• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:599daec8f6d377b1504e2584362c14d8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #0033cc\">หินตะกอน (</span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #0033cc\">Sedimentary Rocks)</span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><br />\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">เมื่อตะกอนของเศษหิน ซากพืช ซากสัตว์ทับถมกันเป็นชั้นๆ ตามธรรมชาติเป็นระยะเวลาอันยาวนาน และเมื่อมีวัตถุประสานหรือสารเชื่อมก็จะจับตัวกันเป็นก้อนแข็งกลายเป็นหินที่เรียกว่า หินตะกอน หรือ หินชั้น</span><br />\n<span lang=\"TH\">ลักษณะเด่นของหินตะกอนหรือหินชั้น คือ จะมีชั้นหินปรากฏให้เห็นอย่างเด่นชัด ชั้นหินดังกล่าวนี้จะมีความหนา ตั้งแต่ </span>2-<st1:metricconverter ProductID=\"3 เซนติเมตร\" w:st=\"on\">3 <span lang=\"TH\">เซนติเมตร</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> ไปจนถึงหลายเมตร นอกจากนี้ในเนื้อหินอาจปรากฏซากพืชและสัตว์ดึกดำบรรพ์อยู่</span><br />\n<span lang=\"TH\">หินตะกอนเกิดจากการผุพังของหินชนิดใดก็ได้ที่ผิวโลก แล้วถูกแรงน้ำ แรงลมพัดพาทับถมอัดตัวกันหรือตกตะกอน เช่น ทราย เศษหิน ดิน โคลน รวมทั้ง ซากพืชซากสัตว์ โดยมีวัตถุประสานให้ติดกัน หรือ</span><br />\n<span lang=\"TH\">สิ่งต่างๆที่แขวนลอยในน้ำจะเกิดการตกตะกอนในธรรมชาติ กระบวนการที่สำคัญในการเกิดหินตะกอนคือ การกัดร่อน การผุพัง การพัดพา การสะสมตัวหรือการตกตะกอน และการแข็งตัวกลายเป็นหิน กล่าวคือหลังจากที่หินถูกกัดกร่อนผุพังกลายเป็นตะกอน ต่อมาตะกอนเหล่านั้นถูกน้ำ ลม ธารน้ำแข็ง และแรงโน้มถ่วงของโลก พัดพาไปตามความลาดชันของพื้นที่จากภูเขาลงสู่ที่ราบตามแม่น้ำ ลำคลอง ทะเล และมหาสมุทร เป็นต้น จนกระทั่งการพัดพาสิ้นสุดลงเนื่องจากความเร็วหรือพลังงานในการพัดพาลดลง ทำให้ตะกอนเหล่านั้นตกสะสมตัวตามสภาพแวดล้อมของบริเวณนั้น ต่อมาเมื่อระยะเวลานาน ตะกอนที่ทับถมกันมีความหนามากขึ้น น้ำหนักของตะกอนที่ทับถมกันทำให้ตะกอนอัดตัวกันแน่นมากขึ้นและสารที่แทรกอยู่ระหว่างรูพรุนของเม็ดตะกอนจะช่วยเชื่อมตะกอนให้ยึดติดกัน จนในที่สุดตะกอนที่ทับถมกันจึงแข็งตัวกลายเป็นหิน</span><br />\n<span lang=\"TH\">เมื่อหินชนิดต่างๆ บนผิวโลกผุพังแล้วถูกแรงน้ำและแรงลมพาไป จะเกิดการทับ ถมของตะกอน โดยมีซิลิกา เหล็กออกไซด์ และแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นวัตถุประสานต่างๆ ให้เกิดเป็นหินตะกอน เมื่อใช้ความแตกต่างของตะกอนเป็นเกณฑ์ จะสามารถจำแนกชนิดของหินได้ดังนี้</span></span></span><span style=\"color: #0033cc\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n', created = 1716055144, expire = 1716141544, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:599daec8f6d377b1504e2584362c14d8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โลก ดาราศาสตร์ และ อวกาศ

รูปภาพของ plubplung

หินตะกอน (Sedimentary Rocks)
เมื่อตะกอนของเศษหิน ซากพืช ซากสัตว์ทับถมกันเป็นชั้นๆ ตามธรรมชาติเป็นระยะเวลาอันยาวนาน และเมื่อมีวัตถุประสานหรือสารเชื่อมก็จะจับตัวกันเป็นก้อนแข็งกลายเป็นหินที่เรียกว่า หินตะกอน หรือ หินชั้น
ลักษณะเด่นของหินตะกอนหรือหินชั้น คือ จะมีชั้นหินปรากฏให้เห็นอย่างเด่นชัด ชั้นหินดังกล่าวนี้จะมีความหนา ตั้งแต่ 2-3 เซนติเมตร ไปจนถึงหลายเมตร นอกจากนี้ในเนื้อหินอาจปรากฏซากพืชและสัตว์ดึกดำบรรพ์อยู่
หินตะกอนเกิดจากการผุพังของหินชนิดใดก็ได้ที่ผิวโลก แล้วถูกแรงน้ำ แรงลมพัดพาทับถมอัดตัวกันหรือตกตะกอน เช่น ทราย เศษหิน ดิน โคลน รวมทั้ง ซากพืชซากสัตว์ โดยมีวัตถุประสานให้ติดกัน หรือ
สิ่งต่างๆที่แขวนลอยในน้ำจะเกิดการตกตะกอนในธรรมชาติ กระบวนการที่สำคัญในการเกิดหินตะกอนคือ การกัดร่อน การผุพัง การพัดพา การสะสมตัวหรือการตกตะกอน และการแข็งตัวกลายเป็นหิน กล่าวคือหลังจากที่หินถูกกัดกร่อนผุพังกลายเป็นตะกอน ต่อมาตะกอนเหล่านั้นถูกน้ำ ลม ธารน้ำแข็ง และแรงโน้มถ่วงของโลก พัดพาไปตามความลาดชันของพื้นที่จากภูเขาลงสู่ที่ราบตามแม่น้ำ ลำคลอง ทะเล และมหาสมุทร เป็นต้น จนกระทั่งการพัดพาสิ้นสุดลงเนื่องจากความเร็วหรือพลังงานในการพัดพาลดลง ทำให้ตะกอนเหล่านั้นตกสะสมตัวตามสภาพแวดล้อมของบริเวณนั้น ต่อมาเมื่อระยะเวลานาน ตะกอนที่ทับถมกันมีความหนามากขึ้น น้ำหนักของตะกอนที่ทับถมกันทำให้ตะกอนอัดตัวกันแน่นมากขึ้นและสารที่แทรกอยู่ระหว่างรูพรุนของเม็ดตะกอนจะช่วยเชื่อมตะกอนให้ยึดติดกัน จนในที่สุดตะกอนที่ทับถมกันจึงแข็งตัวกลายเป็นหิน
เมื่อหินชนิดต่างๆ บนผิวโลกผุพังแล้วถูกแรงน้ำและแรงลมพาไป จะเกิดการทับ ถมของตะกอน โดยมีซิลิกา เหล็กออกไซด์ และแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นวัตถุประสานต่างๆ ให้เกิดเป็นหินตะกอน เมื่อใช้ความแตกต่างของตะกอนเป็นเกณฑ์ จะสามารถจำแนกชนิดของหินได้ดังนี้

สร้างโดย: 
พลึบพลึง
รูปภาพของ ahc8835

สวดยอดดดดดดดดดค่ะ55555555

อยากเก่งวิทยาศาสตร์จังCoolSmile

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 259 คน กำลังออนไลน์