 

นายธนพัฒน์   พัฒนาอุตสาหกิจ ชั้นม.6/1 เลขที่ 19

รูปภาพของ sila15039

เอะ ยังไง  อันนี้เหมือนจาส่งผิดมั้งเนี้ยSealed

http://www.thaigoodview.com/node/31705

 

นายวุฒิไกร  ธรรมมา ชั้น ม.6/1 เลขที่ 15

รูปภาพของ sila15039

สวัสดีครับคุณแม่ แก้ไขใหม่ไว้รอ... เผื่ออันเก่าไม่ผ่าน 

นายวุฒิไกร   ธรรมมา ชั้นม.6/1 เลขที่ 15

http://www.thaigoodview.com/node/31703

55+ ส่งงานแล้วววนะคร้าบ ตะเอง

อย่าลืมตรวจให้ด้วย

ละค้ราบบบEmbarassed

 

 http://www.thaigoodview.com/node/30903

เเก้พึ่งเสร็จ

นางสาวศิริพร   บุญทะวงค์  เลขที่ 5 ม.6/1

http://www.thaigoodview.com/node/31347

น.ส.นัตยา มณีกัญญ์ ม.6/1 เลขที่ 8

http://www.thaigoodview.com/node/30406

น.ส. ณัฐณี จันทร์พรหมมา ม.6/1 เลขที่ 38

ในที่สุดก็ทำได้

http://www.thaigoodview.com/node/29428

รุ่งธิวา เลขกลาง ม.6/1 เลขที่ 3

นายอนุรักษ์   สมบัติ ม.6/1 เลขที่ 24

http://www.thaigoodview.com/node/31370

 

ส่งงานแล้วครับ

แม่! แนนมาส่งแล้วนะ

 นางสาวกมลชนก คงธนกุลโรจน์ ม.6/1 เลขที่ 7

 แต่ไม่รู้ถูกป่าวอ่ะคร่ะ

v v

v v

v v

v v

 

http://www.thaigoodview.com/node/31356

สวัสดีคร๊าบ..อาจารย์ ส่งงานแล้วครับ นาย ปืยทัศน์ ตั้งชูทรัพย์ ม. 6/1 เลขที่ 31 http://www.thaigoodview.com/node/31348

ส่งงานแล้วนะค่ะ

 

น.ส.นัตยา  มณีกัญญ์ ม.6/1 เลขที่ 8

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 366 คน กำลังออนไลน์